SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
คาสั่งพื้นฐานภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
1. ส่วนหัวของโปรแกรม
ส่วนหัวของโปรแกรมนี้เรียกว่า Preprocessing Directive ใช้ระบุเพื่อบอกให้คอมไพเลอร์กระทาการ
ใด ๆ ก่อนการแปลผลโปรแกรม ในที่นี่คาสั่ง #include <stdio.h> ใช้บอกกับคอมไพเลอร์ให้นาเฮดเดอร์ไฟล์
ที่ระบุ คือ stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย โดยการกาหนด preprocessing directives นี้จะต้อง
ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอคาสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นาเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม
สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ
- #include <ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> คอมไพเลอร์จะทาการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจากไดเรกทอรีที่ใช้
สาหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ (ปกติคือไดเรกทอรีชื่อ include)
- #include “ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์” คอมไพเลอร์จะทาการค้นหาเฮดเดอร์ไฟที่ระบุ จากไดเร็คทอรี
เดียวกันกับไฟล์ source code นั้น แต้ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ
2. ส่วนของฟังก์ชั่นหลัก
ฟังก์ชั่นหลักของภาษาซี คือ ฟังก์ชั่น main() ซึ่งโปรแกรมภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่นนี้อยู่
ในโปรแกรมเสมอ จะเห็นได้จากชื่อฟังก์ชั่นคือ main แปลว่า “หลัก” ดังนั้น การเขียนโปรแกรมภาษาซีจึง
ขาดฟังก์ชั่นนี้ไปไม่ได้ โดยขอบเขตของฟังก์ชั่นจะถูกกาหนดด้วยเครื่องหมาย { และ } กล่าวคือ การทางาน
ของฟังก์ชั่นจะเริ่มต้นที่เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย }
3. ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม
เป็นส่วนของการเขียนคาสั่ง เพื่อให้โปรแกรมทางานตามที่ได้ออกแบบไว้
สรุป
• source code ของโปรแกรมมีนามสกุลเป็น .CPP
• โปรแกรมจะต้องมี main()ฟังก์ชันเสมอ
• หากมีคาสั่ง คาสั่งต่างๆจะต้องอยู่ในขอบเขต { } ของ main()เท่านั้น
• หากมีคาสั่ง คาสั่งทุกคาสั่งจะต้องจบด้วยเครื่องหมาย ; (semicolon) เสมอ
• ในแต่ละบรรทัด ข้อความที่ตามหลัง // ถือว่าเป็น comment
• หากมีการเรียกใช้คาสั่งหรือฟังก์ชันใน library จะต้องมีการ include ไฟล์ header (นามสกุล .h)
ที่ถูกต้องด้วย
• โปรแกรมจะคืนค่าให้แก่OS เมื่อจบการทางานหรือไม่คืนก็ได้เช่น
ในตัวอย่างโปรแกรมที่สั้นสุด เมื่อจบการทางานจะไม่มีการคืนค่า
หากโปรแกรมมีการคืนค่าเมื่อจบการทางาน ค่าที่คืนจะต้องเป็นจานวนเต็มเท่านั้น โดยจะต้อง
 ระบุข้างหน้า main() ด้วย int
 บรรทัดสุดท้ายของ main() ด้วยคาสั่ง return ตามด้วยค่าจานวนเต็มที่ต้องการ
ส่ง
• ภาษา C++ มีลักษณะเป็น case sensitive ดังนั้น main กับ Main จะถือว่าเป็นคนละตัวกัน
คาสั่งการนาเข้า และ แสดงผล
The Output Operator: <<
• มักใช้ร่วมกับ cout ซึ่งเป็น output stream
• คาสั่ง cout เป็นคาสั่งในการแสดงค่าออกทางจอภาพ
• รูปแบบ (syntax)
cout << exp << exp << … << exp;
• จะทาการส่งค่าของนิพจน์ทางขวาไปยัง output stream เรียงไปเรื่อยๆ
• ตัวอย่างข้างล่างจะได้ผลลัพธ์เหมือนกัน
cout << “Hello, world.n”;
cout << “Hello, “ << “wor” + “ld.n”;
The Input Operator: >>
>> เรียกว่าเป็น operator ใช้ร่วมกับ cin เพื่อรับข้อมูล
ตัวอย่างเช่น
cin >> age >> cost;
cin >> age;
cin >> cost;
คอมเมนต์ในภาษาซี
คอมเมนต์(comment) คือส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มีไว้เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมใส่
ข้อความอธิบายกากับลงไปใน source code ซึ่งคอมไพเลอร์จะข้ามาการแปลผลในส่วนที่เป็นคอมเมนต์นี้
คอมเมนต์ในภาษาซี มี2 แบบคือ
¨ คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย //
¨ คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด เริ่มต้นที่เครื่องหมาย /* และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย */
การจัดการบรรทัด
เนื่องจากเมื่อเราใช้คาสั่ง cout ในการแสดงผลออกทางหน้าจอแล้วนั้น ข้อมูลที่แสดงออกไปจะเรียง
กันเป็นแถวเดียวทาให้ดูไม่สวยงาม เราสามารถขึ้นบรรทัดใหม่ได้ด้วยคาสั่ง “n” หรือ endl เช่น
cout << “HellonWorld.”;
cout << “Hello”<< endl <<”World.”;
จะได้ผลลัพธ์เหมือนกัน
ใบงานที่ 2
เรื่อง คาสั่งพื้นฐานภาษาซี
คาสั่ง ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมตามคาสั่งต่อไปนี้ และใส่คอมเมนต์ชื่อของนักเรียนไว้ในทุกโปรแกรมด้วย
1. ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมแสดงผลข้อมูลส่วนตัวของนักเรียน โดยให้แสดงผลดังรูป
2. ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมเพื่อแสดงผลข้อความ ดังรูปภาพต่อไปนี้
3. ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมเพื่อรับค่าและแสดงผลข้อความ ดังรูปภาพต่อไปนี้
รับค่า
แสดงผล

More Related Content

Viewers also liked

การใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IOการใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IOKnow Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/7Know Mastikate
 
Cpwk14 screen and sound
Cpwk14 screen and soundCpwk14 screen and sound
Cpwk14 screen and soundKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 6 condition
การใช้ Turbo C ชุดที่ 6 conditionการใช้ Turbo C ชุดที่ 6 condition
การใช้ Turbo C ชุดที่ 6 conditionKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variable
การใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variableการใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variable
การใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variableKnow Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/7Know Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loop
การใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loopการใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loop
การใช้ Turbo C ชุดที่ 7 LoopKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structure
การใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structureการใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structure
การใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structureKnow Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7Know Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7Know Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo C
การใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo Cการใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo C
การใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo CKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Array
การใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Arrayการใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Array
การใช้ Turbo C ชุดที่ 8 ArrayKnow Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/7Know Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IOการใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IOKnow Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/7Know Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 11 function
การใช้ Turbo C ชุดที่ 11 functionการใช้ Turbo C ชุดที่ 11 function
การใช้ Turbo C ชุดที่ 11 functionKnow Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/7Know Mastikate
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C ProgrammingWarawut
 

Viewers also liked (20)

การใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IOการใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IO
 
Plan3
Plan3Plan3
Plan3
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/7
 
Cpwk14 screen and sound
Cpwk14 screen and soundCpwk14 screen and sound
Cpwk14 screen and sound
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 6 condition
การใช้ Turbo C ชุดที่ 6 conditionการใช้ Turbo C ชุดที่ 6 condition
การใช้ Turbo C ชุดที่ 6 condition
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variable
การใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variableการใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variable
การใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variable
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/7
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loop
การใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loopการใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loop
การใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loop
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structure
การใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structureการใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structure
การใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structure
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo C
การใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo Cการใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo C
การใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo C
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Array
การใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Arrayการใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Array
การใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Array
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/7
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IOการใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IO
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/7
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 11 function
การใช้ Turbo C ชุดที่ 11 functionการใช้ Turbo C ชุดที่ 11 function
การใช้ Turbo C ชุดที่ 11 function
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/7
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C Programming
 

Similar to Introduction of C++

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2SubLt Masu
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 

Similar to Introduction of C++ (20)

Introduction Of C
Introduction Of CIntroduction Of C
Introduction Of C
 
Learn 2
Learn 2Learn 2
Learn 2
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 

Introduction of C++

  • 1. คาสั่งพื้นฐานภาษาซี โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 3 ส่วน 1. ส่วนหัวของโปรแกรม ส่วนหัวของโปรแกรมนี้เรียกว่า Preprocessing Directive ใช้ระบุเพื่อบอกให้คอมไพเลอร์กระทาการ ใด ๆ ก่อนการแปลผลโปรแกรม ในที่นี่คาสั่ง #include <stdio.h> ใช้บอกกับคอมไพเลอร์ให้นาเฮดเดอร์ไฟล์ ที่ระบุ คือ stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย โดยการกาหนด preprocessing directives นี้จะต้อง ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอคาสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นาเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ - #include <ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> คอมไพเลอร์จะทาการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจากไดเรกทอรีที่ใช้ สาหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ (ปกติคือไดเรกทอรีชื่อ include) - #include “ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์” คอมไพเลอร์จะทาการค้นหาเฮดเดอร์ไฟที่ระบุ จากไดเร็คทอรี เดียวกันกับไฟล์ source code นั้น แต้ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ 2. ส่วนของฟังก์ชั่นหลัก ฟังก์ชั่นหลักของภาษาซี คือ ฟังก์ชั่น main() ซึ่งโปรแกรมภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่นนี้อยู่ ในโปรแกรมเสมอ จะเห็นได้จากชื่อฟังก์ชั่นคือ main แปลว่า “หลัก” ดังนั้น การเขียนโปรแกรมภาษาซีจึง ขาดฟังก์ชั่นนี้ไปไม่ได้ โดยขอบเขตของฟังก์ชั่นจะถูกกาหนดด้วยเครื่องหมาย { และ } กล่าวคือ การทางาน ของฟังก์ชั่นจะเริ่มต้นที่เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย }
  • 2. 3. ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม เป็นส่วนของการเขียนคาสั่ง เพื่อให้โปรแกรมทางานตามที่ได้ออกแบบไว้ สรุป • source code ของโปรแกรมมีนามสกุลเป็น .CPP • โปรแกรมจะต้องมี main()ฟังก์ชันเสมอ • หากมีคาสั่ง คาสั่งต่างๆจะต้องอยู่ในขอบเขต { } ของ main()เท่านั้น • หากมีคาสั่ง คาสั่งทุกคาสั่งจะต้องจบด้วยเครื่องหมาย ; (semicolon) เสมอ • ในแต่ละบรรทัด ข้อความที่ตามหลัง // ถือว่าเป็น comment • หากมีการเรียกใช้คาสั่งหรือฟังก์ชันใน library จะต้องมีการ include ไฟล์ header (นามสกุล .h) ที่ถูกต้องด้วย • โปรแกรมจะคืนค่าให้แก่OS เมื่อจบการทางานหรือไม่คืนก็ได้เช่น ในตัวอย่างโปรแกรมที่สั้นสุด เมื่อจบการทางานจะไม่มีการคืนค่า หากโปรแกรมมีการคืนค่าเมื่อจบการทางาน ค่าที่คืนจะต้องเป็นจานวนเต็มเท่านั้น โดยจะต้อง  ระบุข้างหน้า main() ด้วย int  บรรทัดสุดท้ายของ main() ด้วยคาสั่ง return ตามด้วยค่าจานวนเต็มที่ต้องการ ส่ง • ภาษา C++ มีลักษณะเป็น case sensitive ดังนั้น main กับ Main จะถือว่าเป็นคนละตัวกัน คาสั่งการนาเข้า และ แสดงผล The Output Operator: << • มักใช้ร่วมกับ cout ซึ่งเป็น output stream • คาสั่ง cout เป็นคาสั่งในการแสดงค่าออกทางจอภาพ • รูปแบบ (syntax) cout << exp << exp << … << exp; • จะทาการส่งค่าของนิพจน์ทางขวาไปยัง output stream เรียงไปเรื่อยๆ • ตัวอย่างข้างล่างจะได้ผลลัพธ์เหมือนกัน cout << “Hello, world.n”; cout << “Hello, “ << “wor” + “ld.n”;
  • 3. The Input Operator: >> >> เรียกว่าเป็น operator ใช้ร่วมกับ cin เพื่อรับข้อมูล ตัวอย่างเช่น cin >> age >> cost; cin >> age; cin >> cost; คอมเมนต์ในภาษาซี คอมเมนต์(comment) คือส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มีไว้เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมใส่ ข้อความอธิบายกากับลงไปใน source code ซึ่งคอมไพเลอร์จะข้ามาการแปลผลในส่วนที่เป็นคอมเมนต์นี้ คอมเมนต์ในภาษาซี มี2 แบบคือ ¨ คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย // ¨ คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด เริ่มต้นที่เครื่องหมาย /* และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย */ การจัดการบรรทัด เนื่องจากเมื่อเราใช้คาสั่ง cout ในการแสดงผลออกทางหน้าจอแล้วนั้น ข้อมูลที่แสดงออกไปจะเรียง กันเป็นแถวเดียวทาให้ดูไม่สวยงาม เราสามารถขึ้นบรรทัดใหม่ได้ด้วยคาสั่ง “n” หรือ endl เช่น cout << “HellonWorld.”; cout << “Hello”<< endl <<”World.”; จะได้ผลลัพธ์เหมือนกัน
  • 4. ใบงานที่ 2 เรื่อง คาสั่งพื้นฐานภาษาซี คาสั่ง ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมตามคาสั่งต่อไปนี้ และใส่คอมเมนต์ชื่อของนักเรียนไว้ในทุกโปรแกรมด้วย 1. ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมแสดงผลข้อมูลส่วนตัวของนักเรียน โดยให้แสดงผลดังรูป 2. ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมเพื่อแสดงผลข้อความ ดังรูปภาพต่อไปนี้ 3. ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมเพื่อรับค่าและแสดงผลข้อความ ดังรูปภาพต่อไปนี้ รับค่า แสดงผล