SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
โครงสร้าง
โปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
ส่วนหัวของโปรแกรม
ส่วนหัวของโปรแกรมนี้เรียกว่า Preprocessing Directive ใช้ระบุเพื่อบอกให้
คอมไพเลอร์กระทาการ ใด ๆ ก่อนการแปลผลโปรแกรม ในที่นี่
คาสั่ง #include <stdio.h> ใช้บอกกับคอมไพเลอร์ให้นาเฮดเดอร์ไฟล์ที่
ระบุ คือ stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย
โดยการกาหนด preprocessing directives นี้จะต้องขึ้นต้นด้วย
เครื่องหมาย # เสมอ คาสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นาเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม สามารถ
เขียนได้ 2 รูปแบบ คือ
- #include <ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> คอมไพเลอร์จะทาการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจาก
ไดเรกทอรีที่ใช้สาหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ (ปกติคือไดเรกทอรีชื่อ include)
- #include “ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์” คอมไพเลอร์จะทาการค้นหาเฮดเดอร์ไฟที่ระบุ จาก
ไดเร็คทอรีเดียวกันกับไฟล์ source code นั้น แต้ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บเฮด
เดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ
ส่วนของฟังก์ชั่นหลัก
ฟังก์ชั่นหลักของภาษาซี คือ ฟังก์ชั่น main() ซึ่งโปรแกรมภาษาซีทุก
โปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่นนี้อยู่ในโปรแกรมเสมอ จะเห็นได้จากชื่อฟังก์ชั่น
คือ main แปลว่า “หลัก” ดังนั้น การเขียนโปรแกรมภาษซีจึงขาดฟังก์ชั่นนี้ไป
ไม่ได้ โดยขอบเขตของฟังก์ชั่นจะถูกกาหนดด้วยเครื่องหมาย { และ } กล่าวคือ การ
ทางานของฟังก์ชั่นจะเริ่มต้นที่เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย }
ฟังก์ชั่น main() สามารถเขียนในรูปแบบของ void main(void) ก็ได้ มี
ความหมายเหมือนกัน คือ หมายความว่า ฟังก์ชั่น main() จะไม่มี
อาร์กิวเมนต์ (argument) คือไม่มีการรับค่าใด ๆ เข้ามาประมวลผลภายใน
ฟังก์ชั่น และจะไม่มีการคืนค่าใด ๆ กลับออกไปจากฟังก์ชั่นด้วย
ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม
เป็นส่วนของการเขียนคาสั่ง เพื่อให้โปรแกรมทางานตามที่ได้ออกแบบไว้
คอมเมนต์ในภาษาซี
คอมเมนต์ (comment) คือส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มีไว้เพื่อให้
ผู้เขียนโปรแกรมใส่ข้อความอธิบายกากับลงไปใน source code ซึ่ง
คอมไพเลอร์จะข้ามาการแปลผลในส่วนที่เป็นคอมเมนต์นี้ คอมเมนต์ในภาษาซีมี 2 แบบ
คือ
¨ คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย //
¨ คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ */
ตัวอย่าง การคอมเมนต์ในภาษาซี
การใช้คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด
จะเห็นว่าในกรณีที่ต้องการใส่คอมเมนต์หลาย ๆ บรรทัดติดกันนั้น คอมเมนต์แบบหลายบรรทัดจะช่วย
ประหยัดเวลาในการใส่คอมเมนต์ได้มากกว่าการใช้คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว แต่ก็ควรระมัดระวังใน
การใช้งานด้วย
โปรแกรมภาษาซีอย่างง่าย
โปรแกรมในตัวอย่างที่ 1.1 เป็นโปรแกรมภาษาซีที่สั้นที่สุด ที่สามารถคอมไพล์ และรันได้
โดยคอมไพล์เลอร์ตามมาตรฐานของ ANSIC
ตัวอย่างที่ 1.1 โปรแกรมภาษาซีที่สั้นที่สุด
/* 1 */ // program : first.c
/* 2 */ // แสดงการใช้ฟังก์ชัน main () ในโปรแกรม
/* 3 */
ในตัวอย่างนี้จะเห็นได้ว่า โปรแกรมภาษาซีมีชื่อว่า first และมีส่วนขยาย
เป็น .c นอกจากนี้ภายในฟังก์ชัน main () ได้ละทั้งส่วนการประกาศตัวแปรและ
ส่วนคาสั่ง หรือกล่าวได้ว่าฟังก์ชัน main () ของโปรแกรม first.c เป็น
ฟังก์ชันว่างเมื่อรันโปรแกรมจึงไม่ปรากฏผลใดๆ
อย่างไรก็ตามแม้ว่าภายในฟังก์ชันได้ละทั้งส่วนการประกาศตัวแปร และส่วน
คาสั่ง แต่ยังต้องมีเครื่องหมาย {และ} เพื่อบอกขอบเขตของฟังก์ชัน main ()
การแสดงผลลัพธ์เบื้องต้น
ถึงแม้ว่าโปรแกรมในตัวอย่าง 1.1 จะสามารถคอมไพล์และรันได้โดยไม่มี
ข้อผิดพลาด แต่ไม่ได้ดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง เนื่องจากโปรแกรมที่ไม่มีคาสั่งใด
เลย ตัวอย่างต่อไปนี้ จะกล่าวถึงคาสั่งที่ใช้สาหรับแสดงผล นั้นคือ คาสั่ง
printf ()
ตัวอย่างที่ 1.2 โปรแกรมพิมพ์ข้อความออกทางจอภาพ
/* 1 */ // program : Output1.c
/* 2 */ // พิมพ์ข้อความออกทางจอภาพ
/* 3 */
/* 4 */ #include <stdio.h>
/* 5 */
/* 6 */ void main () {
/* 7 */ printf(“The first output from C.n”);
/* 8 */ }
ผลลัพธ์คือ
The first output from C.
อธิบายโปรแกรม
#include<stdio.h> —> เป็นการเรียกใช้ส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ เกี่ยวกับการจัดการ
อินพุตและเอาต์พุต
#include<conio.h> —> เป็นการเรียกใช้ส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ เกี่ยวกับการจัดการ
เกี่ยวกับหน้าจอทั้งหมด
Void main(void) —> ส่วนของฟังก์ชัน main() โดยประกาศชนิดข้อมูลที่คืนค่า
กลับเป็น void และค่าที่รับเข้ามาในฟังก์ชันเป็น void หมายถึง ฟังก์ชันนี้จะไม่มีการคืนค่าใดๆ
กลับออกไป และไม่มีการรับค่าใด ๆ เข้ามาในฟังก์ชัน
{ —> ส่วนเริ่มต้นของฟังก์ชัน main()
printf(“Welcome to C Programming”); —> เป็นคาสั่งแสดงผลทาง
จอภาพ
getch(); —> เป็นคาสั่งรับอักขระจากแป้นพิมพ์ เพื่อกาหนดไม่ให้โปรแกรมปิดหน้าต่าง
ผลลัพธ์ เมื่อโปรแกรมจบการทางาน
} —> ส่วนสิ้นสุดของฟังก์ชัน main()
สวัสดีค่ะ

More Related Content

Similar to โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี

โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2SubLt Masu
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 

Similar to โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี (20)

Introduction Of C
Introduction Of CIntroduction Of C
Introduction Of C
 
Learn 2
Learn 2Learn 2
Learn 2
 
งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 

More from Bipor Srila

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Bipor Srila
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีBipor Srila
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1Bipor Srila
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Bipor Srila
 
การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานBipor Srila
 
การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานBipor Srila
 

More from Bipor Srila (6)

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงาน
 
การนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงานการนำเสนอผลงาน
การนำเสนอผลงาน
 

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี

  • 3. โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนหัวของโปรแกรม ส่วนหัวของโปรแกรมนี้เรียกว่า Preprocessing Directive ใช้ระบุเพื่อบอกให้ คอมไพเลอร์กระทาการ ใด ๆ ก่อนการแปลผลโปรแกรม ในที่นี่ คาสั่ง #include <stdio.h> ใช้บอกกับคอมไพเลอร์ให้นาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ ระบุ คือ stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย โดยการกาหนด preprocessing directives นี้จะต้องขึ้นต้นด้วย เครื่องหมาย # เสมอ คาสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นาเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม สามารถ เขียนได้ 2 รูปแบบ คือ - #include <ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> คอมไพเลอร์จะทาการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจาก ไดเรกทอรีที่ใช้สาหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ (ปกติคือไดเรกทอรีชื่อ include) - #include “ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์” คอมไพเลอร์จะทาการค้นหาเฮดเดอร์ไฟที่ระบุ จาก ไดเร็คทอรีเดียวกันกับไฟล์ source code นั้น แต้ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บเฮด เดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ
  • 4. ส่วนของฟังก์ชั่นหลัก ฟังก์ชั่นหลักของภาษาซี คือ ฟังก์ชั่น main() ซึ่งโปรแกรมภาษาซีทุก โปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่นนี้อยู่ในโปรแกรมเสมอ จะเห็นได้จากชื่อฟังก์ชั่น คือ main แปลว่า “หลัก” ดังนั้น การเขียนโปรแกรมภาษซีจึงขาดฟังก์ชั่นนี้ไป ไม่ได้ โดยขอบเขตของฟังก์ชั่นจะถูกกาหนดด้วยเครื่องหมาย { และ } กล่าวคือ การ ทางานของฟังก์ชั่นจะเริ่มต้นที่เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย } ฟังก์ชั่น main() สามารถเขียนในรูปแบบของ void main(void) ก็ได้ มี ความหมายเหมือนกัน คือ หมายความว่า ฟังก์ชั่น main() จะไม่มี อาร์กิวเมนต์ (argument) คือไม่มีการรับค่าใด ๆ เข้ามาประมวลผลภายใน ฟังก์ชั่น และจะไม่มีการคืนค่าใด ๆ กลับออกไปจากฟังก์ชั่นด้วย
  • 5.
  • 6. ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม เป็นส่วนของการเขียนคาสั่ง เพื่อให้โปรแกรมทางานตามที่ได้ออกแบบไว้ คอมเมนต์ในภาษาซี คอมเมนต์ (comment) คือส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มีไว้เพื่อให้ ผู้เขียนโปรแกรมใส่ข้อความอธิบายกากับลงไปใน source code ซึ่ง คอมไพเลอร์จะข้ามาการแปลผลในส่วนที่เป็นคอมเมนต์นี้ คอมเมนต์ในภาษาซีมี 2 แบบ คือ ¨ คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย // ¨ คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ */ ตัวอย่าง การคอมเมนต์ในภาษาซี
  • 7. การใช้คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด จะเห็นว่าในกรณีที่ต้องการใส่คอมเมนต์หลาย ๆ บรรทัดติดกันนั้น คอมเมนต์แบบหลายบรรทัดจะช่วย ประหยัดเวลาในการใส่คอมเมนต์ได้มากกว่าการใช้คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว แต่ก็ควรระมัดระวังใน การใช้งานด้วย
  • 8. โปรแกรมภาษาซีอย่างง่าย โปรแกรมในตัวอย่างที่ 1.1 เป็นโปรแกรมภาษาซีที่สั้นที่สุด ที่สามารถคอมไพล์ และรันได้ โดยคอมไพล์เลอร์ตามมาตรฐานของ ANSIC ตัวอย่างที่ 1.1 โปรแกรมภาษาซีที่สั้นที่สุด /* 1 */ // program : first.c /* 2 */ // แสดงการใช้ฟังก์ชัน main () ในโปรแกรม /* 3 */
  • 9. ในตัวอย่างนี้จะเห็นได้ว่า โปรแกรมภาษาซีมีชื่อว่า first และมีส่วนขยาย เป็น .c นอกจากนี้ภายในฟังก์ชัน main () ได้ละทั้งส่วนการประกาศตัวแปรและ ส่วนคาสั่ง หรือกล่าวได้ว่าฟังก์ชัน main () ของโปรแกรม first.c เป็น ฟังก์ชันว่างเมื่อรันโปรแกรมจึงไม่ปรากฏผลใดๆ อย่างไรก็ตามแม้ว่าภายในฟังก์ชันได้ละทั้งส่วนการประกาศตัวแปร และส่วน คาสั่ง แต่ยังต้องมีเครื่องหมาย {และ} เพื่อบอกขอบเขตของฟังก์ชัน main () การแสดงผลลัพธ์เบื้องต้น ถึงแม้ว่าโปรแกรมในตัวอย่าง 1.1 จะสามารถคอมไพล์และรันได้โดยไม่มี ข้อผิดพลาด แต่ไม่ได้ดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง เนื่องจากโปรแกรมที่ไม่มีคาสั่งใด เลย ตัวอย่างต่อไปนี้ จะกล่าวถึงคาสั่งที่ใช้สาหรับแสดงผล นั้นคือ คาสั่ง printf ()
  • 10. ตัวอย่างที่ 1.2 โปรแกรมพิมพ์ข้อความออกทางจอภาพ /* 1 */ // program : Output1.c /* 2 */ // พิมพ์ข้อความออกทางจอภาพ /* 3 */ /* 4 */ #include <stdio.h> /* 5 */ /* 6 */ void main () { /* 7 */ printf(“The first output from C.n”); /* 8 */ } ผลลัพธ์คือ The first output from C.
  • 11. อธิบายโปรแกรม #include<stdio.h> —> เป็นการเรียกใช้ส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ เกี่ยวกับการจัดการ อินพุตและเอาต์พุต #include<conio.h> —> เป็นการเรียกใช้ส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ เกี่ยวกับการจัดการ เกี่ยวกับหน้าจอทั้งหมด Void main(void) —> ส่วนของฟังก์ชัน main() โดยประกาศชนิดข้อมูลที่คืนค่า กลับเป็น void และค่าที่รับเข้ามาในฟังก์ชันเป็น void หมายถึง ฟังก์ชันนี้จะไม่มีการคืนค่าใดๆ กลับออกไป และไม่มีการรับค่าใด ๆ เข้ามาในฟังก์ชัน { —> ส่วนเริ่มต้นของฟังก์ชัน main() printf(“Welcome to C Programming”); —> เป็นคาสั่งแสดงผลทาง จอภาพ getch(); —> เป็นคาสั่งรับอักขระจากแป้นพิมพ์ เพื่อกาหนดไม่ให้โปรแกรมปิดหน้าต่าง ผลลัพธ์ เมื่อโปรแกรมจบการทางาน } —> ส่วนสิ้นสุดของฟังก์ชัน main()