SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
ใบความรู้ท ี่ 2
                 เรื่อ ง โครงสร้า งโปรแกรมภาษาซี

โ ค ร ง ส ร้ า ง โ ป ร แ ก ร ม ภ า ษ า ซี

#include <stdio.h>
#include <conio.h>                     1
                                       1
void main()
  {                                    2
                                       2
    ………..
   }
                                       3
                                       3

โครงสร้า งของโปรแกรมภาษาซีแ บ่ง
ออกเป็น 3 ส่ว น

1. ส่ว นหัว ของโปรแกรม
       ส่วนหัวของโปรแกรมนี้เรียกว่า Preprocessing Directive ใช้
ระบุ เ พื่ อ บอกให้ ค อมไพเลอร์ ก ระทำา การ ใด ๆ ก่ อ นการแปลผล
โปรแกรม ในที่นี่คำาสั่ง #include <stdio.h> ใช้บอกกับคอมไพเลอ
ร์ให้นำาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ คือ stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม
ด้วย โดยการกำาหนด preprocessing directives นี้จะต้องขึ้นต้น
ด้วยเครื่องหมาย # เสมอ
       คำาสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นำาเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปล
โปรแกรม สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ
       - #include <ชื่อ เ ฮ ด เ ด อ ร์ ไ ฟ ล์ > คอมไพเลอร์ จ ะทำา การค้ น
หาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจากไดเรกทอรีที่ใช้สำาหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดย
เฉพาะ (ปกติคือไดเรกทอรีชื่อ include)
       - #include “ชื่อ เ ฮ ด เ ด อ ร์ ไ ฟ ล์ ” คอมไพเลอร์จะทำาการค้นหา
เฮดเดอร์ไฟที่ระบุ จากไดเร็คทอรีเดียวกันกับไฟล์ source code นั้น
แต้ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ

2. ส่ว นของฟัง ก์ช ั่น หลัก
        ฟั ง ก์ ชั่ น หลั ก ของภาษาซี คื อ ฟั ง ก์ ชั่ น main() ซึ่ ง โปรแกรม
ภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่นนี้อยู่ในโปรแกรมเสมอ จะเห็นได้
จากชื่อฟังก์ชั่นคือ main แปลว่า “หลัก” ดังนั้น การเขียนโปรแกรม
ภาษซีจึงขาดฟังก์ชั่นนี้ไปไม่ได้ โดยขอบเขตของฟังก์ชั่นจะถูกกำาหนด
ด้วยเครื่องหมาย { และ } กล่าวคือ การทำางานของฟังก์ชั่นจะเริ่มต้น
ที่เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย }              ฟั ง ก์ ชั่ น main()
สามารถเขียนในรูปแบบของ void main(void) ก็ได้ มีความหมาย
เหมือนกัน คือ หมายความว่า ฟังก์ชั่น main() จะไม่มีอาร์กิวเมนต์
(argument) คือไม่มีการรับค่าใด ๆ เข้ามาประมวลผลภายในฟังก์ชั่น
และจะไม่มีการคืนค่าใด ๆ กลับออกไปจากฟังก์ชั่นด้วย
                             ไม่คืนค่าใด ๆ กลับออกไปจากฟังก์ชั่น

main() เ ที ย บ เ ท่ า void
main(void)

                               ไม่รับค่าใด ๆ เข้ามาในฟังก์ชั่น

argume คือ ตัวรับค่าเข้ามาในฟัง
nt             ก์ชั่น
paramet คือ ค่าที่ส่งไปยังฟังก์ชั่น
er
ค่าของ argument และ parameter ต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน
เช่น หากกำาหนดให้ argument เป็นข้อมูลชนิดตัวอักษรแล้วค่า
parameter ก็ส่งไปก็ต้องเป็นชนิดตัวอักษรด้วย
3. ส่ว นรายละเอีย ดของโปรแกรม
          เป็นส่วนของการเขียนคำาสั่ง เพื่อให้โปรแกรมทำางานตามที่
          ได้ออกแบบไว้
คอมเมนต์ใ นภาษาซี
       คอมเมนต์ (comment) คือส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มี
ไว้เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมใส่ข้อความอธิบายกำากับลงไปใน source
code ซึ่งคอมไพเลอร์จะข้ามาการแปลผลในส่วนที่
เป็นคอมเมนต์นี้ คอมเมนต์ในภาษาซีมี 2 แบบคือ
        คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย               //
        คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย                /*
         และ */
ตัว อย่า ง การคอมเมนต์ใ นภาษาซี
// Comment only one line
#include <stdio.h>
#include <conio.h>
main void()       ส่วนที่เป็นคอม
{
    clrscr();        เมนต์จะ
                     ไม่ได้รับการแปล
    /*comment
          many
              line*/
}
     ข้อควรระวังในการใช้คอมเมนต์ คือ ในกรณีที่ใช้คอมเมนต์แบบ
หลายบรรทัด จะไม่สามารถใช้คอมเมนต์ซ้อนคอมเมนต์ได้ ดังรูป มิ
ฉ ะ นั้ น จ ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ข้ อ ผิ ด พ ล า ด ใ น ก า ร ค อ ม ไ พ ล์


                 /
              *Commen
                                  /
                               *Commen
                                                   /
                                                *Commen
                                                              /
                 /                /                /          X
              *Commen          *Commen          *Commen
               การใช้ค อมเมนต์แ บบหลายบรรทัด

    จะเห็นว่าในกรณีที่ต้องการใส่คอมเมนต์หลาย ๆ บรรทัดติดกันนั้น
คอมเมนต์แบบหลายบรรทัดจะช่วยประหยัดเวลาในการใส่คอมเมนต์ได้
มากกว่าการใช้คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว แต่ก็ควรระมัดระวังในการ
ใ       ช้       ง         า       น       ด้      ว          ย
ตัว อย่า งที่ 1 โปรแกรมให้น ัก เรีย นศึก ษาโครงสร้า งของ
       โปรแกรมภาษาซี
1: #include <stdio.h>
2: void main()
3: {
4:      clrscr();
5:      printf("My name is
     Kwanjit");
6: }
ผลลัพ ธ์ข องโปรแกรม
My name is Kwanjit

อธิบ ายโปรแกรม
      บรรทัดที่ 1:     เป็นการบอกให้คอมไพเลอร์นำาเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อ
                 stdio.h เข้ามาร่วมในการแปลผลด้วย โดย stdio
                 ย่อมาจาก standard input/output และ .h คือ
                 นามสกุลของเฮดเดอร์ไฟล์ในภาษาซี (h ย่อมาจาก
                 header) ซึ่ง stdio.h คือ เฮดเดอร์ไฟล์ที่รวมเอาการ
                 ประกาศ (declaration) ของฟังก์ชั่นมาตรฐานของ
                 ภาษาซีที่เกี่ยวกับการจัดการด้านอินพุตและเอาต์พุต
                 เข้ามาไว้ด้วยกันโปรแกรมนี้มีการเรียกใช้งานฟังก์ชั่น
                 printf() เพื่อแสดงข้อมูลออกทางจอภาพ และ
                 เนื่องจากส่วนของการประกาศฟังก์ชั่น printf() ถูก
                 บรรจุอยู่ในเฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h ดังนั้นจึงจำาเป็น
                 ต้องนำาเฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h เข้าร่วมในการแปลผล
                 ด้วย
      บรรทัดที่ 2:     คือฟังก์ชั่น void main() ซึ่งเป็นฟังก์ชั่นหลัก
                 ของโปรแกรม การทำางานของโปรแกรมภาษาซีจะเริ่ม
                 ต้นที่ฟังก์ชั่นนี้
      บรรทัดที่ 3:     เครื่องหมาย { ระบุจุดเริ่มต้นของฟังก์ชั่น
                 main()
      บรรทัดที่ 4:     เป็นคำาสั่งให้เคลียร์หน้าจอเวลาแสดงผลลัพธ์
      บรรทัดที่ 5:     เป็นการเรียกใช้ฟังก์ชั่น printf() ซึ่งเป็นฟังก์ชั่
                 นมาตรฐานของภาษาซีทำาหน้าที่แสดงผลข้อมูลออก
                 ทางจอภาพ ในที่นี้จะแสดงข้อความ My name is
                 Kwanjit ออกทางจอภาพ
บรรทัดที่ 6:   เครื่องหมาย } ระบุจุดสิ้นสุดของฟังก์ชั่น
           main()

More Related Content

What's hot

บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีKomkai Pawuttanon
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++Ooy's Patchaya
 
59170249 ธิดารัตน์
59170249 ธิดารัตน์59170249 ธิดารัตน์
59170249 ธิดารัตน์Beam Suna
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 
59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณีBeam Suna
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
capture แต่ล่ะ week 59170060 group1
capture แต่ล่ะ week  59170060 group1capture แต่ล่ะ week  59170060 group1
capture แต่ล่ะ week 59170060 group1Thamon Monwan
 
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1Thamon Monwan
 
capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2Thamon Monwan
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีNattawut Kathaisong
 

What's hot (18)

บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
 
C lu
C luC lu
C lu
 
งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13
 
59170249 ธิดารัตน์
59170249 ธิดารัตน์59170249 ธิดารัตน์
59170249 ธิดารัตน์
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
capture แต่ล่ะ week 59170060 group1
capture แต่ล่ะ week  59170060 group1capture แต่ล่ะ week  59170060 group1
capture แต่ล่ะ week 59170060 group1
 
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
 
capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2
 
Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
 
12
1212
12
 

Similar to Learn 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2SubLt Masu
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมikanok
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีBipor Srila
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีBipor Srila
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีFair Kung Nattaput
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นDararat Worasut
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 

Similar to Learn 2 (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
Introduction of C++
Introduction of C++Introduction of C++
Introduction of C++
 
C chap2
C chap2C chap2
C chap2
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้น
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 

More from Sompon Ketsuwong (6)

Work2 1
Work2  1Work2  1
Work2 1
 
Work1 1
Work1  1Work1  1
Work1 1
 
Learn 4
Learn 4Learn 4
Learn 4
 
Learn 3
Learn 3Learn 3
Learn 3
 
Learn 1
Learn 1Learn 1
Learn 1
 
D6
D6D6
D6
 

Learn 2

  • 1. ใบความรู้ท ี่ 2 เรื่อ ง โครงสร้า งโปรแกรมภาษาซี โ ค ร ง ส ร้ า ง โ ป ร แ ก ร ม ภ า ษ า ซี #include <stdio.h> #include <conio.h> 1 1 void main() { 2 2 ……….. } 3 3 โครงสร้า งของโปรแกรมภาษาซีแ บ่ง ออกเป็น 3 ส่ว น 1. ส่ว นหัว ของโปรแกรม ส่วนหัวของโปรแกรมนี้เรียกว่า Preprocessing Directive ใช้ ระบุ เ พื่ อ บอกให้ ค อมไพเลอร์ ก ระทำา การ ใด ๆ ก่ อ นการแปลผล โปรแกรม ในที่นี่คำาสั่ง #include <stdio.h> ใช้บอกกับคอมไพเลอ ร์ให้นำาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ คือ stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม ด้วย โดยการกำาหนด preprocessing directives นี้จะต้องขึ้นต้น ด้วยเครื่องหมาย # เสมอ คำาสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นำาเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปล โปรแกรม สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ - #include <ชื่อ เ ฮ ด เ ด อ ร์ ไ ฟ ล์ > คอมไพเลอร์ จ ะทำา การค้ น หาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจากไดเรกทอรีที่ใช้สำาหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดย เฉพาะ (ปกติคือไดเรกทอรีชื่อ include) - #include “ชื่อ เ ฮ ด เ ด อ ร์ ไ ฟ ล์ ” คอมไพเลอร์จะทำาการค้นหา เฮดเดอร์ไฟที่ระบุ จากไดเร็คทอรีเดียวกันกับไฟล์ source code นั้น แต้ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ 2. ส่ว นของฟัง ก์ช ั่น หลัก ฟั ง ก์ ชั่ น หลั ก ของภาษาซี คื อ ฟั ง ก์ ชั่ น main() ซึ่ ง โปรแกรม ภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่นนี้อยู่ในโปรแกรมเสมอ จะเห็นได้ จากชื่อฟังก์ชั่นคือ main แปลว่า “หลัก” ดังนั้น การเขียนโปรแกรม ภาษซีจึงขาดฟังก์ชั่นนี้ไปไม่ได้ โดยขอบเขตของฟังก์ชั่นจะถูกกำาหนด ด้วยเครื่องหมาย { และ } กล่าวคือ การทำางานของฟังก์ชั่นจะเริ่มต้น ที่เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย } ฟั ง ก์ ชั่ น main() สามารถเขียนในรูปแบบของ void main(void) ก็ได้ มีความหมาย
  • 2. เหมือนกัน คือ หมายความว่า ฟังก์ชั่น main() จะไม่มีอาร์กิวเมนต์ (argument) คือไม่มีการรับค่าใด ๆ เข้ามาประมวลผลภายในฟังก์ชั่น และจะไม่มีการคืนค่าใด ๆ กลับออกไปจากฟังก์ชั่นด้วย ไม่คืนค่าใด ๆ กลับออกไปจากฟังก์ชั่น main() เ ที ย บ เ ท่ า void main(void) ไม่รับค่าใด ๆ เข้ามาในฟังก์ชั่น argume คือ ตัวรับค่าเข้ามาในฟัง nt ก์ชั่น paramet คือ ค่าที่ส่งไปยังฟังก์ชั่น er ค่าของ argument และ parameter ต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน เช่น หากกำาหนดให้ argument เป็นข้อมูลชนิดตัวอักษรแล้วค่า parameter ก็ส่งไปก็ต้องเป็นชนิดตัวอักษรด้วย 3. ส่ว นรายละเอีย ดของโปรแกรม เป็นส่วนของการเขียนคำาสั่ง เพื่อให้โปรแกรมทำางานตามที่ ได้ออกแบบไว้ คอมเมนต์ใ นภาษาซี คอมเมนต์ (comment) คือส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มี ไว้เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมใส่ข้อความอธิบายกำากับลงไปใน source code ซึ่งคอมไพเลอร์จะข้ามาการแปลผลในส่วนที่ เป็นคอมเมนต์นี้ คอมเมนต์ในภาษาซีมี 2 แบบคือ  คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย //  คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ */ ตัว อย่า ง การคอมเมนต์ใ นภาษาซี // Comment only one line #include <stdio.h> #include <conio.h> main void() ส่วนที่เป็นคอม { clrscr(); เมนต์จะ ไม่ได้รับการแปล /*comment many line*/
  • 3. } ข้อควรระวังในการใช้คอมเมนต์ คือ ในกรณีที่ใช้คอมเมนต์แบบ หลายบรรทัด จะไม่สามารถใช้คอมเมนต์ซ้อนคอมเมนต์ได้ ดังรูป มิ ฉ ะ นั้ น จ ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ข้ อ ผิ ด พ ล า ด ใ น ก า ร ค อ ม ไ พ ล์ / *Commen / *Commen / *Commen / / / / X *Commen *Commen *Commen การใช้ค อมเมนต์แ บบหลายบรรทัด จะเห็นว่าในกรณีที่ต้องการใส่คอมเมนต์หลาย ๆ บรรทัดติดกันนั้น คอมเมนต์แบบหลายบรรทัดจะช่วยประหยัดเวลาในการใส่คอมเมนต์ได้ มากกว่าการใช้คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว แต่ก็ควรระมัดระวังในการ ใ ช้ ง า น ด้ ว ย
  • 4. ตัว อย่า งที่ 1 โปรแกรมให้น ัก เรีย นศึก ษาโครงสร้า งของ โปรแกรมภาษาซี 1: #include <stdio.h> 2: void main() 3: { 4: clrscr(); 5: printf("My name is Kwanjit"); 6: } ผลลัพ ธ์ข องโปรแกรม My name is Kwanjit อธิบ ายโปรแกรม บรรทัดที่ 1: เป็นการบอกให้คอมไพเลอร์นำาเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อ stdio.h เข้ามาร่วมในการแปลผลด้วย โดย stdio ย่อมาจาก standard input/output และ .h คือ นามสกุลของเฮดเดอร์ไฟล์ในภาษาซี (h ย่อมาจาก header) ซึ่ง stdio.h คือ เฮดเดอร์ไฟล์ที่รวมเอาการ ประกาศ (declaration) ของฟังก์ชั่นมาตรฐานของ ภาษาซีที่เกี่ยวกับการจัดการด้านอินพุตและเอาต์พุต เข้ามาไว้ด้วยกันโปรแกรมนี้มีการเรียกใช้งานฟังก์ชั่น printf() เพื่อแสดงข้อมูลออกทางจอภาพ และ เนื่องจากส่วนของการประกาศฟังก์ชั่น printf() ถูก บรรจุอยู่ในเฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h ดังนั้นจึงจำาเป็น ต้องนำาเฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h เข้าร่วมในการแปลผล ด้วย บรรทัดที่ 2: คือฟังก์ชั่น void main() ซึ่งเป็นฟังก์ชั่นหลัก ของโปรแกรม การทำางานของโปรแกรมภาษาซีจะเริ่ม ต้นที่ฟังก์ชั่นนี้ บรรทัดที่ 3: เครื่องหมาย { ระบุจุดเริ่มต้นของฟังก์ชั่น main() บรรทัดที่ 4: เป็นคำาสั่งให้เคลียร์หน้าจอเวลาแสดงผลลัพธ์ บรรทัดที่ 5: เป็นการเรียกใช้ฟังก์ชั่น printf() ซึ่งเป็นฟังก์ชั่ นมาตรฐานของภาษาซีทำาหน้าที่แสดงผลข้อมูลออก ทางจอภาพ ในที่นี้จะแสดงข้อความ My name is Kwanjit ออกทางจอภาพ
  • 5. บรรทัดที่ 6: เครื่องหมาย } ระบุจุดสิ้นสุดของฟังก์ชั่น main()