SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
โครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202
ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน การศึกษาไทย 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวพิจิตรา สิทธิคา เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 10
นางสาวยุวพร จุ้ยพุทธา เลขที่ 32 ชั้น ม.6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวพิจิตรา สิทธิคา เลขที่ 24
2.นางสาวยุวพร จุ้ยพุทธา เลขที่ 32
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การศึกษาไทย 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Education 4.0
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิจิตรา สิทธิคา , นางสาวยุวพร จุ้ยพุทธา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
คนส่วนใหญ่ได้ยินคาว่า “ไทยแลนด์ 4.0” บ่อยมาก หลายคนก็ติดตามดูว่ามันคืออะไร และก็มีหลาย
หน่วยงานนาไปขยายความในองค์กรของตัวเองแล้วต่อด้วย 4.0 เช่น เกษตร 4.0 อุตสาหกรรมอาหาร 4.0 การ
ท่องเที่ยว 4.0 อื่นๆ อีกหลาย 4.0 ดูเหมือนว่าอะไรๆ ก็ 4.0 มันทันสมัยดี การศึกษาก็เช่นเดียวกัน ไม่น้อยหน้า
กว่าหน่วยงานอื่นๆ ก็ประกาศการศึกษา 4.0 หลายคนก็ให้ความเห็นไปต่างๆ นานาตามความรู้สึกของตนเอง
ก่อนที่จะพูดถึงการศึกษา 4.0 ต้องทาความเข้าใจก่อนว่าไทยแลนด์ 4.0 คืออะไร มีความเป็นมาอย่างไร ไทย
แลนด์ 4.0 เป็นโมเดลในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ที่มีมาไม่น้อยกว่า 50 ปี โดยในปี พ.ศ. 2504 เริ่มมี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรก ยุคนั้นน่าจะเป็นไทยแลนด์ 1.0 สังคมเกษตรกรรมที่เน้น
การเกษตรเป็นหลัก ซึ่งในสมัยนั้นจะมีเพลงลูกทุ่งที่สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตของชาวบ้านและการพัฒนาเศรษฐกิจ
ของประเทศ โดยให้ประชาชนรู้จักประกอบอาชีพด้านการเกษตร ดังเนื้อเพลง “พ.ศ. สองพันห้าร้อยสี่ ผู้ใหญ่ลีตี
กลองประชุม ชาวบ้านต่างมาชุมนุม มาประชุมที่บ้านผู้ใหญ่ลี ต่อไปนี้ผู้ใหญ่ลีจะขอกล่าวถึงเรื่องราวที่ได้ประชุม
มา ทางการเขาสั่งมาว่า ให้ชาวนาเลี้ยงเป็ด และสุกร” นับว่าเป็นความพยายามของรัฐบาลที่จะส่งเสริมให้
ประชาชนมีรายได้ยุคไทยแลนด์ 1.0 เป็นยุคที่ยาวนานพอสมควร ข้าพระเจ้าจึงสนใจที่จะศึกษาเพิ่มเติมในเรื่อง
การศึกษาไทย 4.0 เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้ผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
3
วัตถุประสงค์
1. ต้องกาหนดนโยบายหรือออกกฎกระทรวงนักเรียนต่อห้องต้องไม่เกิน 36 คน
2. การจัดความพร้อมของโรงเรียน หมายถึงโรงเรียนทั้งประเทศอย่างน้อยในทุกตาบล หรืออาเภอ หรือจังหวัด
3. หลักสูตรต้องมีการปรับปรุง อาจจะหลักสูตรรายวิชา มีการยกระดับวิชาคอมพิวเตอร์ วิชาเทคโนโลยี มาเป็น
วิชาหลัก
4. ต้องนาสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) และ Active Learning เข้ามาจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน
5. ต้องสร้างตัวชี้วัดระดับบุคคลในการประเมินผลการปฏิบัติงานของครู เพื่อจะทาให้ทราบจุดเด่นจุดด้อย ต้อง
พัฒนาครูเป็นรายบุคคล
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาค้นคว้าผลงานstemภายในยุค 4.0 ของโรงเรียนต่างๆ
หลักการและทฤษฎี
การศึกษา 4.0 จากปัญหาต่างๆ ของประเทศไทย เช่น เศรษฐกิจล้มเหลว การเมืองล้มแล้ว สังคม
ล้มเหลว หรือทุกๆ ปัญหาที่ล้มเหลวต่างก็โทษการศึกษาล้มเหลว ไทยแลนด์ 4.0 เป้าหมายต้องการให้ประเทศ
ไทยมีนวัตกรรมเป็นของตนเอง แต่หลักสูตรการศึกษาและการจัดการเรียนการสอนของครูตอบสนองเป้าหมาย
ของไทยแลนด์ 4.0 แล้วหรือยัง ทั้งๆ ที่มีการเปลี่ยนและปรับหลักสูตรมาตลอดกว่า 50 ปี ถึงเวลาแล้วที่จะต้อง
ปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการศึกษาของประเทศ เพื่อตอบสนองการสร้างนวัตกรรมของประเทศ โดยกระทรวง
ศึกษาต้องเป็นผู้นาที่ต้องเดินพร้อมไปกับโรงเรียนที่เป็นหน่วยปฏิบัติโดยตรง ดังนี้
1. ต้องกาหนดนโยบายหรือออกกฎกระทรวงนักเรียนต่อห้องต้องไม่เกิน 36 คน เพื่อให้เกิดประสิทธิการ
ในการสอนอย่างจริงจัง ครูสามารถดูแลนักเรียนในการจัดกิจกรรมการสอนได้อย่างทั่วถึง จะออกข้อสอบอัตนัย
ครูก็สามารถที่จะตรวจข้อสอบได้ในเวลาที่พอเหมาะ ไม่ใช่นักเรียนห้องละ 50 ครูดูแลไม่ทั่วถึง ใครไม่สนใจครู
จาเป็นต้องปล่อย ปัจจุบันอัตราการเกิดของประชากรน้อยมาก นักเรียนก็ลดลงทุกโรงเรียน ฉะนั้น โรงเรียน
สามารถรับนักเรียนได้อย่างเพียงพอ
2. การจัดความพร้อมของโรงเรียน หมายถึงโรงเรียนทั้งประเทศอย่างน้อยในทุกตาบล หรืออาเภอ หรือ
จังหวัด ต้องมีความพร้อมเท่าเทียมกัน ทั้งสื่อ อุปกรณ์ ครู อาคารสถานที่ ต้องมีความพร้อมเท่ากัน ไม่ให้เกิดการ
เปรียบเทียบถึงความแตกต่าง
3. หลักสูตรต้องมีการปรับปรุง อาจจะหลักสูตรรายวิชา มีการยกระดับวิชาคอมพิวเตอร์ วิชา
เทคโนโลยี มาเป็นวิชาหลัก ไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพ การเรียนเป็นรายวิชาจะมีข้อดี คือสามารถ
จะเปลี่ยนรายวิชาได้ทุกปี เป็นวิชาที่โรงเรียนสามารถจัดให้นักเรียนเรียนวิชาที่ทันยุคทันสมัยได้เลย ไม่กาหนด
ตายตัว
4. ต้องนาสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) และ Active Learning เข้ามาจัดการเรียนการสอนใน
โรงเรียน คาว่า “สะเต็ม” หรือ “STEM” เป็นคาย่อจากภาษาอังกฤษของศาสตร์ 4 สาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์
(Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics)
หมายถึงองค์ความรู้ วิชาการของศาสตร์ทั้งสี่ที่มีความเชื่อมโยงกันในโลกของความเป็นจริงที่ต้องอาศัยองค์ความรู้
ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันในการดาเนินชีวิตและการทางาน การจัดการเรียนการสอนของไทยเรา ครูผู้สอน
4
จะสอนแยกส่วน เช่น สอนเคมี ก็เคมีล้วนๆ ฟิสิกส์ ก็ฟิสิกส์ล้วนๆ หรือคณิตศาสตร์ก็คณิตศาสตร์ล้วนๆ ไม่เคย
นามาบูรณาการในชิ้นงาน หลักของวัตกรรมทั้งหมดเกิดจากการบูรณาการของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เป็น
ส่วนใหญ่ แล้วจึงเกิดนวัตกรรมจนกลายเป็นเทคโนโลยี ต่อมามีนาการนาเทคโนโลยีมาบูรณาการกับวิทยาศาสตร์
และคณิตศาสตร์ จึงเกิดนวัตกรรมใหม่ต่อยอดไปเรื่อยๆ ทั้งนี้ โดยใช้กระบวนการทางวิศวกรรมในการสร้าง
นวัตกรรม
การสอนให้นักเรียนสร้างนวัตกรรมนั้น ต้องสอนให้นักเรียนรู้แบบโครงงาน หรือการสร้างชิ้นงาน โดยใน
โครงงานหรือชิ้นงานนั้น นักเรียนต้องตอบได้ว่ามีคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง
อย่างไร ในอดีตการสร้างชิ้นงานของนักเรียน เราไม่เคยนาวิชา STEM เข้ามาบูรณาการ ตัวอย่างเช่น อดีตการหุง
ข้าวเป็นวิถีชีวิตประจาวัน แม่บอกให้กรอกข้าว 1 หรือ 2 กระป๋อง ใส่น้าให้สูงจากข้าวสาร 1 ข้อ หรือแล้วแต่บาง
คนให้ท่วมหลังมือ การหุงข้าวใช้ไม้ฟืนหรือถ่าน หุงข้าวสุกไม่ดิบสามารถรับประทานได้เสร็จก็จบ แต่เราไม่เคยนา
หลักคณิตศาสตร์เรื่องการตวง เรื่องปริมาตร หลักวิทยาศาสตร์ เรื่องความร้อน เข้ามาคิดในเรื่องการหุงข้าว ญี่ปุ่น
นาหลักของ STEM มาใช้ในการหุงข้าว โดยใช้หลักของคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เช่น เรื่องของปริมาตร การ
ตวง เรื่องของความร้อน เรื่องของเวลา จนสามารถสร้างหม้อหุงข้าวไฟฟ้าได้สาเร็จ และมีการพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ
เช่น กาหนดเวลาในการหุงข้าว การอุ่นข้าว การต้มข้าว ฯลฯ
หรือขอยกตัวอย่างในชีวิตจริง คนไทยมีการปรุงอาหารต่างๆ มากมาย เช่น แกงบ้าง ทาขนมบ้าง บ้าง
คนทาอร่อย บางคนไม่อร่อย ขึ้นอยู่กับฝีมือ การปรุงอาหาร หรือขนม ก็ใช้ความเคยชินในการปรุง เช่น การเหยาะ
น้าปลา ใส่น้าตาล ใส่เกลือ เป็นฝีมือเฉพาะคน แต่ถ้าเรานาหลัก STEM เข้ามาจับ ก็จะทาเกิดแฟรนไชส์
(Franchise) เป็นของตนเอง ฉะนั้นหลักสูตรต้องกาหนดให้นักเรียนต้องมีโครงงาน หรือชิ้นงานที่ตอบโจทย์
STEM ได้ ครูผู้สอนในกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการงานอาชีพ ต้องมีความรู้ในนา
STEM มาบูรณาการในโครงงาน หรือชิ้นงานของนักเรียนได้ ส่วน Active Learning เป็นการจัดการเรียนการ
สอนให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริง สร้างชิ้นงานเป็นของตนเองได้จริง โดยงานเดี่ยวหรืองานกลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับ
STEM ถ้าเป็นวิชาที่เป็นเนื้อหา นักเรียนสามารถที่จะสรุปนาเสนอผลงานของตนเองได้
5. ต้องสร้างตัวชี้วัดระดับบุคคลในการประเมินผลการปฏิบัติงานของครู เพื่อจะทาให้ทราบจุดเด่นจุด
ด้อย ต้องพัฒนาครูเป็นรายบุคคล กระทรวงต้องการให้ครูเป็นอย่างไรก็กาหนดตัวชี้วัดมาประเมินในสิ่งที่ต้องการ
ให้เป็น ปัจจุบันตอบไม่ได้ว่าครูแต่ละคนมีสิ่งที่จะต้องพัฒนาอะไรบ้าง จุดเด่นของครูมีอะไรบ้าง เช่น ต้องการให้ครู
นาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน ก็ต้องสร้างตัวชี้วัดเพื่อประเมินครูว่ามีการใช้ได้หรือเปล่า เช่น กระทรวงมี
นโยบายอย่างไร นโยบายจะสาเร็จหรือไม่ต้องกาหนดตัวชี้วัดของนโยบายนั้นๆ ระดับโรงเรียน และระดับตัวบุคคล
ของแต่ละนโยบาย ถึงจะตอบโจทย์แห่งความสาเร็จนั้นได้
แหล่งที่ : http://www.manager.co.th/qol/viewnews.aspx?NewsID=9600000025195
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
ศึกษาการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เรื่อง การศึกษาไทย 4.0 เป็น
ยิ่งกว่าการศึกษา
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต
 เว็บไซส์ที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล www.facebook.com , www.google.com
 Flash Drive เพื่อการบันทึกข้อมูล
 แผ่นซีดีเพื่อการบันทึกขั้นตอนต่าง ๆ ในการนาเสนอโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา
งบประมาณ
 ค่าแผ่นซีดี 10 บาท
 ค่ากล่องซีดี 30 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนนี้จะเป็นการบอกถึงว่าเมื่อโครงการที่ทาสิ้นสุดลง จะมีผลกระทบในทางที่ดีที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
โดยตรงและโดยอ้อม โดยระบุให้ชัดเจนว่าใครจะได้รับผลประโยชน์และผลกระทบนั้นได้รับในลักษณะอย่างไร ทั้ง
ในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ นอกจากส่วนประกอบทั้ง 11 รายการที่ได้กล่าวแล้ว การเขียนโครงการแบบ
ประเพณีนิยมยังอาจมีส่วนประกอบอื่นๆ อีกเช่น
1. หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน หมายถึง หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ หรือให้งบประมาณสนับสนุนในการ
ดาเนินงานเพื่อให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
2. ผู้เสนอร่างโครงการ หมายถึงผู้เขียนและทาโครงการขึ้นเสนอให้ผู้มีอานาจในการพิจารณาอนุมัติโครงการ ใช้
ในกรณีที่ผู้ทาโครงการไม่ได้เป็นผู้เขียนโครงการเอง
6
3. เอกสารอ้างอิง หมายถึง เอกสารที่เป็นแหล่งค้นคว้าอ้างอิงในการทาโครงการในเรื่องนั้น และใช้สาหรับศึกษา
ค้นคว้าเพิ่มเติมเมื่อผู้ปฏิบัติโครงการเกิดข้อสงสัย
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง
 Dr.Borworn. (2560). ประเทศไทย 4.0 .สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2560, จาก
http://www.drborworn.com/articledetail.asp?id=16223
 ETDA Thailand. (2560). Thailand 4.0 คืออะไร ศัพท์ใหม่ที่คนไทยควรรู้. สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม
2560, จาก https://www.facebook.com/ETDA. Thailand/posts/1335382059808700:0

More Related Content

What's hot

เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...Atigarn Tingchart
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...Nat Wrkt
 
2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)KUMBELL
 
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตเทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตKantapon Knight
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตKantapon Knight
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanaporn Sripoug
 
Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Raull Moksaeng
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑suwanna champasak
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551narissararuksri
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรsirato2539
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)Rojsak Chiablaem
 

What's hot (20)

เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
 
Chel
ChelChel
Chel
 
2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตเทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
 
Jj
JjJj
Jj
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
ฟุตซอล
ฟุตซอลฟุตซอล
ฟุตซอล
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์charintip0204
 
2558 project -2 (2)
2558 project -2 (2)2558 project -2 (2)
2558 project -2 (2)Oatty_CMU
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Pathitta Satethakit
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่Brian Fristline
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะChanin Monkai
 
พระกีสาโคตมีเถรี
พระกีสาโคตมีเถรีพระกีสาโคตมีเถรี
พระกีสาโคตมีเถรีPanichaya Charoenphol
 
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรี
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรีโครงงานพระกีสาโคตมีเถรี
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรีPanichaya Charoenphol
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project propsets
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพpaifahnutya
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์pimnarayrc
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Brian Fristline
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอมporpia
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2558 project -2 (2)
2558 project -2 (2)2558 project -2 (2)
2558 project -2 (2)
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
มหัศจรรย์รายการอาหารไทย
มหัศจรรย์รายการอาหารไทยมหัศจรรย์รายการอาหารไทย
มหัศจรรย์รายการอาหารไทย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โรค
โรคโรค
โรค
 
พระกีสาโคตมีเถรี
พระกีสาโคตมีเถรีพระกีสาโคตมีเถรี
พระกีสาโคตมีเถรี
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2558
25582558
2558
 
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรี
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรีโครงงานพระกีสาโคตมีเถรี
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรี
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project (2)
2560 project  (2)2560 project  (2)
2560 project (2)
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 

More from charintip0204

โครงร่างคฟซ2
โครงร่างคฟซ2โครงร่างคฟซ2
โครงร่างคฟซ2charintip0204
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆ
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆโครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆ
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆcharintip0204
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่charintip0204
 
การศึกษาไทย 4 โครงงาน
การศึกษาไทย 4 โครงงานการศึกษาไทย 4 โครงงาน
การศึกษาไทย 4 โครงงานcharintip0204
 
ขอบข่าย-ประเภทโครงงาน
ขอบข่าย-ประเภทโครงงานขอบข่าย-ประเภทโครงงาน
ขอบข่าย-ประเภทโครงงานcharintip0204
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์charintip0204
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์charintip0204
 
2560 project (1) (1)
2560 project  (1) (1)2560 project  (1) (1)
2560 project (1) (1)charintip0204
 
งานคอมเอินเอิน
งานคอมเอินเอินงานคอมเอินเอิน
งานคอมเอินเอินcharintip0204
 
แบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเองแบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเองcharintip0204
 
แบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเองแบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเองcharintip0204
 

More from charintip0204 (15)

comfortzone6
comfortzone6comfortzone6
comfortzone6
 
โครงร่างคฟซ2
โครงร่างคฟซ2โครงร่างคฟซ2
โครงร่างคฟซ2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆ
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆโครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆ
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่ๆๆ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่
 
การศึกษาไทย 4 โครงงาน
การศึกษาไทย 4 โครงงานการศึกษาไทย 4 โครงงาน
การศึกษาไทย 4 โครงงาน
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
ขอบข่าย-ประเภทโครงงาน
ขอบข่าย-ประเภทโครงงานขอบข่าย-ประเภทโครงงาน
ขอบข่าย-ประเภทโครงงาน
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
2560 project (1) (1)
2560 project  (1) (1)2560 project  (1) (1)
2560 project (1) (1)
 
งานคอมเอินเอิน
งานคอมเอินเอินงานคอมเอินเอิน
งานคอมเอินเอิน
 
แบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเองแบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเอง
 
แบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเองแบบสำรวจตนเอง
แบบสำรวจตนเอง
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ใหม่

  • 1. 1 โครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน การศึกษาไทย 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิจิตรา สิทธิคา เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 10 นางสาวยุวพร จุ้ยพุทธา เลขที่ 32 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวพิจิตรา สิทธิคา เลขที่ 24 2.นางสาวยุวพร จุ้ยพุทธา เลขที่ 32 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การศึกษาไทย 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Education 4.0 ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิจิตรา สิทธิคา , นางสาวยุวพร จุ้ยพุทธา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน คนส่วนใหญ่ได้ยินคาว่า “ไทยแลนด์ 4.0” บ่อยมาก หลายคนก็ติดตามดูว่ามันคืออะไร และก็มีหลาย หน่วยงานนาไปขยายความในองค์กรของตัวเองแล้วต่อด้วย 4.0 เช่น เกษตร 4.0 อุตสาหกรรมอาหาร 4.0 การ ท่องเที่ยว 4.0 อื่นๆ อีกหลาย 4.0 ดูเหมือนว่าอะไรๆ ก็ 4.0 มันทันสมัยดี การศึกษาก็เช่นเดียวกัน ไม่น้อยหน้า กว่าหน่วยงานอื่นๆ ก็ประกาศการศึกษา 4.0 หลายคนก็ให้ความเห็นไปต่างๆ นานาตามความรู้สึกของตนเอง ก่อนที่จะพูดถึงการศึกษา 4.0 ต้องทาความเข้าใจก่อนว่าไทยแลนด์ 4.0 คืออะไร มีความเป็นมาอย่างไร ไทย แลนด์ 4.0 เป็นโมเดลในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ที่มีมาไม่น้อยกว่า 50 ปี โดยในปี พ.ศ. 2504 เริ่มมี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรก ยุคนั้นน่าจะเป็นไทยแลนด์ 1.0 สังคมเกษตรกรรมที่เน้น การเกษตรเป็นหลัก ซึ่งในสมัยนั้นจะมีเพลงลูกทุ่งที่สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตของชาวบ้านและการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศ โดยให้ประชาชนรู้จักประกอบอาชีพด้านการเกษตร ดังเนื้อเพลง “พ.ศ. สองพันห้าร้อยสี่ ผู้ใหญ่ลีตี กลองประชุม ชาวบ้านต่างมาชุมนุม มาประชุมที่บ้านผู้ใหญ่ลี ต่อไปนี้ผู้ใหญ่ลีจะขอกล่าวถึงเรื่องราวที่ได้ประชุม มา ทางการเขาสั่งมาว่า ให้ชาวนาเลี้ยงเป็ด และสุกร” นับว่าเป็นความพยายามของรัฐบาลที่จะส่งเสริมให้ ประชาชนมีรายได้ยุคไทยแลนด์ 1.0 เป็นยุคที่ยาวนานพอสมควร ข้าพระเจ้าจึงสนใจที่จะศึกษาเพิ่มเติมในเรื่อง การศึกษาไทย 4.0 เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้ผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1. ต้องกาหนดนโยบายหรือออกกฎกระทรวงนักเรียนต่อห้องต้องไม่เกิน 36 คน 2. การจัดความพร้อมของโรงเรียน หมายถึงโรงเรียนทั้งประเทศอย่างน้อยในทุกตาบล หรืออาเภอ หรือจังหวัด 3. หลักสูตรต้องมีการปรับปรุง อาจจะหลักสูตรรายวิชา มีการยกระดับวิชาคอมพิวเตอร์ วิชาเทคโนโลยี มาเป็น วิชาหลัก 4. ต้องนาสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) และ Active Learning เข้ามาจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน 5. ต้องสร้างตัวชี้วัดระดับบุคคลในการประเมินผลการปฏิบัติงานของครู เพื่อจะทาให้ทราบจุดเด่นจุดด้อย ต้อง พัฒนาครูเป็นรายบุคคล ขอบเขตโครงงาน ศึกษาค้นคว้าผลงานstemภายในยุค 4.0 ของโรงเรียนต่างๆ หลักการและทฤษฎี การศึกษา 4.0 จากปัญหาต่างๆ ของประเทศไทย เช่น เศรษฐกิจล้มเหลว การเมืองล้มแล้ว สังคม ล้มเหลว หรือทุกๆ ปัญหาที่ล้มเหลวต่างก็โทษการศึกษาล้มเหลว ไทยแลนด์ 4.0 เป้าหมายต้องการให้ประเทศ ไทยมีนวัตกรรมเป็นของตนเอง แต่หลักสูตรการศึกษาและการจัดการเรียนการสอนของครูตอบสนองเป้าหมาย ของไทยแลนด์ 4.0 แล้วหรือยัง ทั้งๆ ที่มีการเปลี่ยนและปรับหลักสูตรมาตลอดกว่า 50 ปี ถึงเวลาแล้วที่จะต้อง ปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการศึกษาของประเทศ เพื่อตอบสนองการสร้างนวัตกรรมของประเทศ โดยกระทรวง ศึกษาต้องเป็นผู้นาที่ต้องเดินพร้อมไปกับโรงเรียนที่เป็นหน่วยปฏิบัติโดยตรง ดังนี้ 1. ต้องกาหนดนโยบายหรือออกกฎกระทรวงนักเรียนต่อห้องต้องไม่เกิน 36 คน เพื่อให้เกิดประสิทธิการ ในการสอนอย่างจริงจัง ครูสามารถดูแลนักเรียนในการจัดกิจกรรมการสอนได้อย่างทั่วถึง จะออกข้อสอบอัตนัย ครูก็สามารถที่จะตรวจข้อสอบได้ในเวลาที่พอเหมาะ ไม่ใช่นักเรียนห้องละ 50 ครูดูแลไม่ทั่วถึง ใครไม่สนใจครู จาเป็นต้องปล่อย ปัจจุบันอัตราการเกิดของประชากรน้อยมาก นักเรียนก็ลดลงทุกโรงเรียน ฉะนั้น โรงเรียน สามารถรับนักเรียนได้อย่างเพียงพอ 2. การจัดความพร้อมของโรงเรียน หมายถึงโรงเรียนทั้งประเทศอย่างน้อยในทุกตาบล หรืออาเภอ หรือ จังหวัด ต้องมีความพร้อมเท่าเทียมกัน ทั้งสื่อ อุปกรณ์ ครู อาคารสถานที่ ต้องมีความพร้อมเท่ากัน ไม่ให้เกิดการ เปรียบเทียบถึงความแตกต่าง 3. หลักสูตรต้องมีการปรับปรุง อาจจะหลักสูตรรายวิชา มีการยกระดับวิชาคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยี มาเป็นวิชาหลัก ไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพ การเรียนเป็นรายวิชาจะมีข้อดี คือสามารถ จะเปลี่ยนรายวิชาได้ทุกปี เป็นวิชาที่โรงเรียนสามารถจัดให้นักเรียนเรียนวิชาที่ทันยุคทันสมัยได้เลย ไม่กาหนด ตายตัว 4. ต้องนาสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) และ Active Learning เข้ามาจัดการเรียนการสอนใน โรงเรียน คาว่า “สะเต็ม” หรือ “STEM” เป็นคาย่อจากภาษาอังกฤษของศาสตร์ 4 สาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) หมายถึงองค์ความรู้ วิชาการของศาสตร์ทั้งสี่ที่มีความเชื่อมโยงกันในโลกของความเป็นจริงที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันในการดาเนินชีวิตและการทางาน การจัดการเรียนการสอนของไทยเรา ครูผู้สอน
  • 4. 4 จะสอนแยกส่วน เช่น สอนเคมี ก็เคมีล้วนๆ ฟิสิกส์ ก็ฟิสิกส์ล้วนๆ หรือคณิตศาสตร์ก็คณิตศาสตร์ล้วนๆ ไม่เคย นามาบูรณาการในชิ้นงาน หลักของวัตกรรมทั้งหมดเกิดจากการบูรณาการของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เป็น ส่วนใหญ่ แล้วจึงเกิดนวัตกรรมจนกลายเป็นเทคโนโลยี ต่อมามีนาการนาเทคโนโลยีมาบูรณาการกับวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ จึงเกิดนวัตกรรมใหม่ต่อยอดไปเรื่อยๆ ทั้งนี้ โดยใช้กระบวนการทางวิศวกรรมในการสร้าง นวัตกรรม การสอนให้นักเรียนสร้างนวัตกรรมนั้น ต้องสอนให้นักเรียนรู้แบบโครงงาน หรือการสร้างชิ้นงาน โดยใน โครงงานหรือชิ้นงานนั้น นักเรียนต้องตอบได้ว่ามีคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง อย่างไร ในอดีตการสร้างชิ้นงานของนักเรียน เราไม่เคยนาวิชา STEM เข้ามาบูรณาการ ตัวอย่างเช่น อดีตการหุง ข้าวเป็นวิถีชีวิตประจาวัน แม่บอกให้กรอกข้าว 1 หรือ 2 กระป๋อง ใส่น้าให้สูงจากข้าวสาร 1 ข้อ หรือแล้วแต่บาง คนให้ท่วมหลังมือ การหุงข้าวใช้ไม้ฟืนหรือถ่าน หุงข้าวสุกไม่ดิบสามารถรับประทานได้เสร็จก็จบ แต่เราไม่เคยนา หลักคณิตศาสตร์เรื่องการตวง เรื่องปริมาตร หลักวิทยาศาสตร์ เรื่องความร้อน เข้ามาคิดในเรื่องการหุงข้าว ญี่ปุ่น นาหลักของ STEM มาใช้ในการหุงข้าว โดยใช้หลักของคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เช่น เรื่องของปริมาตร การ ตวง เรื่องของความร้อน เรื่องของเวลา จนสามารถสร้างหม้อหุงข้าวไฟฟ้าได้สาเร็จ และมีการพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ เช่น กาหนดเวลาในการหุงข้าว การอุ่นข้าว การต้มข้าว ฯลฯ หรือขอยกตัวอย่างในชีวิตจริง คนไทยมีการปรุงอาหารต่างๆ มากมาย เช่น แกงบ้าง ทาขนมบ้าง บ้าง คนทาอร่อย บางคนไม่อร่อย ขึ้นอยู่กับฝีมือ การปรุงอาหาร หรือขนม ก็ใช้ความเคยชินในการปรุง เช่น การเหยาะ น้าปลา ใส่น้าตาล ใส่เกลือ เป็นฝีมือเฉพาะคน แต่ถ้าเรานาหลัก STEM เข้ามาจับ ก็จะทาเกิดแฟรนไชส์ (Franchise) เป็นของตนเอง ฉะนั้นหลักสูตรต้องกาหนดให้นักเรียนต้องมีโครงงาน หรือชิ้นงานที่ตอบโจทย์ STEM ได้ ครูผู้สอนในกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการงานอาชีพ ต้องมีความรู้ในนา STEM มาบูรณาการในโครงงาน หรือชิ้นงานของนักเรียนได้ ส่วน Active Learning เป็นการจัดการเรียนการ สอนให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริง สร้างชิ้นงานเป็นของตนเองได้จริง โดยงานเดี่ยวหรืองานกลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับ STEM ถ้าเป็นวิชาที่เป็นเนื้อหา นักเรียนสามารถที่จะสรุปนาเสนอผลงานของตนเองได้ 5. ต้องสร้างตัวชี้วัดระดับบุคคลในการประเมินผลการปฏิบัติงานของครู เพื่อจะทาให้ทราบจุดเด่นจุด ด้อย ต้องพัฒนาครูเป็นรายบุคคล กระทรวงต้องการให้ครูเป็นอย่างไรก็กาหนดตัวชี้วัดมาประเมินในสิ่งที่ต้องการ ให้เป็น ปัจจุบันตอบไม่ได้ว่าครูแต่ละคนมีสิ่งที่จะต้องพัฒนาอะไรบ้าง จุดเด่นของครูมีอะไรบ้าง เช่น ต้องการให้ครู นาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน ก็ต้องสร้างตัวชี้วัดเพื่อประเมินครูว่ามีการใช้ได้หรือเปล่า เช่น กระทรวงมี นโยบายอย่างไร นโยบายจะสาเร็จหรือไม่ต้องกาหนดตัวชี้วัดของนโยบายนั้นๆ ระดับโรงเรียน และระดับตัวบุคคล ของแต่ละนโยบาย ถึงจะตอบโจทย์แห่งความสาเร็จนั้นได้ แหล่งที่ : http://www.manager.co.th/qol/viewnews.aspx?NewsID=9600000025195
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ศึกษาการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เรื่อง การศึกษาไทย 4.0 เป็น ยิ่งกว่าการศึกษา เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้  เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต  เว็บไซส์ที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล www.facebook.com , www.google.com  Flash Drive เพื่อการบันทึกข้อมูล  แผ่นซีดีเพื่อการบันทึกขั้นตอนต่าง ๆ ในการนาเสนอโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา งบประมาณ  ค่าแผ่นซีดี 10 บาท  ค่ากล่องซีดี 30 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ส่วนนี้จะเป็นการบอกถึงว่าเมื่อโครงการที่ทาสิ้นสุดลง จะมีผลกระทบในทางที่ดีที่คาดว่าจะเกิดขึ้น โดยตรงและโดยอ้อม โดยระบุให้ชัดเจนว่าใครจะได้รับผลประโยชน์และผลกระทบนั้นได้รับในลักษณะอย่างไร ทั้ง ในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ นอกจากส่วนประกอบทั้ง 11 รายการที่ได้กล่าวแล้ว การเขียนโครงการแบบ ประเพณีนิยมยังอาจมีส่วนประกอบอื่นๆ อีกเช่น 1. หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน หมายถึง หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ หรือให้งบประมาณสนับสนุนในการ ดาเนินงานเพื่อให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ 2. ผู้เสนอร่างโครงการ หมายถึงผู้เขียนและทาโครงการขึ้นเสนอให้ผู้มีอานาจในการพิจารณาอนุมัติโครงการ ใช้ ในกรณีที่ผู้ทาโครงการไม่ได้เป็นผู้เขียนโครงการเอง
  • 6. 6 3. เอกสารอ้างอิง หมายถึง เอกสารที่เป็นแหล่งค้นคว้าอ้างอิงในการทาโครงการในเรื่องนั้น และใช้สาหรับศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมเมื่อผู้ปฏิบัติโครงการเกิดข้อสงสัย สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง  Dr.Borworn. (2560). ประเทศไทย 4.0 .สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2560, จาก http://www.drborworn.com/articledetail.asp?id=16223  ETDA Thailand. (2560). Thailand 4.0 คืออะไร ศัพท์ใหม่ที่คนไทยควรรู้. สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2560, จาก https://www.facebook.com/ETDA. Thailand/posts/1335382059808700:0