SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา3 3201ง ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา2562
ชื่อโครงงานการจัดการกับโรคกลัวทะเล
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ชื่อนายพัทธดนย์ อุทธิยา เลขที่ 48 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นายพัทธดนย์ อุทธิยาชั้น ม.6 ห้อง 6 เลขที่ 48
ชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)
การจัดการกับโรคกลัวทะเล
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
dealing with Thalassophobia
ประเภทโครงงาน สำรวจ
ชื่อผู้ทำโครงงาน นายพัทธดนย์ อุทธิยา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำโครงงาน)
เนื่องจำกปัจจุบันมีข่ำวอุบัติเหตุทำงทะเลมำกขึ้นในทุกๆที่ ซึ่งบำงคนต้องเสียชีวิตเพรำะไม่รู้ว่ำตัวเองเป็น
โรคกลัวทะเลหรือรู้เมื่อสำยเกินไปก่อนที่จะแก้ไข ทำงผู้จัดทำจึงรวบรวมสำเหตุ อำกำรและวิธีรับมือกับโรคกลัวทะเล
อย่ำงถูกวิธีเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ศึกษำหรือผู้ที่กำลังเป็นโรคกลัวทะเลอยู่ให้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
วัตถุประสงค์(สิ่งที่ต้องการในการทำโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาหาวิธีการป้องกันและบำบัดโรคกลัวทะเล
2.เรียนรู้การจัดการกับโรคกลัวทะเลอย่างถูกต้อง
3.สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตจริงได้
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจงการทากัดขอาโครงงาน)
1.รู้จักโรคกลัวทะเล
2.สาเหตุของโรคกลัวทะเล
3.อาการของโรคกลัวทะเล
4.วิธีรักษาโรคกลัวทะเล
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำโครงงาน)
โรคกลัวทะเล หรือThalassophobia
เป็นโรคกลัวชนิดเฉพาะเจาะจงประเภทกลัวคลื่นใหญ่กลัวน้ำเค็มกลัวความลึกหรือกลัวความเวิ้งว้ใต้น้า
เพราะไม่รู้ว่าจะมีอะไรบ้าง ซึ่งพบว่า มีผู้คนจำนวนไม่น้อยเลยทีเดียวที่ป่วยด้วยเล่นน้ำทะเลเลย
สาเหตุของโรค
โรคกลัวทะเลอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุด้วยกัน โดยสามารถจำแนกได้ดังนี้
- เกิดจากภาพอุบัติเหตุทางน้ าที่เห็นได้บ่อย ๆ ในภาพยนตร์ ข่าว และสารคดี โดยเฉพาะใต้ท้องทะเลที่น่ากลัว
มีพิษรุนแรง หรือเหตุเรือล่มที่น่าหดหู่ใจ เป็นต้น
- เกิดจากประสบการณ์ฝังใจ โดยบางคนอาจเคยเกือบจมน้ำทะเลคลื่นทะเลซัดความเค็มเข้าปากโดน
และจมูก เป็นต้น
- เกิดจากคำสั่งสอนของผู้ปกครองในแนว ๆ ว่า อย่าเข้าใกล้ทะเล เดี๋ยวโดนคลื่นซัดหายไปในน้ำ เดี๋ยวจมหาย เป็นต้น
- เกิดจากความผิดปกติของยีน หรือความผิดปกติที่ต่อมไทรอยด์ ซึ่งอาจกระทบให้ฮอร์โมนในร่างกาย
ไม่สมดุล ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตหลั่งออกมาไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ซึ่งอาจทำให้ ตรรกะในบางเรื่อง
หรือส่งผลให้อารมณ์ความรู้สึกผิดแผกไปจากปกติได้
เกิดขึ้นได้หลายอย่างไม่ว่าจะเป็นระสบอุบัติเหตุทางน้ำการเคยปาการเกิดประสบการณ์ที่ไม่ดีเกิดจากค
าสั่งสอนของผู้ปกครองที่ห้ามเข้าใกล้ทะเลเพราะกลัวจมน้ำตั้งแต่เด็ก หรือเกิดจาก ยีนก็ได้เช่นกัน
อาการของโลกกลัวทะเลเป็นอย่างไร
1. ตัวสั่น เหงื่อแตก ใจเต้นไม่เป็นจังหวะ เมื่อมองเห็นคลื่นทะเล หรือแม่น้ำใหญ่ที่มีความลึก
2. หากได้ดูรูปภาพสารคดีหรือภาพยนตร์ที่มีฉากการตายในทะเลฉากเรือล่มมีผู้คนล้มตำยมาก
หรือเห็นภาพข่าวเหตุการณ์สึนามิจะรู้สึกกลัวแทบหยุดหายใจต้องรีบหันหน้าหนีจากภาพ
คนอาจมีอาการเห็นภาพหลอนเหล่านั้นให้อยู่ไม่เป็นสุขไปอีกสักระยะหนึ่ง
4
3. ถ้าต้องล่องเรือ หรือลงไปสัมผัสน้ำทะเลจะมีอาการใจสั่น ตัวชา ไม่สามารถเป็นตัวของ หากมีอาการกลัวมาก ๆ
อาจถึงขั้นเป็นลมล้มพับ กรี๊ด วิ่งหนี หรืออาเจียนออกมา
วิธีการรักษาโรคกลัวทะเล
1.การสะกดจิตบำบัด (Hypnotherapy)
ที่เป็นการรักษาความกลัวด้วยนักจิตวิทยาอย่างขุดรากถอนโคนถึงสาเหตุของความกลัวนั้นค่อยๆขจัด แล้ว
ความกลัวออกเป็นอย่างๆ จนสุดท้ายทำให้หมดความกังวลไป
2. กำรจัดพฤติกรรมของสมองและใต้จิตสำนึก (Neuro-linguistic programming therapy)
โดยวิธีนี้จิตแพทย์จะปรับความเข้าใจกับผู้ป่วย ให้พ้นจากโลกแห่งความกลัว ที่ถูกสร้างขึ้น
นี้จะใช้เวลาในการรักษานานกว่าวิธีแรก
ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุด หากพบว่าตัวเองเป็นโรคกลัวทะเล คือ การไปพบจิตแพทย์ เพราะโรคนี้ถือ อย่างหนึ่งที่ต้องได้รับการรักษา
แบบค่อยเป็นค่อยไป จึงจะหายจากอาการป่วยนั่นเอ
วิธีดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงาน
 เลือกหัวข้อโครงงาน
 ศึกษารวบรวมข้อมูล
 จัดทำรายงานำเสนอครูผู้สอน
 ปรับปรุงแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
 คอมพิวเตอร์
 อินเตอร์เน็ต
งบประมาณ
ไม่มี
5
ขั้นตอนและแผนด าเนินงาน
ลำดับที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน พัทธดนย์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
พัทธดนย์
3 จัดทำโครงร่างงาน พัทธดนย์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
พัทธดนย์
5 ปรับปรุงทดสอบ พัทธดนย์
6 การทำเอกสารายงาน พัทธดนย์
7 ประเมินผลงาน พัทธดนย์
8 นำเสนอโครงงาน พัทธดนย์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำโครงงาน)
1.ผู้ศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวหับโรคกลัวทะเลมากขึ้น
2.รู้ถึงอาการและการรักษาโรคกลัวทะเล
3.สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
สถานที่ดำเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาใช้การทำโครงงาน)
https://health.kapook.com/view158692.html
https://www.springnews.co.th/crime/110635
https://www.meekhao.com/news/30-thalassophobia

More Related Content

What's hot (19)

2560 project (1) (1)
2560 project  (1) (1)2560 project  (1) (1)
2560 project (1) (1)
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Chel
ChelChel
Chel
 
2562 final project-32
2562 final project-322562 final project-32
2562 final project-32
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
Rice soup 604
Rice soup 604Rice soup 604
Rice soup 604
 
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่งแบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
2562 final-project-32
2562 final-project-322562 final-project-32
2562 final-project-32
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
Com2561 32
Com2561 32Com2561 32
Com2561 32
 
Com
ComCom
Com
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทย
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2558 project 2
2558 project 22558 project 2
2558 project 2
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 

Similar to At1 (20)

ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
 
Project com48
Project com48Project com48
Project com48
 
2562 final-project 06-610
2562 final-project 06-6102562 final-project 06-610
2562 final-project 06-610
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
 
Phosis
PhosisPhosis
Phosis
 
At1
At1At1
At1
 
Computer project Natnicha 603
Computer project Natnicha 603Computer project Natnicha 603
Computer project Natnicha 603
 
607 NO.8
607 NO.8607 NO.8
607 NO.8
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610
 
โครงงานโครงร่าง
โครงงานโครงร่างโครงงานโครงร่าง
โครงงานโครงร่าง
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 
Work6
Work6Work6
Work6
 
2562 final-project -new2
2562 final-project -new22562 final-project -new2
2562 final-project -new2
 
2560 project (4)
2560 project  (4)2560 project  (4)
2560 project (4)
 
2560 project (4)
2560 project  (4)2560 project  (4)
2560 project (4)
 

At1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา3 3201ง ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา2562 ชื่อโครงงานการจัดการกับโรคกลัวทะเล ชื่อผู้ทำโครงงาน ชื่อนายพัทธดนย์ อุทธิยา เลขที่ 48 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นายพัทธดนย์ อุทธิยาชั้น ม.6 ห้อง 6 เลขที่ 48 ชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) การจัดการกับโรคกลัวทะเล ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) dealing with Thalassophobia ประเภทโครงงาน สำรวจ ชื่อผู้ทำโครงงาน นายพัทธดนย์ อุทธิยา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำโครงงาน) เนื่องจำกปัจจุบันมีข่ำวอุบัติเหตุทำงทะเลมำกขึ้นในทุกๆที่ ซึ่งบำงคนต้องเสียชีวิตเพรำะไม่รู้ว่ำตัวเองเป็น โรคกลัวทะเลหรือรู้เมื่อสำยเกินไปก่อนที่จะแก้ไข ทำงผู้จัดทำจึงรวบรวมสำเหตุ อำกำรและวิธีรับมือกับโรคกลัวทะเล อย่ำงถูกวิธีเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ศึกษำหรือผู้ที่กำลังเป็นโรคกลัวทะเลอยู่ให้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน วัตถุประสงค์(สิ่งที่ต้องการในการทำโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาหาวิธีการป้องกันและบำบัดโรคกลัวทะเล 2.เรียนรู้การจัดการกับโรคกลัวทะเลอย่างถูกต้อง 3.สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตจริงได้
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจงการทากัดขอาโครงงาน) 1.รู้จักโรคกลัวทะเล 2.สาเหตุของโรคกลัวทะเล 3.อาการของโรคกลัวทะเล 4.วิธีรักษาโรคกลัวทะเล หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำโครงงาน) โรคกลัวทะเล หรือThalassophobia เป็นโรคกลัวชนิดเฉพาะเจาะจงประเภทกลัวคลื่นใหญ่กลัวน้ำเค็มกลัวความลึกหรือกลัวความเวิ้งว้ใต้น้า เพราะไม่รู้ว่าจะมีอะไรบ้าง ซึ่งพบว่า มีผู้คนจำนวนไม่น้อยเลยทีเดียวที่ป่วยด้วยเล่นน้ำทะเลเลย สาเหตุของโรค โรคกลัวทะเลอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุด้วยกัน โดยสามารถจำแนกได้ดังนี้ - เกิดจากภาพอุบัติเหตุทางน้ าที่เห็นได้บ่อย ๆ ในภาพยนตร์ ข่าว และสารคดี โดยเฉพาะใต้ท้องทะเลที่น่ากลัว มีพิษรุนแรง หรือเหตุเรือล่มที่น่าหดหู่ใจ เป็นต้น - เกิดจากประสบการณ์ฝังใจ โดยบางคนอาจเคยเกือบจมน้ำทะเลคลื่นทะเลซัดความเค็มเข้าปากโดน และจมูก เป็นต้น - เกิดจากคำสั่งสอนของผู้ปกครองในแนว ๆ ว่า อย่าเข้าใกล้ทะเล เดี๋ยวโดนคลื่นซัดหายไปในน้ำ เดี๋ยวจมหาย เป็นต้น - เกิดจากความผิดปกติของยีน หรือความผิดปกติที่ต่อมไทรอยด์ ซึ่งอาจกระทบให้ฮอร์โมนในร่างกาย ไม่สมดุล ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตหลั่งออกมาไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ซึ่งอาจทำให้ ตรรกะในบางเรื่อง หรือส่งผลให้อารมณ์ความรู้สึกผิดแผกไปจากปกติได้ เกิดขึ้นได้หลายอย่างไม่ว่าจะเป็นระสบอุบัติเหตุทางน้ำการเคยปาการเกิดประสบการณ์ที่ไม่ดีเกิดจากค าสั่งสอนของผู้ปกครองที่ห้ามเข้าใกล้ทะเลเพราะกลัวจมน้ำตั้งแต่เด็ก หรือเกิดจาก ยีนก็ได้เช่นกัน อาการของโลกกลัวทะเลเป็นอย่างไร 1. ตัวสั่น เหงื่อแตก ใจเต้นไม่เป็นจังหวะ เมื่อมองเห็นคลื่นทะเล หรือแม่น้ำใหญ่ที่มีความลึก 2. หากได้ดูรูปภาพสารคดีหรือภาพยนตร์ที่มีฉากการตายในทะเลฉากเรือล่มมีผู้คนล้มตำยมาก หรือเห็นภาพข่าวเหตุการณ์สึนามิจะรู้สึกกลัวแทบหยุดหายใจต้องรีบหันหน้าหนีจากภาพ คนอาจมีอาการเห็นภาพหลอนเหล่านั้นให้อยู่ไม่เป็นสุขไปอีกสักระยะหนึ่ง
  • 4. 4 3. ถ้าต้องล่องเรือ หรือลงไปสัมผัสน้ำทะเลจะมีอาการใจสั่น ตัวชา ไม่สามารถเป็นตัวของ หากมีอาการกลัวมาก ๆ อาจถึงขั้นเป็นลมล้มพับ กรี๊ด วิ่งหนี หรืออาเจียนออกมา วิธีการรักษาโรคกลัวทะเล 1.การสะกดจิตบำบัด (Hypnotherapy) ที่เป็นการรักษาความกลัวด้วยนักจิตวิทยาอย่างขุดรากถอนโคนถึงสาเหตุของความกลัวนั้นค่อยๆขจัด แล้ว ความกลัวออกเป็นอย่างๆ จนสุดท้ายทำให้หมดความกังวลไป 2. กำรจัดพฤติกรรมของสมองและใต้จิตสำนึก (Neuro-linguistic programming therapy) โดยวิธีนี้จิตแพทย์จะปรับความเข้าใจกับผู้ป่วย ให้พ้นจากโลกแห่งความกลัว ที่ถูกสร้างขึ้น นี้จะใช้เวลาในการรักษานานกว่าวิธีแรก ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุด หากพบว่าตัวเองเป็นโรคกลัวทะเล คือ การไปพบจิตแพทย์ เพราะโรคนี้ถือ อย่างหนึ่งที่ต้องได้รับการรักษา แบบค่อยเป็นค่อยไป จึงจะหายจากอาการป่วยนั่นเอ วิธีดำเนินงาน แนวทางการดำเนินงาน  เลือกหัวข้อโครงงาน  ศึกษารวบรวมข้อมูล  จัดทำรายงานำเสนอครูผู้สอน  ปรับปรุงแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้  คอมพิวเตอร์  อินเตอร์เน็ต งบประมาณ ไม่มี
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนด าเนินงาน ลำดับที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน พัทธดนย์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พัทธดนย์ 3 จัดทำโครงร่างงาน พัทธดนย์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน พัทธดนย์ 5 ปรับปรุงทดสอบ พัทธดนย์ 6 การทำเอกสารายงาน พัทธดนย์ 7 ประเมินผลงาน พัทธดนย์ 8 นำเสนอโครงงาน พัทธดนย์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำโครงงาน) 1.ผู้ศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวหับโรคกลัวทะเลมากขึ้น 2.รู้ถึงอาการและการรักษาโรคกลัวทะเล 3.สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
  • 6. แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาใช้การทำโครงงาน) https://health.kapook.com/view158692.html https://www.springnews.co.th/crime/110635 https://www.meekhao.com/news/30-thalassophobia