SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
รายงาน
              วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
             เรื่ อง โปรแกรมคอมพิวเตอร์
                               จัดทาโดย

        1. นายศิวกร                     ชาติสิงหเดช   เลขที่ 6
        2. นายศุภชีพ                    กนกพัฒนากร    เลขที่ 7
       3. นายธนนนท์                    สงเจริ ญ       เลขที่ 12
       4. นางสาวดลญา                   เหลืองทอง      เลขที่ 17
       5. นางสาวนพรัตน์                โชติกปฏิพทธ์
                                                ั     เลขที่ 19
       6. นางสาวอัจฉราวรรณ             ฉิ มพวัน       เลขที่ 24


                        ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2

                                 เสนอ

                      อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม


โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี
คานา
     กลุ่มของข้าพเจ้าจัดทารายงานเรื่ อง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ขึ้นเพื่อ
ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่ องโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพิ่มเติม
จากความรู ้ในห้องเรี ยน และความรู ้พ้ืนฐานที่มีอยู่ เนื้อหาก็จะเกี่ยวกับ
ความหมายของโปรแกรม การแก้ไข้ปัญหา ภาษาของคอมพิวเตอร์ และ
รายละเอียดอีกมากมาย กลุ่มของข้าพเจ้าหวังว่า รายงานเรื่ องโปรแกรม
                                ่ ้
คอมพิวเตอร์ เล่มนี้จะมีประโยชน์ตอผูที่เปิ ดดู และเปิ ดอ่านไม่มากก็นอย
                                                                   ้
           หากผิดพลาดประการใดขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย
                                                 ้




                                                             คณะผูจดทา
                                                                  ้ั
สารบัญ
          เรื่ อง                            หน้า
 ความหมายและลักษณะของโปรแกรมคอมพิวเตอร์     3
         วิเคราะห์ปัญหา                     3

      ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา                 3
      การเขียนโปรแกรม                       3
      ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม                  4
      จัดทาเอกสารประกอบ                     4
      บารุ งรักษาโปรแกรม                    5
 ภาษาคอมพิวเตอร์                            5
       ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์             5
       ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์              9
       ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์   13
       ลักษณะของภาษา HTML                   14
       หลักการเขียนภาษา HTML                14
       คาสัง
            ่                                18
       คาถามท้ายบท                          20
       บรรณานุกรม                           23
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายและลักษณะของโปรแกรมคอมพิวเตอร์

       โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Program Computer) คือ ชุดคาสังที่ใช้สาหรับแสดงและสื่อสารกับ
                                                        ่
คอมพิวเตอร์ เพือให้คอมพิวเตอร์ทางานตามลาดับขั้นตอนที่เขียนไว้ในชุดคาสังนั้นๆ คาสังเหล่านี้นกพัฒนา
               ่                                                      ่          ่         ั
โปรแกรมหรื อโปรแกรมเมอร์ (Programmer) จะเขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามลาดับขั้นตอนของการ
พัฒนาโปรแกรม ดังนี้

      วิเคราะห์ ปัญหา

      การวิเคราะห์ปัญหา ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
      1. กาหนดวัตถุประสงค์ของงาน เพือพิจารณาว่าโปรแกรมต้องทาการประมวลผลอะไรบ้าง
                                         ่
      2. พิจารณาข้ อมูลนาเข้ า เพือให้ทราบว่าจะต้องนาข้อมูลอะไรเข้าคอมพิวเตอร์ ข้อมูลมีคุณสมบัติ
                                  ่
         เป็ นอย่างไร ตลอดจนถึงลักษณะและรู ปแบบของข้อมูลที่จะนาเข้า
      3. พิจารณาการประมวลผล เพือให้ทราบว่าโปรแกรมมีข้นตอนการประมวลผลอย่างไรและมีเงื่อน
                                    ่                       ั
         ไปการประมวลผลอะไรบ้าง
      4. พิจารณาข้ อสนเทศนาออก เพือให้ทราบว่ามีขอสนเทศอะไรที่จะแสดง ตลอดจนรู ปแบบและสื่อ
                                      ่             ้
         ที่จะใช้ในการแสดงผล

      ออกแบบวิธีการแก้ ปัญหา

      การออกแบบขั้นตอนการทางานของโปรแกรมเป็ นขั้นตอนที่ใช้เป็ นแนวทางในการลงรหัสโปรแกรม
ผูออกแบบขั้นตอนการทางานของโปรแกรมอาจใช้เครื่ องมือต่างๆ ช่วยในการออกแบบ อาทิเช่น คาสัง
  ้                                                                                     ่
ลาลอง (Pseudocode) หรื อ ผังงาน (Flow chart) การออกแบบโปรแกรมนั้นไม่ตองพะวงกับรูปแบบคาสัง
                                                                     ้                    ่
ภาษาคอมพิวเตอร์ แต่ให้มุ่งความสนใจไปที่ลาดับขั้นตอนในการประมวลผลของโปรแกรมเท่านั้น

      การเขียนโปรแกรม

     การเขียนโปรแกรมเป็ นการนาเอาผลลัพธ์ของการออกแบบโปรแกรม มาเปลี่ยนเป็ นโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ผูเ้ ขียนโปรแกรมจะต้องให้ความสนใจต่อรู ปแบบคาสังและกฎเกณฑ์
                                                                                   ่
ของภาษาที่ใช้เพือให้การประมวลผลเป็ นไปตามผลลัพธ์ที่ได้ออกแบบไว้ นอกจากนั้นผูเ้ ขียนโปรแกรมควร
                ่
แทรกคาอธิบายการทางานต่าง ลงในโปรแกรมเพือให้โปรแกรมนั้นมีความกระจ่างชัดและง่ายต่อการ
                                             ่
ตรวจสอบและโปรแกรมนี้ยงใช้เป็ นส่วนหนึ่งของเอกสารประกอบ
                         ั
ทดสอบและแก้ ไขโปรแกรม

       การทดสอบโปรแกรมเป็ นการนาโปรแกรมที่ลงรหัสแล้วเข้าคอมพิวเตอร์   เพือตรวจสอบ
                                                                         ่
รู ปแบบกฎเกณฑ์ของภาษา และผลการทางานของโปรแกรมนั้น ถ้าพบว่ายังไม่ถกก็แก้ไขให้ถูกต้องต่อไป
                                                                    ู
ขั้นตอนการทดสอบและแก้ไขโปรแกรม อาจแบ่งได้เป็ น 3 ขั้น

      1. สร้างแฟ้ มเก็บโปรแกรมซึ่งส่วนใหญ่นิยมนาโปรแกรมเข้าผ่านทางแป้ นพิมพ์โดยใช้โปรแกรม
         ประมวลคา

      2. ใช้ตวแปลภาษาคอมพิวเตอร์แปลโปรแกรมที่สร้างขึ้นเป็ นภาษาเครื่ อง โดยระหว่างการแปล
             ั
         จะมีการตรวจสอบความถูกต้องของรู ปแบบและกฎเกณฑ์ในการใช้ภาษา ถ้าคาสังใดมีรูปแบบไม่
                                                                                  ่
         ถูกต้องก็จะแสดงข้อผิดพลาดออกมาเพือให้ผเู ้ ขียนนาไปแก้ไขต่อไป ถ้าไม่มีขอผิดพลาด เราจะ
                                            ่                                   ้
         ได้โปรแกรมภาษาเครื่ องที่สามารถให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้

      3. ตรวจสอบความถูกต้องของการประมวลผลของโปรแกรม โปรแกรมที่ถูกต้องตามรู ปแบบและ
         กฎเกณฑ์ของภาษา แต่อาจให้ผลลัพธ์ของการประมวลผลไม่ถูกต้องก็ได้ ดังนั้นผูเ้ ขียนโปรแกรม
         จาเป็ นต้องตรวจสอบว่าโปรแกรมประมวลผลถูกต้องตามต้องการหรื อไม่ วิธีการหนึ่งก็คือ
         สมมติขอมูลตัวแทนจากข้อมูลจริ งนาไปให้โปรแกรมประมวลผลแล้วตรวจสอบผลลัพธ์วา
                  ้                                                                     ่
         ถูกต้องหรื อไม่ ถ้าพบว่าไม่ถูกต้องก็ตองดาเนินการแก้ไขโปรแกรมต่อไป การสมมติขอมูล
                                              ้                                           ้
         ตัวแทนเพือการทดสอบเป็ นสิ่งที่มีความสาคัญเป็ นอย่างมาก
                    ่                                             ลักษณะของข้อมูลตัวแทนที่ดี
         ควรจะสมมติท้งข้อมูลทีถูกต้องและข้อมูลที่ผดพลาด เพือทดสอบว่าโปรแกรมที่พฒนาขึ้น
                        ั     ่                   ิ             ่                     ั
         สามารถครอบคลุมการปฏิบติงานในเงื่อนไขต่างๆได้ครบถ้วน นอกจากนี้อาจตรวจสอบการ
                                  ั
         ทางานของโปรแกรมด้วยการสมมติตวเองเป็ นคอมพิวเตอร์ทีจะประมวลผล แล้วทาตามคาสังที
                                           ั                                                ่
         ละคาสังของโปรแกรมนั้นๆ วิธีการนี้อาจทาได้ยากถ้าโปรแกรมมีขนาดใหญ่ หรื อมีการ
                ่
         ประมวลผลที่ซบซ้อนั

      จัดทาเอกสารประกอบ

     การทาเอกสารประกอบโปรแกรมเป็ นงานที่สาคัญของการพัฒนาโปรแกรม เอกสารประกอบ
                                                               ั
โปรแกรมช่วยให้ผใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กบโปรแกรม ตลอดจนผลลัพธ์ที่จะได้
                ู้
จากโปรแกรม การทาโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควรต้องทาเอกสารกากับ เพือใช้สาหรับการอ้างอิงเมื่อจะใช้
                                                                   ่
งานโปรแกรมและเมื่อต้องการแก้ไขปรับปรุ งโปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมที่จดทา    ั           ควร
ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
1. วัตถุประสงค์

      2. ประเภทและชนิดของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทใช้ในโปรแกรม
                                               ี่

      3. วิธีการใช้โปรแกรม

      4. แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม

      5. รายละเอียดโปรแกรม

      6. ข้อมูลตัวแทนที่ใช้ทดสอบ

      7. ผลลัพธ์ของการทดสอบ

      บารุงรักษาโปรแกรม

       เมี่อโปรแกรมผ่านการตรวจสอบตามขั้นตอนเรี ยบร้อยแล้ว และถูกนามาให้ผใช้ได้ใช้งาน ในช่วงแรก
                                                                               ู้
ผูใช้อาจจะยังไม่คุนเคยก็อาจทาให้เกิดปั ญหาขึ้นมาบ้าง ดังนั้นจึงต้องมีผคอยควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบ
  ้               ้                                                   ู้
การทางาน การบารุ งรักษาโปรแกรมจึงเป็ นขั้นตอนที่ผเู ้ ขียนโปรแกรมต้องคอยเฝ้ าดูและหาข้อผิดพลาดของ
โปรแกรมในระหว่างที่ผใช้ใช้งานโปรแกรม และปรับปรุ งโปรแกรมเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น หรื อในการใช้
                       ู้
งานโปรแกรมไปนานๆ ผูใช้อาจต้องการเปลี่ยนแปลงการทางานของระบบงานเดิมเพือให้เหมาะกับเหตุ-
                          ้                                                       ่
การณ์ นักเขียนโปรแกรมก็จะต้องคอยปรับปรุ งแก้ไขโปรแกรมตามความต้องการของผูใช้ที่เปลี่ยนแปลง
                                                                                    ้
ไปนันเอง
     ่


      ภาษาคอมพิวเตอร์

       ภาคอมพิวเตอร์หรื อภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programming Language) มีพ้นฐานมา
                                                                                    ื
จากการเปิ ดและปิ ดกระแสไฟฟ้ า หรื อระบบเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 เรี ยงต่อกัน เพือแทนความหมายต่างๆ
                                                                             ่
ในคอมพิวเตอร์

       ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์

            ภาษาเครื่อง (Machine Language)

       ก่อนปี ค.ศ. 1952 มีภาษาคอมพิวเตอร์เพียงภาษาเดียวเท่านั้นคือ ภาษาเครื่ อง (Machine
Language) ซึ่งเป็ นภาษาระดับต่าที่สุด เพราะใช้เลขฐานสองแทนข้อมูล และคาสังต่าง ๆ ทั้งหมดจะเป็ นภาษา
                                                                          ่
่ั
ที่ข้ ึนอยูกบชนิดของเครื่ องคอมพิวเตอร์ หรื อหน่ วยประมวลผลที่ใช้ นันคือปต่ละเครื่ องก็จะมีรูปแบบของ
                                                                    ่
คาสังเฉพาะของตนเอง ซึ่งนักคานวณและนักเขียนโปรแกรมในสมัยก่อนต้องรู ้จกวิธีที่จะรวมตัวเลขเพือ
        ่                                                                    ั                    ่
            ่                             ่
แทนคาสังต่า ๆ ทาให้การเขียนโปรแกรมยุงยากมาก นักคอมพิวเตอร์จึงได้พฒนาภาษาแอสเซมบลีข้ นมา
                                                                         ั                      ึ
เพือให้สามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
    ่

             ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)

           ต่อมาในปี ค.ศ. 1952 ได้มีการพัฒนาโปรแกรมภาษาระดับต่าตัวใหม่ ชื่อภาษาแอสเซมบลี
(Assembly Language) โดยที่ภาษาแอสเซมบลีใช้รหัสเป็ นคาแทนคาสังภาษาเครื่ อง ทาให้นกเขียนโปรแกรม
                                                                   ่                  ั
สามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ถึงแม้วาการเขียนโปรแกรมจะยังไม่สะดวกเท่ากับการเขียนโปรแกรม
                                          ่
ภาษาอื่น ๆ ในสมัยนี้ แต่ถาเปรี ยบเทียบในสมัยนั้นก็ถือว่าเป็ นการพัฒนาไปสู่ยคของการเขียนโปรแกรม
                            ้                                              ุ
แบบใหม่ คือใช้สญลักษณ์แทนเลข 0 และ 1 ของภาษาเครื่ อง ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้จะเป็ นคาสังสั้น ๆ ที่จะได้
                   ั                                                                ่
ง่าย เรี ยกว่า นิมอนิกโคด (mnemonic code) เช่น

                        สั ญลักษณ์นิวมอนิกโคด                ความหมาย
                                                           การบวก (Add)
                                  A
                                                     การเปรี ยบเทียบ (Compare)
                                  C
                                                          การคูณ (Muliply)
                                 MP
                                                    การเก็บข้อมูลในหน่วยความจา
                                 STO
                                                               (Store)

                                         ตัวอย่ างนิวมอนิกโคด



          ถึงแม้วานิวมอนิกโคดที่ใช้จะไม่ใช้คาในภาษาอังกฤษ แต่ก็เป็ นสัญลักษณ์ที่สื่อความหมายให้ผใช้
                 ่                                                                              ู้
สามารถจดจาได้ง่ายกว่าสัญลักษณ์เลข 0 และ 1 ผูเ้ ขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลียงสามารถกาหนดชื่อของ
                                                                              ั
ที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจาเป็ นคาในภาษาอังกฤษ แทนที่จะเป็ นเลขที่ตาแหน่งในหน่วยความจา เช่น
TOTAL , INCOME เป็ นต้น แต่ขอจากัดของภาษาภาษาแอสเซมบลี คือ จะแตกต่างกันไปในแต่ละเครื่ อง
                                 ้
เช่นเดียวกับภาษาเครื่ อง

       ผูเ้ ขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีตองใช้ แอสเซมเบลอ (Assembler) แปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็ น
                                        ้
ภาษาเครื่ อง เพือให้คอมพิวเตอร์ทางานตามต้องการ
                ่
 ภาษาระดับสู ง (High Level Language)

        ในปี ค.ศ. 1960 ได้มีการพัฒนา ภาษาระดับสูง (High Level Language) ขึ้น ภาษาระดับสูงจะใช้คาใน
ภาษาอังกฤษแทนคาสังต่าง ๆ รวมทั้งสามารถใช้นิพจน์ทางคณิ ตศาสตร์ได้ดวย ทาให้นกเขียนโปรแกรม
                     ่                                               ้          ั
สามารถใช้เวลามุ่งไปในการศึกษาถึงทางแก้ปัญหาเท่านั้น ไม่ตองเป็ นกังวลว่าคอมพิวเตอร์จะทางานอย่างไร
                                                         ้
อีกต่อไป

        ภาษาระดับสูงนี้ถือว่าเป็ น ภาษายุคที่สาม (third-generation language) ซึ่งทาให้เกิดการประมวลผล
ข้อมูลเพิมมากขึ้นอย่างมหาศาลระหว่างปี ค.ศ. 1960 ถึง ค.ศ. 1970 และมีผหนมาใช้คอมพิวเตอร์กนมากขึ้น
         ่                                                               ู้ ั                  ั
โดยสังเกตได้จามเครื่ องเมนเฟรมจากจานวนร้อยเครื่ องเพิมขึ้นเป็ นหมื่นเครื่ อง อย่างไรก็ตาม ภาษาระดับสูง
                                                         ่
ก็ยงคงต้องการตัวแปลภาษาให้เป็ นภาษาเครื่ องเพือสังให้เครื่ องทางานต่อไป ตัวแปลภาษาที่นิยมใช้งานกัน
   ั                                            ่ ่
โดยทัวไปจะเป็ นแบบคอมไพเลอร์ ซึ่งแต่ละภาษาก็มีคอมไพเลอร์ไม่เหมือนกัน รวมทั้งคอมไพเลอร์แต่ละ
      ่
ตัวก็จะต่างกันไปบนเครื่ องแต่ละชนิดด้วย เช่น ถ้าเขียนโปรแกรมภาษา COBOL บนเครื่ อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ ก็จะต้องเลือกใช้คอมไพเลอร์ภาษา COBOL ที่ทางานบนเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่ง
การเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งภาษาใดบนเครื่ องที่ต่างกันอาจจะแตกต่างกันได้ เพราะคอมไพเลอร์ที่ใช้
ต่างกันนันเอง
           ่

         ภาษาคอมพิวเตอร์บางภาษาได้ถูออแบบมาให้ใช้แก้ปัญหางานเฉพาะบางอย่าง เช่น การควบคุม
หุ่นยนต์ การสร้างภาพกราฟฟิ ก เป็ นต้น แต่ภาษาคอมพิวเตอร์โดยมากจะมีความยืดหยุนให้ใช้งานทัว ๆ ไป
                                                                             ่          ่
ได้ เช่น ภาษา BASIC ภาษา COBOL หรื อภาษา FORTRAN เป็ นต้น และนอกจากนี้ยงมีภาษา C ที่ได้รับ
                                                                           ั
ความนิยมมากเช่นกัน

             ภาษาระดับสู งมาก (Very high-level Language)

         เป็ นภาษายุคที่ 4 (fourth-generation language) หรื อ 4GLs จะเป็ นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมได้ส้ น
                                                                                                      ั
กว่าภาษาในยุคก่อน ๆ การทางานบางอย่างสามารถใช้เพียง 5 ถึง 10 บรรทัดเท่านั้น ในขณะที่ถาเขียนด้วย
                                                                                             ้
ภาษา อาจต้องใช้ถึง 100 บรรทัด โดยพื้นฐานแล้ว ภาษาในยุคที่ 4 นี้มีคุณสมบัติที่แยกจากภาษาใยุคก่อน ๆ
อย่างชัดเจน กล่าวคือภาษาในยุคก่อนนั้นใช้หลักการของ การเขียนโปรแกรมแบบโพรซีเยอร์ (procedurl
language) ในขณะที่ภาษาในยุคที่ 4 จะเป็ นแบบ ไม่ใช้โพรซีเยอร์ (nonprocedurl language) ผูเ้ ขียนโปรแกรม
เพียงแต่กาหนดว่าต้องการให้โปรแกรมทาอะไรบ้างก็สามารถเขียนโปรแกรมได้ทนที โดยไม่ตองทราบว่า
                                                                                  ั            ้
ทาได้อย่างไร ทาให้การเขียนโปรแกรมสามารถทาได้ง่ายและรวดเร็ว

          มีนกเขียโปรแกรมกล่าวว่า ถ้าใช้ภาษาในยุคที่ 4 นี้เขียนโปรแกรมจะทาให้ได้งานที่เพิมขึ้นถึงสิบ
             ั                                                                           ่
เท่าตัว ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการพิมพ์รายงานแสดงจานวนรายการสินต้าที่ขายให้ลูกค้าแต่ละคนในหนึ่งเดือน
โดยให้แสดงยอดรวมของลูกค้าแต่ละคน และให้ข้ ึนหน้าใหม่สาหรับการพิมพ์รายงานลูกค้าแต่ละคน จะ
เขียนโดยใช้ภาษาในยุคที่ 4 ได้ดงนี้
                              ั

             TABLE FILE SALES
             SUM UNIT BY MONTH BY CUSTOMER BY PROJECT
             ON CUSTOMER SUBTOTAL PAGE BREAK
             END



                                 ่
        จากตัวอย่างจะเห็นได้วาเป็ นงานที่ซบซ้อน ซึ่งถ้าใข้ภาษา COBOL เขียนอาจจะต้องใช้ถึง 500 คาสัง
                                              ั                                                   ่
แต่ถาใช้ภาษาในยุคที่ 4 นี้จะเป็ นสิ่งที่ทาได้ไม่ยากเลย
    ้

ข้ อดีของภาษาในยุคที่ 4

     การเขียนโปรแกรมจะเน้นที่ผลของงานว่าต้องการอะไร ไม่สนใจว่าจะทาได้อย่างไร
     ช่วยพัฒนาเนื้องาน เพราะเขียนและแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย
              ้                                       ่ ้
     ไม่ตองเสียเวลาอบรมผูเ้ ขียนโปรแกรมมากนัก ไม่วาผูที่จะมาเขียนโปรแกรมนั้นมีความรู ้ดานการ
                                                                                        ้
      เขียนโปรแกรมหรื อไม่
     ผูเ้ ขียนโปรแกรมไม่ตองทราบถึงฮาร์ดแวร์ของเครื่ องและโครงสร้างโปรแกรม
                          ้

      ภาษาในยุคที่ 4 นี้ยงมีภาษาที่ใช้สาหรับเรี ยกดูขอมูลจากฐานข้อมูลได้ เรี ยกว่า ภาษาเรี ยกค้นข้อมูล
                         ั                           ้
(query language) โดยปกติแล้วการเก็บข้อมูลลงในฐานข้อมูล และการแสดงรายงานจากฐานข้อมูล จะต้องมี
การวางแผนไว้ล่วงหน้า แต่บางครั้งอาจมีการเรี ยกดูขอมูลพิเศษที่ไม่ได้มีการวางแผนไว้ ถ้าผูใช้เรี ยนรู ้ภาษา
                                                       ้                                     ้
เรี ยกค้นข้อมูลก็จะขอดูรายงานต่าง ๆ นอกเหนือจากที่ได้มีการวางแผนไว้ได้โดยใช้เวลาไม่มากนัก ภาษา
เรี ยกค้นข้อมูลที่เป็ นมาตรฐานเรี ยกว่าSQL (Structured Query Language) และนอกจากนี้ยงมีภาษา Query Bu
                                                                                           ั
Example หรื อ QBE ที่ได้รับความนิยมการใช้งานมากเช่นกัน

             ภาษาธรรมชาติ (Nature Language)

        เป็ น ภาษายุคที่ 5 (fifth generation language) หรื อ 5GLs ธรรมชาติหมายถึงธรรมชาติของมนุษย์ คือ
ไม่ตองสนใจถึงคาสังหรื อลาดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ผูใช้เพียงแต่พมพ์สิ่งที่ตองการลงในเครื่ องคอมพิวเตอร์
     ้              ่                                  ้           ิ      ้
เป็ นคาหรื อประโยคตามที่ผใช้เข้าใจ ซึ่งจะทาให้มีรูปแบบของคาสังหรื อประโยคที่แตกต่างกันออกไปได้
                             ู้                                        ่
                ้                                                    ่
มากมาย เพราะผูใช้แต่ละคนอาจจะใช้ประโยคต่างกัน ใช้คาศัพท์ตางกัน หรื อแม้กระทังบางคนอาจจะใช้
                                                                                   ่
ศัพท์แสลงก็ได้ คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคาหรื อประโยคเหล่านั้นตามคาสัง แต่ถาไม่สามารถแปลให้
                                                                     ่      ้
เข้าใจได้ ก็จะมีคาถามกลับมาถามผูใช้เพือยืนยันความถูกต้อง ภาษาธรรมชาติจะใช้ ระบบฐานความรู ้
                                ้ ่
(knowledge base system) ช่วยในการแปลความหมายของคาสังต่าง ๆ
                                                         ่

        ตัวอย่ างภาษาคอมพิวเตอร์

                                                                                          ั
       ปั จจุบนนี้มีภาษาคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้มากมายหลายภาษา แต่ละภาษาก็ถูกออกแบบมาให้ใช้กบ
              ั
งานด้านต่าง ๆ กัน ตัวอย่างเช่น บางภาษาก็ออกแบบมาให้ใช้แก้ปัญหาทางธุรกิจ บางภาษาก็ใช้ในการ
คานวณที่ซบซ้อน ซึ่งจะกล่าวโดยสรุ ปถึงการใช้งานของแต่ละภาษาดังนี้
           ั

             ภาษา BASIC

       เป็ นภาษาที่ใช้ง่าย และติดตั้งอยูบนเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมาก ใช้สาหรับผูเ้ ริ่ มต้นศึกษาการ
                                        ่
เขียนโปรแกรมและผูที่เขียนโปรแกรมเป็ นงานอดิเรก นิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมสั้น ๆ
                    ้

         ภาษา BASIC รุ่ นแรกใช้ interpreter เป็ นตัวแปลภาษา ทาให้เขียนโปรแกรม ทดสอบ และแก้ไข
โปรแกรมได้อย่างง่ายดาย แต่ก็ทางานได้ชา ทาให้ผที่เขียนโปรแกรมเชี่ยวชาญแล้วไม่นิยมใช้งาน แต่
                                         ้          ู้
ปั จจุบนนี้มีภาษา BASIC รุ่ นใหม่ออกมาซึ่งใช้ conplier เป็ นตัวแปลภาษา ทาให้ทางานได้คล่อ่งตัวขึ้น เช่น
       ั
Microsoft's Quick BASIC และ Visual Basic เป็ นต้น

             ภาษา COBOL

          เป็ นภาษาระดับสูงที่ออกแบบมาตั้งแต่ปีค.ศ. 1960 นิยมใช้สาหรับการแก้ปัญหาทางด้านธุรกิจ เช่น
การจัดเก็บ เรี ยกใช้ และประมวลผลทางด้านบัญชี ตลอดจนทางานด้านการควบคุมสินค้าคงคลัง การรับและ
จ่ายเงิน เป็ นต้น

          คาสังของภาษา COBOL จะคล้ายกับภาษาอังกฤษทาให้สามารถอ่านและเขียนโปรแกรมได้ไม่ยาก
              ่
นัก ในยุคแรก ๆ ภาษา COBOL จะได้รับความนิยมบนเครื่ องระดับเมนเฟรม แต่ปัจจุบนนี้จะมีตวแปลภาษา
                                                                                 ั         ั
COBOL ที่ใช้บนเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ดวย รวมทั้งมีภาษา COBOL ที่ได้รับการออกแบบตามแนวทาง
                                               ้
เชิงวัตถุ (Object Oriented) เรี ยกว่า Visual COBOLซึ่ งช่วยให้โปรแกรมสามารถทาได้ง่ายขึ้น และสามารถนา
โปรแกรมที่เขียนไว้มาใช้ในการพัฒนางานอื่น ๆ อีก
 ภาษา Fortran

        เป็ นภาษาระดับสูงที่ได้รับการพัฒนาโดยบริ ษท IBM ตั้งแต่ปีค.ศ. 1957 ย่อมาจากคาว่า FORmula
                                                  ั
TRANslator ซึ่งถือว่าเป็ นการกาเนิดของภาษาระดับสูงภาษาแรก นิยมใช้สาหรับงานที่มีการคานวณมาก ๆ
เช่น งานทางด้านคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ เป็ นต้น

            ภาษา Pascal

        เป็ นภาษาระดับสูงที่เอื้ออานวยให้ผูเ้ ขียนโปรแกรมเขียนโปรแกรมได้อย่างมีโครงสร้าง และเขียน
โปรแกรมได้ง่ายกว่าภาษาอื่น นิยมใช้บนเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ เป็ นภาษาสาหรับการเรี ยนการสอน และ
การเขียนโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ

         ภาษาปาสคาลมีตวแปลภาษาทั้งที่เป็ น interpreter และ Compiler โดยจะมีโปรแกรม
                         ั
เทอร์โบปาสคาล (Turbo Pascal) ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงทั้งในวงการศึกษาและธุรกิจ เนื่องจากได้รับการ
ปรับปรุ งให้ตวข้อเสี ยของภาษาปาสคาลรุ่ นแรก ๆ ออก
             ั

            ภาษา C และ C++

          ภาษา C ถูกพัฒนาขึ้นโดย ในปี ค.ศ. 1972 ที่หองปฏิบติการเบลล์ของบริ ษท AT&T เป็ นภาษาที่ใช้
                                                    ้     ั                 ั
                                                                    ่ ั
เขียนระบบปฏิบติการ UNIX ซึ่งเป็ นระบบปฏิบติการที่ได้รับความนิยมคูกบภาษาซี และมีการใช้งานอยูใน
                 ั                            ั                                                 ่
เครื่ องทุกระดับ

        ภาษา เป็ นภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมในหมู่นกเขียนโปรแกรมเป็ นอย่างมาก เนื่องจากภาษา
                                                        ั
จะเป็ นภาษาที่รวมเอกข้อดีของภาษาระดับสูงในเรื่ องของความยืดหยุนและไวยากรณ์ที่ง่ายต่อการเข้าใจ กับ
                                                              ่
ข้อดีของภาษาแอสเซมบลีในเรื่ องของประสิทธิภาพและความเร็วในการทางานทาให้โปรแกรมที่พฒนาด้วย ั
ภาษาซีทางานได้เร็วกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงอื่น ๆ ในขณะที่การพัฒนาและแก้ไขโปรแกรม
สามารถทาได้ง่ายเช่นเดียวกันภาษาระดับสูงทัว ๆ ไป นอกจากนี้ภาษา C ยังได้มีการพัฒนาก้าวหน้าขึ้นไปอีก
                                            ่
โดยทาการประยุกต์แนวความคิดของการโปรแกรมเชิงวัตถุเข้ามาใช้ในภาษา ทาให้เกิดเป็ นภาษาใหม่คือ
C++ (++ ในความหมายของภาษาซีคือการเพิมขึ้นอีกหนึ่งนันเอง) ซึ่งเป็ นภาษาที่ได้รับความนิยมใช้งาน
                                          ่           ่
พัฒนาโปรแกรมอย่างมาก

            ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming Language)

        นักเขียนโปรแกรมบางคนคิดว่าการเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่น้ น บางครั้งก็เป็ นงานที่หนักและ
                                                                  ั
เสียเวลามาก จึงได้พยายามคิดหาวิธีที่จะทาให้การเขียนโปรแกรมนั้นง่ายขึ้น และสามารถเขียนได้อย่าว
รวดเร็ ว ทาให้เกิดเทคนิค การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) หรื อ OOP เพือช่วยลด
                                                                                        ่
        ่
ความยุงยากของการเขียนโปรแกรม

      Object-Oriented Programming ต่างจากการเขียนโปรแกรมโดยทัว ๆ ไป โดยการเขียนโปรแกรม
                                                                    ่
ตามปกติน้ น ผูเ้ ขียนโปรแกรมจะพิจารณาถึงขั้นตอนการแก้ปัญหาของโปรแกรมเหล่านั้น แต่เทคนิคของ
          ั
OOPจะมองเป็ น วัตถุ (object) เช่น กล่องโต้ตอบ (dialog box) หรื อไอคอนบนจอภาพ เป็ นต้น โดยออบเจ็ค
ใดออบเจ็คหนึ่งจะทางานเฉพาะที่แน่นอน ถ้าผูใช้ตองการทางานชนิดนั้นก็สามารถคัดลอกไปใช้ใน
                                            ้ ้
โปรแกรมที่ตองการได้ทนที
            ้           ั




                                          โปรแกรมเดลไฟ

          หลักการของโปรแกรมเชิงวัตถุได้รับการพัฒนามาเป็ นเวลานานแล้ว โดยภาษาเริ่ มแรกคือ Simula-
67 ได้รับการพัฒนาขึ้นตั้งแต่ปี 1967 และต่อมาก็มีภาษา smalltalk ซึ่งเป็ นภาษาเชิงวัตถุเต็มรู ปแบบ
นอกจากนี้ หลักการของ OOP ยังได้รับการนไปเสริ มเข้ากับภาษาโปรแกรมในยุคที่ 3 คือ C จนเกิดเป็ นภาษา
ใหม่คือ C++ รวมทั้งยังมีการเสริ มเข้ากับ การโปรแกรมแบบภาพ (visual programming) ทาให้เกิด Visual
Basic ซึ่งมีรากฐานมาจาก BASIC และ Delphi ซึ่งมีรากฐานมาจาก Pascal นอกจากนี้ ในปั จจุบนจะมีภาษาที่
                                                                                              ั
ใช้หลักการโปรแกรมเชิงวัตถุตวใหม่ล่าสุดซึ่งกาลังมาแรงและมีแนวโน้มว่าจะได้รบความนิยมสูงคู่กน
                               ั                                                ั                ั
อินเตอร์เน็ต นันคือภาษา JAVA
               ่

             ภาษาที่ออกแบบมาสาหรับ OOP

            การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ที่มี การติดต่อกับผูใช้แบบกราฟฟิ ก (Graphical User
                                                        ้
Interface หรื อ GUI) เช่น Microsoft Windows และ World Wide Web จะสามารถทาได้ง่าย รวดเร็วและเสีย
ค่าใช้จ่ายไม่มากนัก ด้วยเครื่ องมือในการพัฒนาทีใช้หลักการของ OOP ซึ่งในปั จจุบนจะมีเครื่ องมือประเภท
                                                ่                             ั
นี้ที่ได้รับความนิยมอย่างมากอยู่ 2 ภาษา คือ Visual Basic และ JAVA
 Visual Basic

        ภาษา Visual Basic พัฒนาโดย Prof. Kemeny และ Kurtz ที่เมือง Dartmouth ในปี ค.ศ. 1960 โดยมี
จุดประสงค์สาหรับใช้สอนในห้องคอมพิวเตอร์ เมื่อมีการพัฒนาเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ข้ ึนในยุคแรก ๆ
จะมีหน่วยความจาไม่เพียงพอที่จะทางานกับโปรแกรมภาษาอื่น เช่น FORTRAN และ COBOL เพราะขนาด
ของตัวแปรภาษาซึ่งต้องใช้หน่วยความจาสูงมาก แต่เครื่ องเหล่านั้นสามารถใช้ภาษา BASIC ได้ เพราะภาษา
            ั                                             ้       ่
BASIC ใช้ตวแปลภาษาที่มีขนาดเล็ก และตัวแปลภาษานั้นไม่ตองเก็บอยูในหน่วยความจาทั้งหมดก็สามารถ
                                                                               ่
ทางานได้ เป็ นเหตุให้ภาษา BASIC ได้รับความนิยมบนเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ ไม่วาเครื่ อง
ไมโครคอมพิวเตอร์จะได้รับการพัฒนาสูงขึ้นในเรื่ องของความเร็วและหน่วยความจาเท่าใดก็ตาม แต่ภาษา
Visual Basic จะแตกต่างจากภาษา BASIC โดยสิ้ นเชิง ทั้งในแง่ของหน่วยความจาที่ตองการ และวิธีการ
                                                                             ้
พัฒนาโปรแกรม




                                        โปรแกรมวิชวลเบสิ ค

            ภาษา Visual Basic ได้รับการออกแบบและพัฒนาโดยบริ ษท Microsoft มีจุดประสงค์ในการใช้เป็ น
                                                                ั
    เครื่ องมือพัฒนาโปรแกรมที่มีการติดต่อบผูใช้เป็ นแบบกราฟฟิ ก โดยจะมีเครื่ องมื่อต่าง ๆ ที่ช่วยในการ
                                           ั ้
    พัฒนาโปรแกรมอย่างรวดเร็ ว หรื อที่นิยมเรี ยกว่า RAD (Repid Application Development) ปั จจุบนนี้มี
                                                                                                  ั
ผูใช้งานภาษา Visual Basic เป็ นจานวนมาก โดยภาษา Visual Basic ได้รับการออกแบบให้ทางานบนระบบ
  ้
    วินโดว์เวอร์ชนต่าง ๆ จากไมโครซอฟต์ เช่น Visual Basic 3 ทางานบนระบบวินโดว์ 3.11 ส่วน Visual
                  ั่
                              Basic 4 และ 5 ทางานบนระบบวินโดว์ 95 เป็ นต้น

            JAVA

        ภาษาใหม่ที่มาแรงที่สุดในปั จจุบน คงจะไม่มีภาษาไหนที่เทียบได้รบภาษาจาวาซึ่งได้รบการ
                                       ั                             ั                ั
พัฒนาขึ้นโดยบริ ษทซันไมโครซิสเตมส์ ในปี 1991 โดยมีเป้ าหมายที่จะสร้างผลิตภัณฑ์อิเล็คทรอนิกส์
                 ั
สาหรับผูบริ โภคที่ง่ายต่อการใช้ง่าย มีค่าใช้จ่ายต่า ไม่มีขอผิดพลาด และสามารถใช้กบเครื่ องใด ๆ ก็ได้ ซึ่ง
            ้                                             ้                      ั
              ็
สิ่งเหล่านี้กได้กลายเป็ นข้อดีของจาวาที่เหนื่อกว่าภาษาอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง การที่โปรแกรมซึ่ งเขียนขึ้น
                                                                             ่
                             ั
ด้วยจาวาสามารถนาไปใช้กบเครื่ องต่าง ๆ โดยไม่ตองทาการคอมไพล์โปรแกรมใหม่ ทาให้ไม่จากัดอยูกบ
                                                     ้                                              ่ั
                                    ่                                    ่ ั
เครื่ องหรื อโอเอสตัวใดตัวหนึ่ง แม้วาการใช้งานจาวาในช่วงแรกจะจากัดอยูกบ World Wide Web (WWW)
และ Internet แต่ในปั จจุบนได้มีการนาจาวาไปประยุกต์ใช้กบงานด้านซอฟต์แวร์ต่าง ๆ อย่างมากมาย ตั้งแต่
                           ั                                 ั
ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utility) ไปจนกระทังซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ เช่น โปรแกรมชุดจากบริ ษท Corel
                                                  ่                                             ั
ซึ่งประกอบด้วยโปรแกรมหลัก ๆ คือ โปรแกรมเวิร์โปรเซสซิ่ ง สเปรดซีต พรี เซนเตชัน ที่เขียนขึ้นด้วยจาวา
                                                                                    ่
ทั้งหมด

        จาวายังสามารถนาไปใช้เป็ นภาษาสาหรับอุปกรณ์แบบฝังต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ และอุปกรณ์ขนาด
มือถือแบบต่าง ๆ เป็ นต้น รวมทั้งยังได้รับความนิยมนาไปใช้กบอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเข้าสู่อินเตอร์เน็ตโดยไม่
                                                            ั
ต้องใช้คอมพิวเตอร์ นอกจากนี้แล้ว จาวายังเป็ นภาษาที่ถูกใช้งานในคอมพิวเตอร์แบบเอ็นซี (NC) ซึ่งเป็ น
คอมพิวเตอร์แบบใหม่ล่าสุด ที่เน้นการทางานเป็ นเครื อข่ายว่า แอพเพลต (applet) ที่ตองการใช้งานขณะนั้น
                                                                                ้
มาจากเครื่ องแม่ ทาให้การติดต่อสื่อสารสารผ่านเครื อข่ายใช้ช่องทางการสื่อสารน้อยกว่าการดึงมาทั้ง
โปรแกรมเป็ นอย่างมาก




                                       โปรแกรมพัฒนาภาษาจาวา

ตัวอย่ างการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

        ภาษาคอมพิวเตอร์แต่ละภาษาจะมีลกษณะ โครงสร้าง และหลักในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
                                     ั
แตกต่างกัน เครื่ องมือสาคัญในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมเอดิเตอร์ ใช้สาหรับแปลภาษา
คอมพิวเตอร์ที่เขียนให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และทางานตามที่เราต้องการ ในที่น้ ีจะยกตัวอย่างการเขียนภาษา
HTML ดังนี้
ลักษณะของภาษา HTML

          ภาษา HTML เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่ใช้โปรแกรมเท็กซ์เอดิเตอร์ (Text Editor) หรื อเวิร์ด
โพรเซสเซอร์ (Word Processor) เพือเขียนชุดคาสัง โดยไม่ตองติดตั้งโปรแกรมเอดิเตอร์อ่ืนๆ เพิมเติม โดย
                                ่            ่        ้                                 ่
ที่น้ ีจะเขียนภาษา HTML ด้วย Notepad

          ภาษา HTML คือ ภาษาที่ใช้สาหรับเขียนเว็บเพจ เพือนาไปแสดงผลบนเว็บเบราว์เซอร์ โดยจะต้องมี
                                                        ่
โครงสร้างของภาษา รู ปแบบของคาสังต่างๆ เพือให้เว็บเบราว์เซอร์สามารถเข้าใจและแสดงผลออกมาตามที่
                               ่         ่
ต้องการ

หลักการเขียนภาษา HTML

        การเปิ ดโปรแกรม Notepad ขึ้นมาทางานสามารถเปิ ดได้จากการคลิกที่ปม Start > Programs >
                                                                         ุ่
Accessories > Notepad หรื อจะใช้คาสังRun > Notepad ก็ได้เช่นเดียวกันซึ่งจะได้หน้าต่างการทางานดัง
                                    ่
ภาพล่าง




       ก่อนการใช้งานต้องมีการปรับแต่งฟอนต์อีกเล็กน้อย เพือให้สงเกตเห็นได้เมื่อมีการป้ อนข้อความ
                                                         ่    ั
ผิดพลาดในหน้าต่างโปรแกรม ด้วยการกาหนดให้ใช้ฟอนต์ MS Sans Serif ซึ่งพิมพ์อกษรไทยได้ ขนาด 10-
                                                                          ั
12 พอยต์ (แล้วแต่สายตาคนทามองได้ชดเจน ยิงโตมากพื้นที่การทางานก็จะลดลงต้องเลื่อนจอ (Scroll) ไป
                                  ั     ่
ทางขวามาก ดังภาพข้างล่างนี้
เทคนิคในการป้ อนข้อความคาสังต่างๆ ลงในโปรแกรม Notepad นั้นควรจะจัดแถวให้มีการเยืองใน
                                     ่                                                      ้
แต่ละคาสังเป็ นคู่ๆ เพือให้สามารถตรวจสอบคู่คาสังเปิ ด/ปิ ดได้ชดเจน แยกระหว่างส่วนคาสังและข้อความ
         ่             ่                       ่              ั                      ่
ออกจากกันจะดูได้ง่ายดังภาพล่างนี้




       การบันทึกข้ อมูล

          ที่สาคัญอย่างยิงคือการจัดเก็บไฟล์ (Save) เพราะ Notepad เป็ น Text Editor ค่าปกติของโปรแกรม
                         ่
เมื่อจัดเก็บไฟล์จะมีสกุลเป็ น .txt เสมอ เมื่อต้องการจัดเก็บเว็บเพจที่มีสกุลของไฟล์
เป็ น .htm หรื อ .html จะต้องเปลี่ยนชนิดของการจัดเก็บจาก Text Documents (*.txt) เป็ น All Files และ
กาหนดชื่อไฟล์พร้อมสกุลเป็ น .html ดังตัวอย่างกาหนดชื่อเป็ น notepad.html




       เมื่อจัดเก็บได้ถูกต้องบนแถบไตเติ้ลบาร์ของ Notepad จะปรากฏชื่อไฟล์เป็ น notepad.html ถูกต้อง
ดังภาพล่าง




         เมื่อใช้บราวเซอร์ Internet Explorer เปิ ดไฟล์ ถ้ามีการตั้งชื่อไฟล์และไม่เปลี่ยนชนิดไฟล์จะได้ไฟล์
ชื่อ notepad.txt ถ้ากาหนดชื่อและสกุลไฟล์ถูกต้องแต่ไม่เปลี่ยนชนิดไฟล์จะได้ไฟล์
ชื่อ nodepad.html.txt ดังวงกลมแดงในภาพซึ่งจะไม่สามารถแสดงผลได้      ต้องเปิ ดได้เฉพาะ
ไฟล์ notepad.html เท่านั้น




       การแสดงผลเว็บเพจ

       และนี่คือการสแดงผลจากไฟล์ที่เราจัดเก็บไว้ถูกต้องคือ notepad.html จะปรากฏข้อความบนไตเติ้ล
บาร์และในส่วนเนื้อหาถูกต้องตามที่เขียนทุกประการ
คาสั่ ง
คาสั่ งพืนฐาน
         ้

< !-- ข้อความ --> คาสัง หมายเหตุ ใช้อธิบายความหมาย ขื่อผูเ้ ขียนโปรแกรม และอื่นๆ
                       ่
<br> คาสังขึ้นบรรทัดใหม่
          ่
<p> ข้อความ </p> คาสังย่อหน้าใหม่
                         ่
<hr width = "50%" size = "3"> คาสัง ตีเส้น, กาหนดขนาดเส้น
                                         ่
&nbsp; คาสัง เพิมช่องว่าง
             ่ ่
<IMG SRC = "PHOTO.GIF"> คาสังแสดงรู ปภาพชื่อ Photo.gif
                                       ่
<CENTER> ข้อความ </CENTER> คาสังจัดให้ขอความอยูก่ ึงกลาง
                                           ่           ้  ่
<HTML> </HTML> คาสัง <HTML> คือคาสังเริ่ มต้นในการเขียนโปรแกรม HTML และมีคาสัง </HTML>
                               ่                   ่                                   ่
เพือบอกจุดสิ้นสุดโปรแกรม
    ่
                           ่                   ่                          ่                 ่
<HEAD> </HEAD> คาสัง <HEAD> คือคาสังบอกส่วนที่เป็ นชื่อเรื่ อง โดยมีคาสังย่อย <TITLE> อยูภายใน
<TITLE> </TITLE> คาสัง <TITLE> คือคาสังบอกชื่อเรื่ อง จะไปปรากฏที่ Title Bar
                             ่                   ่
<BODY> </BODY> คาสัง <BODY> คือคาสังบอกส่วนเนื้อเรื่ อง ที่จะถูกแสดงผลในเวปบราวเซอร์
                                 ่                   ่
ประกอบด้วยรู ปภาพ ตัวอักษร ตาราง เป็ นต้น
รู ปแบบตัวอักษร
<font size = "3"> ข้อความ </font> ขนาดตัวอักษร
<font color = "red"> ข้อความ </font> สีตวอักษร
                                             ั
<font face = "Arial"> ข้อความ </font> รู ปแบบตัวอักษร
<besefont size = "2"> ข้อความ </font> กาหนดค่าเริ่ มต้นของขนาดตัวอักษร
<b> ข้อความ </b> ตัวอักษรหนา
<i> ข้อความ </i> ตัวอักษรเอน
<u> ข้อความ </u> ขีดเส้นใต้ตวอักษร   ั
<tt> ข้อความ </tt> ตัวอักษรแบบพิมพ์ดีด
หมายเหตุ เราสามารถใช้คาสังกาหนดรู ปแบบตัวอักษร หลายๆรู ปแบบได้ เช่น
                                   ่
<font face = "Arial" size = "3" color = "red"> ข้อความ </font> เป็ นต้น
จุดเชื่อมโยงข้ อมูล
<a href ="#news"> Hot News </a> ,
<a name ="news">กาหนดจุดเชื่อมชื่อ news ส่วน "a name" คือตาแหน่งที่ลิงค์ไป (เอกสารเดียวกัน)
<a href ="news.html"> Hot News </a> สร้างลิงค์ไปยังเอกสารชื่อ "news.html"
<a href ="http://www.thai.com"> Thai </a> สร้างลิงค์ไปยังเว็บไซต์อื่น
<a href ="http://www.thai.com" target = "_blank" > Thai </a> สร้างลิงค์ไปยังเว็บไซต์อื่น และเปิ ดหน้าต่าง
ใหม่
<a href ="http://www.thai.com"> <img src = "photo.gif"> </a> สร้างลิงค์โดยใช้รูปภาพชื่อ photo.gif เป็ น
ตัวเชื่อม
<a href ="mailto:yo@mail.com"> Email </a> สร้างลิงค์มายังอีเมล์
การแสดงผลแบบรายการแบบมีหมายเลขกากับ
<OL value = "1" >
<LI> รายการที่ 1
<LI> รายการที่ 2
</OL>
การแสดงผลแบบรายการ ใช้คาสัง <OL> เป็ นเริ่ มและปิ ดท้ายด้วย
                                       ่
</OL> ส่วนคาสัง <LI> เป็ นตาแหน่งของรายการที่ตองการ
                    ่                                         ้
นาเสนอ เราสามารถกาหนดให้แสดงผลรายการได้หลายแบบเช่น
เรี ยงลาดับ 1,2,3... หรื อ I,II,III... หรื อ A,B,C,... ได้ท้งนี้จะต้อง
                                                            ั
เพิมคาสังเข้าไปที่ <OL value = "A"> เป็ นต้น
    ่      ่
การแสดงผลแบบรายการแบบมีสัญลักษณ์กากับ
<UL type = "square">
<LI> รายการที่ 1
<LI> รายการที่ 2
</UL>
การแสดงผลแบบรายการ ใช้คาสัง <UL> เป็ นเริ่ มและปิ ดท้ายด้วย
                                         ่
</UL> ส่วนคาสัง <LI> เป็ นตาแหน่งของรายการ ที่ตองการ
                      ่                                         ้
นาเสนอ เราสามารถกาหนดให้แสดงผลรายการแบบต่างๆ
ดังต่อไปนี้
- รู ปวงกลมทึบ "disc"
- รู ปวงกลมโปร่ ง "circle"
- รู ปสี่เหลี่ยม "square"
ทั้งนี้จะต้องเพิมคาสังเข้าไปที่ <UL type = "square"> เป็ นต้น
                 ่      ่
คาถามท้ ายบท

1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์หมายถึงข้อใด

       ก. ชุดคาสังที่ใช้สาหรับแสดงหรื อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์
                 ่

       ข. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ใช้สื่อสารระหว่างผูใช้คอมพิวเตอร์
                                                 ้

       ค. การสื่อสารข้อมูลหรื อการส่งข้อมูลจากผูนาเสนอไปยังผูรับ
                                                ้            ้

       ง. เป็ นข้อมูลพื้นฐานที่นิยมใช้ในการนาเสนองาน

2. นักพัฒนาคอมพิวเตอร์หรื อสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์คือใคร

       ก. โปรดิวเซอร์

       ข. ดีไซเนอร์

       ค. โปรแกรมเมอร์

       ง. ออแกไนเซอร์

3. ลาดับขั้นตอนของการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีกี่ข้นตอน
                                                   ั

       ก. 4             ข. 6            ค. 8            ง. 10

4. ภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งตามลักษณะของภาษาและการใช้งานได้กี่ประเภท

       ก. 2             ข. 3           ค. 4            ง. 5

5. ภาษาฟอร์แทรน เหมาะสาหรับการทางานด้านใด

       ก. พาณิ ชยศาสตร์และการบัญชี , เศรษฐศาสตร์ , สังคมศาสตร์

       ข. วิศวกรรมศาสตร์ , สถาปั ตยกรรมศาสตร์

       ค. รัฐศาสตร์ , นิติศาสตร์

       ง. วิทยาศาสตร์ , คณิ ตศาสตร์ , วิศวกรรมศาสตร์
6. ภาษา HTML เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่ใช้คู่กบโปรแกรมใด
                                                   ั

       ก. โปรแกรมเท็กซ์เอดิเตอร์(Text Editor) หรื อ เวิร์ดโพรเซอร์(Word processor)

       ข. Microsoft Word หรื อ Microsoft PowerPoint

       ค. เดลไฟ (Delphi)

       ง. วิชวลเบสิก (Visual Basic)

7. < br > เป็ นคาสังให้โปรแกรมภาษา HTML ทาอะไร
                   ่

       ก. คาสังย่อหน้าใหม่
              ่

       ข. คาสังเพิมช่องว่าง
              ่ ่

       ค. คาสังตีเส้น
              ่

       ง. คาสังขึ้นบรรทัดใหม่
              ่

8. การบันทึกไฟล์ ควรบันทึกเป็ นนามสกุลใด

       ก. .psd

       ข. .gif

       ค. .txt

       ง. .jpg

9. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใหม่ที่สุดในปั จจุบนคือภาษา
                                        ั

       ก. Visual Basic

       ข. JAVA

       ค. Pascal

       ง. Fortran
10. ภาษาคอมพิวเตอร์ในปั จจุบนมีถึงรุ่ นที่เท่าไหร่
                            ั

        ก. รุ่ น 5

        ข. รุ่ น 4

        ค. รุ่ น 3

        ง. รุ่ น 2
บรรณานุกรม
http://61.19.202.164/resource/courseware/problem/k02-02.html

http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/sub%20soft3.htm

http://course.eau.ac.th/course/.../คาสั่ ง%20HTMlL%20เบื้องต้น.pdf

http://school.obec.go.th/phusing/html/notepad.htm

หนังสือ รายวิชาพืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.5
                ้

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีปรียา พรมเสน
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5suparada
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์paveenada
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์tangonjr
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์cartoon656
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำShe's Mammai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sitanan Norapong
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างประวัติส่วนตัว
ตัวอย่างประวัติส่วนตัวตัวอย่างประวัติส่วนตัว
ตัวอย่างประวัติส่วนตัวAnussara Thathaisong
 
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้นความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้นโรงเรียนโยธินบำรุง
 

What's hot (20)

โครงงานหม่าล่า
โครงงานหม่าล่าโครงงานหม่าล่า
โครงงานหม่าล่า
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
ใบงาน1ประมวลผลคำ
ใบงาน1ประมวลผลคำใบงาน1ประมวลผลคำ
ใบงาน1ประมวลผลคำ
 
บทที่1 บทนำ 1
บทที่1 บทนำ 1บทที่1 บทนำ 1
บทที่1 บทนำ 1
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
ตัวอย่างประวัติส่วนตัว
ตัวอย่างประวัติส่วนตัวตัวอย่างประวัติส่วนตัว
ตัวอย่างประวัติส่วนตัว
 
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้นความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
 

Viewers also liked (9)

ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ความหมายของโปรแกรม Microsoft excel
ความหมายของโปรแกรม  Microsoft  excel ความหมายของโปรแกรม  Microsoft  excel
ความหมายของโปรแกรม Microsoft excel
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Microsoft word คำนำ
Microsoft word   คำนำMicrosoft word   คำนำ
Microsoft word คำนำ
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้าหน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
 
Lesson 6 การวาดรูปต่างๆ
Lesson 6 การวาดรูปต่างๆLesson 6 การวาดรูปต่างๆ
Lesson 6 การวาดรูปต่างๆ
 
คค
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Similar to โปรแกรมคอมพิวเตอร

การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007MMp'New Aukkaradet
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ B'Benz Sunisa
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 

Similar to โปรแกรมคอมพิวเตอร (20)

การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
K5
K5K5
K5
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 

More from Tay Atcharawan

การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2Tay Atcharawan
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2Tay Atcharawan
 

More from Tay Atcharawan (7)

Mymap
MymapMymap
Mymap
 
Netbeans
NetbeansNetbeans
Netbeans
 
It new dream
It new dreamIt new dream
It new dream
 
It news
It newsIt news
It news
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
 
Com
ComCom
Com
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
 

โปรแกรมคอมพิวเตอร

  • 1. รายงาน วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่ อง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย 1. นายศิวกร ชาติสิงหเดช เลขที่ 6 2. นายศุภชีพ กนกพัฒนากร เลขที่ 7 3. นายธนนนท์ สงเจริ ญ เลขที่ 12 4. นางสาวดลญา เหลืองทอง เลขที่ 17 5. นางสาวนพรัตน์ โชติกปฏิพทธ์ ั เลขที่ 19 6. นางสาวอัจฉราวรรณ ฉิ มพวัน เลขที่ 24 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 เสนอ อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี
  • 2. คานา กลุ่มของข้าพเจ้าจัดทารายงานเรื่ อง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ขึ้นเพื่อ ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่ องโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพิ่มเติม จากความรู ้ในห้องเรี ยน และความรู ้พ้ืนฐานที่มีอยู่ เนื้อหาก็จะเกี่ยวกับ ความหมายของโปรแกรม การแก้ไข้ปัญหา ภาษาของคอมพิวเตอร์ และ รายละเอียดอีกมากมาย กลุ่มของข้าพเจ้าหวังว่า รายงานเรื่ องโปรแกรม ่ ้ คอมพิวเตอร์ เล่มนี้จะมีประโยชน์ตอผูที่เปิ ดดู และเปิ ดอ่านไม่มากก็นอย ้ หากผิดพลาดประการใดขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย ้ คณะผูจดทา ้ั
  • 3. สารบัญ เรื่ อง หน้า  ความหมายและลักษณะของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3  วิเคราะห์ปัญหา 3  ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 3  การเขียนโปรแกรม 3  ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม 4  จัดทาเอกสารประกอบ 4  บารุ งรักษาโปรแกรม 5  ภาษาคอมพิวเตอร์ 5  ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์ 5  ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ 9  ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 13  ลักษณะของภาษา HTML 14  หลักการเขียนภาษา HTML 14  คาสัง ่ 18  คาถามท้ายบท 20  บรรณานุกรม 23
  • 4. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ความหมายและลักษณะของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Program Computer) คือ ชุดคาสังที่ใช้สาหรับแสดงและสื่อสารกับ ่ คอมพิวเตอร์ เพือให้คอมพิวเตอร์ทางานตามลาดับขั้นตอนที่เขียนไว้ในชุดคาสังนั้นๆ คาสังเหล่านี้นกพัฒนา ่ ่ ่ ั โปรแกรมหรื อโปรแกรมเมอร์ (Programmer) จะเขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามลาดับขั้นตอนของการ พัฒนาโปรแกรม ดังนี้ วิเคราะห์ ปัญหา การวิเคราะห์ปัญหา ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ 1. กาหนดวัตถุประสงค์ของงาน เพือพิจารณาว่าโปรแกรมต้องทาการประมวลผลอะไรบ้าง ่ 2. พิจารณาข้ อมูลนาเข้ า เพือให้ทราบว่าจะต้องนาข้อมูลอะไรเข้าคอมพิวเตอร์ ข้อมูลมีคุณสมบัติ ่ เป็ นอย่างไร ตลอดจนถึงลักษณะและรู ปแบบของข้อมูลที่จะนาเข้า 3. พิจารณาการประมวลผล เพือให้ทราบว่าโปรแกรมมีข้นตอนการประมวลผลอย่างไรและมีเงื่อน ่ ั ไปการประมวลผลอะไรบ้าง 4. พิจารณาข้ อสนเทศนาออก เพือให้ทราบว่ามีขอสนเทศอะไรที่จะแสดง ตลอดจนรู ปแบบและสื่อ ่ ้ ที่จะใช้ในการแสดงผล ออกแบบวิธีการแก้ ปัญหา การออกแบบขั้นตอนการทางานของโปรแกรมเป็ นขั้นตอนที่ใช้เป็ นแนวทางในการลงรหัสโปรแกรม ผูออกแบบขั้นตอนการทางานของโปรแกรมอาจใช้เครื่ องมือต่างๆ ช่วยในการออกแบบ อาทิเช่น คาสัง ้ ่ ลาลอง (Pseudocode) หรื อ ผังงาน (Flow chart) การออกแบบโปรแกรมนั้นไม่ตองพะวงกับรูปแบบคาสัง ้ ่ ภาษาคอมพิวเตอร์ แต่ให้มุ่งความสนใจไปที่ลาดับขั้นตอนในการประมวลผลของโปรแกรมเท่านั้น การเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมเป็ นการนาเอาผลลัพธ์ของการออกแบบโปรแกรม มาเปลี่ยนเป็ นโปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ผูเ้ ขียนโปรแกรมจะต้องให้ความสนใจต่อรู ปแบบคาสังและกฎเกณฑ์ ่ ของภาษาที่ใช้เพือให้การประมวลผลเป็ นไปตามผลลัพธ์ที่ได้ออกแบบไว้ นอกจากนั้นผูเ้ ขียนโปรแกรมควร ่ แทรกคาอธิบายการทางานต่าง ลงในโปรแกรมเพือให้โปรแกรมนั้นมีความกระจ่างชัดและง่ายต่อการ ่ ตรวจสอบและโปรแกรมนี้ยงใช้เป็ นส่วนหนึ่งของเอกสารประกอบ ั
  • 5. ทดสอบและแก้ ไขโปรแกรม การทดสอบโปรแกรมเป็ นการนาโปรแกรมที่ลงรหัสแล้วเข้าคอมพิวเตอร์ เพือตรวจสอบ ่ รู ปแบบกฎเกณฑ์ของภาษา และผลการทางานของโปรแกรมนั้น ถ้าพบว่ายังไม่ถกก็แก้ไขให้ถูกต้องต่อไป ู ขั้นตอนการทดสอบและแก้ไขโปรแกรม อาจแบ่งได้เป็ น 3 ขั้น 1. สร้างแฟ้ มเก็บโปรแกรมซึ่งส่วนใหญ่นิยมนาโปรแกรมเข้าผ่านทางแป้ นพิมพ์โดยใช้โปรแกรม ประมวลคา 2. ใช้ตวแปลภาษาคอมพิวเตอร์แปลโปรแกรมที่สร้างขึ้นเป็ นภาษาเครื่ อง โดยระหว่างการแปล ั จะมีการตรวจสอบความถูกต้องของรู ปแบบและกฎเกณฑ์ในการใช้ภาษา ถ้าคาสังใดมีรูปแบบไม่ ่ ถูกต้องก็จะแสดงข้อผิดพลาดออกมาเพือให้ผเู ้ ขียนนาไปแก้ไขต่อไป ถ้าไม่มีขอผิดพลาด เราจะ ่ ้ ได้โปรแกรมภาษาเครื่ องที่สามารถให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้ 3. ตรวจสอบความถูกต้องของการประมวลผลของโปรแกรม โปรแกรมที่ถูกต้องตามรู ปแบบและ กฎเกณฑ์ของภาษา แต่อาจให้ผลลัพธ์ของการประมวลผลไม่ถูกต้องก็ได้ ดังนั้นผูเ้ ขียนโปรแกรม จาเป็ นต้องตรวจสอบว่าโปรแกรมประมวลผลถูกต้องตามต้องการหรื อไม่ วิธีการหนึ่งก็คือ สมมติขอมูลตัวแทนจากข้อมูลจริ งนาไปให้โปรแกรมประมวลผลแล้วตรวจสอบผลลัพธ์วา ้ ่ ถูกต้องหรื อไม่ ถ้าพบว่าไม่ถูกต้องก็ตองดาเนินการแก้ไขโปรแกรมต่อไป การสมมติขอมูล ้ ้ ตัวแทนเพือการทดสอบเป็ นสิ่งที่มีความสาคัญเป็ นอย่างมาก ่ ลักษณะของข้อมูลตัวแทนที่ดี ควรจะสมมติท้งข้อมูลทีถูกต้องและข้อมูลที่ผดพลาด เพือทดสอบว่าโปรแกรมที่พฒนาขึ้น ั ่ ิ ่ ั สามารถครอบคลุมการปฏิบติงานในเงื่อนไขต่างๆได้ครบถ้วน นอกจากนี้อาจตรวจสอบการ ั ทางานของโปรแกรมด้วยการสมมติตวเองเป็ นคอมพิวเตอร์ทีจะประมวลผล แล้วทาตามคาสังที ั ่ ละคาสังของโปรแกรมนั้นๆ วิธีการนี้อาจทาได้ยากถ้าโปรแกรมมีขนาดใหญ่ หรื อมีการ ่ ประมวลผลที่ซบซ้อนั จัดทาเอกสารประกอบ การทาเอกสารประกอบโปรแกรมเป็ นงานที่สาคัญของการพัฒนาโปรแกรม เอกสารประกอบ ั โปรแกรมช่วยให้ผใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กบโปรแกรม ตลอดจนผลลัพธ์ที่จะได้ ู้ จากโปรแกรม การทาโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควรต้องทาเอกสารกากับ เพือใช้สาหรับการอ้างอิงเมื่อจะใช้ ่ งานโปรแกรมและเมื่อต้องการแก้ไขปรับปรุ งโปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมที่จดทา ั ควร ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
  • 6. 1. วัตถุประสงค์ 2. ประเภทและชนิดของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทใช้ในโปรแกรม ี่ 3. วิธีการใช้โปรแกรม 4. แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม 5. รายละเอียดโปรแกรม 6. ข้อมูลตัวแทนที่ใช้ทดสอบ 7. ผลลัพธ์ของการทดสอบ บารุงรักษาโปรแกรม เมี่อโปรแกรมผ่านการตรวจสอบตามขั้นตอนเรี ยบร้อยแล้ว และถูกนามาให้ผใช้ได้ใช้งาน ในช่วงแรก ู้ ผูใช้อาจจะยังไม่คุนเคยก็อาจทาให้เกิดปั ญหาขึ้นมาบ้าง ดังนั้นจึงต้องมีผคอยควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบ ้ ้ ู้ การทางาน การบารุ งรักษาโปรแกรมจึงเป็ นขั้นตอนที่ผเู ้ ขียนโปรแกรมต้องคอยเฝ้ าดูและหาข้อผิดพลาดของ โปรแกรมในระหว่างที่ผใช้ใช้งานโปรแกรม และปรับปรุ งโปรแกรมเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น หรื อในการใช้ ู้ งานโปรแกรมไปนานๆ ผูใช้อาจต้องการเปลี่ยนแปลงการทางานของระบบงานเดิมเพือให้เหมาะกับเหตุ- ้ ่ การณ์ นักเขียนโปรแกรมก็จะต้องคอยปรับปรุ งแก้ไขโปรแกรมตามความต้องการของผูใช้ที่เปลี่ยนแปลง ้ ไปนันเอง ่ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาคอมพิวเตอร์หรื อภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programming Language) มีพ้นฐานมา ื จากการเปิ ดและปิ ดกระแสไฟฟ้ า หรื อระบบเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 เรี ยงต่อกัน เพือแทนความหมายต่างๆ ่ ในคอมพิวเตอร์ ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์  ภาษาเครื่อง (Machine Language) ก่อนปี ค.ศ. 1952 มีภาษาคอมพิวเตอร์เพียงภาษาเดียวเท่านั้นคือ ภาษาเครื่ อง (Machine Language) ซึ่งเป็ นภาษาระดับต่าที่สุด เพราะใช้เลขฐานสองแทนข้อมูล และคาสังต่าง ๆ ทั้งหมดจะเป็ นภาษา ่
  • 7. ่ั ที่ข้ ึนอยูกบชนิดของเครื่ องคอมพิวเตอร์ หรื อหน่ วยประมวลผลที่ใช้ นันคือปต่ละเครื่ องก็จะมีรูปแบบของ ่ คาสังเฉพาะของตนเอง ซึ่งนักคานวณและนักเขียนโปรแกรมในสมัยก่อนต้องรู ้จกวิธีที่จะรวมตัวเลขเพือ ่ ั ่ ่ ่ แทนคาสังต่า ๆ ทาให้การเขียนโปรแกรมยุงยากมาก นักคอมพิวเตอร์จึงได้พฒนาภาษาแอสเซมบลีข้ นมา ั ึ เพือให้สามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ่  ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ต่อมาในปี ค.ศ. 1952 ได้มีการพัฒนาโปรแกรมภาษาระดับต่าตัวใหม่ ชื่อภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) โดยที่ภาษาแอสเซมบลีใช้รหัสเป็ นคาแทนคาสังภาษาเครื่ อง ทาให้นกเขียนโปรแกรม ่ ั สามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ถึงแม้วาการเขียนโปรแกรมจะยังไม่สะดวกเท่ากับการเขียนโปรแกรม ่ ภาษาอื่น ๆ ในสมัยนี้ แต่ถาเปรี ยบเทียบในสมัยนั้นก็ถือว่าเป็ นการพัฒนาไปสู่ยคของการเขียนโปรแกรม ้ ุ แบบใหม่ คือใช้สญลักษณ์แทนเลข 0 และ 1 ของภาษาเครื่ อง ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้จะเป็ นคาสังสั้น ๆ ที่จะได้ ั ่ ง่าย เรี ยกว่า นิมอนิกโคด (mnemonic code) เช่น สั ญลักษณ์นิวมอนิกโคด ความหมาย การบวก (Add) A การเปรี ยบเทียบ (Compare) C การคูณ (Muliply) MP การเก็บข้อมูลในหน่วยความจา STO (Store) ตัวอย่ างนิวมอนิกโคด ถึงแม้วานิวมอนิกโคดที่ใช้จะไม่ใช้คาในภาษาอังกฤษ แต่ก็เป็ นสัญลักษณ์ที่สื่อความหมายให้ผใช้ ่ ู้ สามารถจดจาได้ง่ายกว่าสัญลักษณ์เลข 0 และ 1 ผูเ้ ขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลียงสามารถกาหนดชื่อของ ั ที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจาเป็ นคาในภาษาอังกฤษ แทนที่จะเป็ นเลขที่ตาแหน่งในหน่วยความจา เช่น TOTAL , INCOME เป็ นต้น แต่ขอจากัดของภาษาภาษาแอสเซมบลี คือ จะแตกต่างกันไปในแต่ละเครื่ อง ้ เช่นเดียวกับภาษาเครื่ อง ผูเ้ ขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีตองใช้ แอสเซมเบลอ (Assembler) แปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็ น ้ ภาษาเครื่ อง เพือให้คอมพิวเตอร์ทางานตามต้องการ ่
  • 8.  ภาษาระดับสู ง (High Level Language) ในปี ค.ศ. 1960 ได้มีการพัฒนา ภาษาระดับสูง (High Level Language) ขึ้น ภาษาระดับสูงจะใช้คาใน ภาษาอังกฤษแทนคาสังต่าง ๆ รวมทั้งสามารถใช้นิพจน์ทางคณิ ตศาสตร์ได้ดวย ทาให้นกเขียนโปรแกรม ่ ้ ั สามารถใช้เวลามุ่งไปในการศึกษาถึงทางแก้ปัญหาเท่านั้น ไม่ตองเป็ นกังวลว่าคอมพิวเตอร์จะทางานอย่างไร ้ อีกต่อไป ภาษาระดับสูงนี้ถือว่าเป็ น ภาษายุคที่สาม (third-generation language) ซึ่งทาให้เกิดการประมวลผล ข้อมูลเพิมมากขึ้นอย่างมหาศาลระหว่างปี ค.ศ. 1960 ถึง ค.ศ. 1970 และมีผหนมาใช้คอมพิวเตอร์กนมากขึ้น ่ ู้ ั ั โดยสังเกตได้จามเครื่ องเมนเฟรมจากจานวนร้อยเครื่ องเพิมขึ้นเป็ นหมื่นเครื่ อง อย่างไรก็ตาม ภาษาระดับสูง ่ ก็ยงคงต้องการตัวแปลภาษาให้เป็ นภาษาเครื่ องเพือสังให้เครื่ องทางานต่อไป ตัวแปลภาษาที่นิยมใช้งานกัน ั ่ ่ โดยทัวไปจะเป็ นแบบคอมไพเลอร์ ซึ่งแต่ละภาษาก็มีคอมไพเลอร์ไม่เหมือนกัน รวมทั้งคอมไพเลอร์แต่ละ ่ ตัวก็จะต่างกันไปบนเครื่ องแต่ละชนิดด้วย เช่น ถ้าเขียนโปรแกรมภาษา COBOL บนเครื่ อง ไมโครคอมพิวเตอร์ ก็จะต้องเลือกใช้คอมไพเลอร์ภาษา COBOL ที่ทางานบนเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่ง การเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งภาษาใดบนเครื่ องที่ต่างกันอาจจะแตกต่างกันได้ เพราะคอมไพเลอร์ที่ใช้ ต่างกันนันเอง ่ ภาษาคอมพิวเตอร์บางภาษาได้ถูออแบบมาให้ใช้แก้ปัญหางานเฉพาะบางอย่าง เช่น การควบคุม หุ่นยนต์ การสร้างภาพกราฟฟิ ก เป็ นต้น แต่ภาษาคอมพิวเตอร์โดยมากจะมีความยืดหยุนให้ใช้งานทัว ๆ ไป ่ ่ ได้ เช่น ภาษา BASIC ภาษา COBOL หรื อภาษา FORTRAN เป็ นต้น และนอกจากนี้ยงมีภาษา C ที่ได้รับ ั ความนิยมมากเช่นกัน  ภาษาระดับสู งมาก (Very high-level Language) เป็ นภาษายุคที่ 4 (fourth-generation language) หรื อ 4GLs จะเป็ นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมได้ส้ น ั กว่าภาษาในยุคก่อน ๆ การทางานบางอย่างสามารถใช้เพียง 5 ถึง 10 บรรทัดเท่านั้น ในขณะที่ถาเขียนด้วย ้ ภาษา อาจต้องใช้ถึง 100 บรรทัด โดยพื้นฐานแล้ว ภาษาในยุคที่ 4 นี้มีคุณสมบัติที่แยกจากภาษาใยุคก่อน ๆ อย่างชัดเจน กล่าวคือภาษาในยุคก่อนนั้นใช้หลักการของ การเขียนโปรแกรมแบบโพรซีเยอร์ (procedurl language) ในขณะที่ภาษาในยุคที่ 4 จะเป็ นแบบ ไม่ใช้โพรซีเยอร์ (nonprocedurl language) ผูเ้ ขียนโปรแกรม เพียงแต่กาหนดว่าต้องการให้โปรแกรมทาอะไรบ้างก็สามารถเขียนโปรแกรมได้ทนที โดยไม่ตองทราบว่า ั ้ ทาได้อย่างไร ทาให้การเขียนโปรแกรมสามารถทาได้ง่ายและรวดเร็ว มีนกเขียโปรแกรมกล่าวว่า ถ้าใช้ภาษาในยุคที่ 4 นี้เขียนโปรแกรมจะทาให้ได้งานที่เพิมขึ้นถึงสิบ ั ่ เท่าตัว ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการพิมพ์รายงานแสดงจานวนรายการสินต้าที่ขายให้ลูกค้าแต่ละคนในหนึ่งเดือน
  • 9. โดยให้แสดงยอดรวมของลูกค้าแต่ละคน และให้ข้ ึนหน้าใหม่สาหรับการพิมพ์รายงานลูกค้าแต่ละคน จะ เขียนโดยใช้ภาษาในยุคที่ 4 ได้ดงนี้ ั TABLE FILE SALES SUM UNIT BY MONTH BY CUSTOMER BY PROJECT ON CUSTOMER SUBTOTAL PAGE BREAK END ่ จากตัวอย่างจะเห็นได้วาเป็ นงานที่ซบซ้อน ซึ่งถ้าใข้ภาษา COBOL เขียนอาจจะต้องใช้ถึง 500 คาสัง ั ่ แต่ถาใช้ภาษาในยุคที่ 4 นี้จะเป็ นสิ่งที่ทาได้ไม่ยากเลย ้ ข้ อดีของภาษาในยุคที่ 4  การเขียนโปรแกรมจะเน้นที่ผลของงานว่าต้องการอะไร ไม่สนใจว่าจะทาได้อย่างไร  ช่วยพัฒนาเนื้องาน เพราะเขียนและแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย ้ ่ ้  ไม่ตองเสียเวลาอบรมผูเ้ ขียนโปรแกรมมากนัก ไม่วาผูที่จะมาเขียนโปรแกรมนั้นมีความรู ้ดานการ ้ เขียนโปรแกรมหรื อไม่  ผูเ้ ขียนโปรแกรมไม่ตองทราบถึงฮาร์ดแวร์ของเครื่ องและโครงสร้างโปรแกรม ้ ภาษาในยุคที่ 4 นี้ยงมีภาษาที่ใช้สาหรับเรี ยกดูขอมูลจากฐานข้อมูลได้ เรี ยกว่า ภาษาเรี ยกค้นข้อมูล ั ้ (query language) โดยปกติแล้วการเก็บข้อมูลลงในฐานข้อมูล และการแสดงรายงานจากฐานข้อมูล จะต้องมี การวางแผนไว้ล่วงหน้า แต่บางครั้งอาจมีการเรี ยกดูขอมูลพิเศษที่ไม่ได้มีการวางแผนไว้ ถ้าผูใช้เรี ยนรู ้ภาษา ้ ้ เรี ยกค้นข้อมูลก็จะขอดูรายงานต่าง ๆ นอกเหนือจากที่ได้มีการวางแผนไว้ได้โดยใช้เวลาไม่มากนัก ภาษา เรี ยกค้นข้อมูลที่เป็ นมาตรฐานเรี ยกว่าSQL (Structured Query Language) และนอกจากนี้ยงมีภาษา Query Bu ั Example หรื อ QBE ที่ได้รับความนิยมการใช้งานมากเช่นกัน  ภาษาธรรมชาติ (Nature Language) เป็ น ภาษายุคที่ 5 (fifth generation language) หรื อ 5GLs ธรรมชาติหมายถึงธรรมชาติของมนุษย์ คือ ไม่ตองสนใจถึงคาสังหรื อลาดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ผูใช้เพียงแต่พมพ์สิ่งที่ตองการลงในเครื่ องคอมพิวเตอร์ ้ ่ ้ ิ ้ เป็ นคาหรื อประโยคตามที่ผใช้เข้าใจ ซึ่งจะทาให้มีรูปแบบของคาสังหรื อประโยคที่แตกต่างกันออกไปได้ ู้ ่ ้ ่ มากมาย เพราะผูใช้แต่ละคนอาจจะใช้ประโยคต่างกัน ใช้คาศัพท์ตางกัน หรื อแม้กระทังบางคนอาจจะใช้ ่
  • 10. ศัพท์แสลงก็ได้ คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคาหรื อประโยคเหล่านั้นตามคาสัง แต่ถาไม่สามารถแปลให้ ่ ้ เข้าใจได้ ก็จะมีคาถามกลับมาถามผูใช้เพือยืนยันความถูกต้อง ภาษาธรรมชาติจะใช้ ระบบฐานความรู ้ ้ ่ (knowledge base system) ช่วยในการแปลความหมายของคาสังต่าง ๆ ่ ตัวอย่ างภาษาคอมพิวเตอร์ ั ปั จจุบนนี้มีภาษาคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้มากมายหลายภาษา แต่ละภาษาก็ถูกออกแบบมาให้ใช้กบ ั งานด้านต่าง ๆ กัน ตัวอย่างเช่น บางภาษาก็ออกแบบมาให้ใช้แก้ปัญหาทางธุรกิจ บางภาษาก็ใช้ในการ คานวณที่ซบซ้อน ซึ่งจะกล่าวโดยสรุ ปถึงการใช้งานของแต่ละภาษาดังนี้ ั  ภาษา BASIC เป็ นภาษาที่ใช้ง่าย และติดตั้งอยูบนเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมาก ใช้สาหรับผูเ้ ริ่ มต้นศึกษาการ ่ เขียนโปรแกรมและผูที่เขียนโปรแกรมเป็ นงานอดิเรก นิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมสั้น ๆ ้ ภาษา BASIC รุ่ นแรกใช้ interpreter เป็ นตัวแปลภาษา ทาให้เขียนโปรแกรม ทดสอบ และแก้ไข โปรแกรมได้อย่างง่ายดาย แต่ก็ทางานได้ชา ทาให้ผที่เขียนโปรแกรมเชี่ยวชาญแล้วไม่นิยมใช้งาน แต่ ้ ู้ ปั จจุบนนี้มีภาษา BASIC รุ่ นใหม่ออกมาซึ่งใช้ conplier เป็ นตัวแปลภาษา ทาให้ทางานได้คล่อ่งตัวขึ้น เช่น ั Microsoft's Quick BASIC และ Visual Basic เป็ นต้น  ภาษา COBOL เป็ นภาษาระดับสูงที่ออกแบบมาตั้งแต่ปีค.ศ. 1960 นิยมใช้สาหรับการแก้ปัญหาทางด้านธุรกิจ เช่น การจัดเก็บ เรี ยกใช้ และประมวลผลทางด้านบัญชี ตลอดจนทางานด้านการควบคุมสินค้าคงคลัง การรับและ จ่ายเงิน เป็ นต้น คาสังของภาษา COBOL จะคล้ายกับภาษาอังกฤษทาให้สามารถอ่านและเขียนโปรแกรมได้ไม่ยาก ่ นัก ในยุคแรก ๆ ภาษา COBOL จะได้รับความนิยมบนเครื่ องระดับเมนเฟรม แต่ปัจจุบนนี้จะมีตวแปลภาษา ั ั COBOL ที่ใช้บนเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ดวย รวมทั้งมีภาษา COBOL ที่ได้รับการออกแบบตามแนวทาง ้ เชิงวัตถุ (Object Oriented) เรี ยกว่า Visual COBOLซึ่ งช่วยให้โปรแกรมสามารถทาได้ง่ายขึ้น และสามารถนา โปรแกรมที่เขียนไว้มาใช้ในการพัฒนางานอื่น ๆ อีก
  • 11.  ภาษา Fortran เป็ นภาษาระดับสูงที่ได้รับการพัฒนาโดยบริ ษท IBM ตั้งแต่ปีค.ศ. 1957 ย่อมาจากคาว่า FORmula ั TRANslator ซึ่งถือว่าเป็ นการกาเนิดของภาษาระดับสูงภาษาแรก นิยมใช้สาหรับงานที่มีการคานวณมาก ๆ เช่น งานทางด้านคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ เป็ นต้น  ภาษา Pascal เป็ นภาษาระดับสูงที่เอื้ออานวยให้ผูเ้ ขียนโปรแกรมเขียนโปรแกรมได้อย่างมีโครงสร้าง และเขียน โปรแกรมได้ง่ายกว่าภาษาอื่น นิยมใช้บนเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ เป็ นภาษาสาหรับการเรี ยนการสอน และ การเขียนโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ภาษาปาสคาลมีตวแปลภาษาทั้งที่เป็ น interpreter และ Compiler โดยจะมีโปรแกรม ั เทอร์โบปาสคาล (Turbo Pascal) ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงทั้งในวงการศึกษาและธุรกิจ เนื่องจากได้รับการ ปรับปรุ งให้ตวข้อเสี ยของภาษาปาสคาลรุ่ นแรก ๆ ออก ั  ภาษา C และ C++ ภาษา C ถูกพัฒนาขึ้นโดย ในปี ค.ศ. 1972 ที่หองปฏิบติการเบลล์ของบริ ษท AT&T เป็ นภาษาที่ใช้ ้ ั ั ่ ั เขียนระบบปฏิบติการ UNIX ซึ่งเป็ นระบบปฏิบติการที่ได้รับความนิยมคูกบภาษาซี และมีการใช้งานอยูใน ั ั ่ เครื่ องทุกระดับ ภาษา เป็ นภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมในหมู่นกเขียนโปรแกรมเป็ นอย่างมาก เนื่องจากภาษา ั จะเป็ นภาษาที่รวมเอกข้อดีของภาษาระดับสูงในเรื่ องของความยืดหยุนและไวยากรณ์ที่ง่ายต่อการเข้าใจ กับ ่ ข้อดีของภาษาแอสเซมบลีในเรื่ องของประสิทธิภาพและความเร็วในการทางานทาให้โปรแกรมที่พฒนาด้วย ั ภาษาซีทางานได้เร็วกว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงอื่น ๆ ในขณะที่การพัฒนาและแก้ไขโปรแกรม สามารถทาได้ง่ายเช่นเดียวกันภาษาระดับสูงทัว ๆ ไป นอกจากนี้ภาษา C ยังได้มีการพัฒนาก้าวหน้าขึ้นไปอีก ่ โดยทาการประยุกต์แนวความคิดของการโปรแกรมเชิงวัตถุเข้ามาใช้ในภาษา ทาให้เกิดเป็ นภาษาใหม่คือ C++ (++ ในความหมายของภาษาซีคือการเพิมขึ้นอีกหนึ่งนันเอง) ซึ่งเป็ นภาษาที่ได้รับความนิยมใช้งาน ่ ่ พัฒนาโปรแกรมอย่างมาก  ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming Language) นักเขียนโปรแกรมบางคนคิดว่าการเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่น้ น บางครั้งก็เป็ นงานที่หนักและ ั เสียเวลามาก จึงได้พยายามคิดหาวิธีที่จะทาให้การเขียนโปรแกรมนั้นง่ายขึ้น และสามารถเขียนได้อย่าว
  • 12. รวดเร็ ว ทาให้เกิดเทคนิค การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) หรื อ OOP เพือช่วยลด ่ ่ ความยุงยากของการเขียนโปรแกรม Object-Oriented Programming ต่างจากการเขียนโปรแกรมโดยทัว ๆ ไป โดยการเขียนโปรแกรม ่ ตามปกติน้ น ผูเ้ ขียนโปรแกรมจะพิจารณาถึงขั้นตอนการแก้ปัญหาของโปรแกรมเหล่านั้น แต่เทคนิคของ ั OOPจะมองเป็ น วัตถุ (object) เช่น กล่องโต้ตอบ (dialog box) หรื อไอคอนบนจอภาพ เป็ นต้น โดยออบเจ็ค ใดออบเจ็คหนึ่งจะทางานเฉพาะที่แน่นอน ถ้าผูใช้ตองการทางานชนิดนั้นก็สามารถคัดลอกไปใช้ใน ้ ้ โปรแกรมที่ตองการได้ทนที ้ ั โปรแกรมเดลไฟ หลักการของโปรแกรมเชิงวัตถุได้รับการพัฒนามาเป็ นเวลานานแล้ว โดยภาษาเริ่ มแรกคือ Simula- 67 ได้รับการพัฒนาขึ้นตั้งแต่ปี 1967 และต่อมาก็มีภาษา smalltalk ซึ่งเป็ นภาษาเชิงวัตถุเต็มรู ปแบบ นอกจากนี้ หลักการของ OOP ยังได้รับการนไปเสริ มเข้ากับภาษาโปรแกรมในยุคที่ 3 คือ C จนเกิดเป็ นภาษา ใหม่คือ C++ รวมทั้งยังมีการเสริ มเข้ากับ การโปรแกรมแบบภาพ (visual programming) ทาให้เกิด Visual Basic ซึ่งมีรากฐานมาจาก BASIC และ Delphi ซึ่งมีรากฐานมาจาก Pascal นอกจากนี้ ในปั จจุบนจะมีภาษาที่ ั ใช้หลักการโปรแกรมเชิงวัตถุตวใหม่ล่าสุดซึ่งกาลังมาแรงและมีแนวโน้มว่าจะได้รบความนิยมสูงคู่กน ั ั ั อินเตอร์เน็ต นันคือภาษา JAVA ่  ภาษาที่ออกแบบมาสาหรับ OOP การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ที่มี การติดต่อกับผูใช้แบบกราฟฟิ ก (Graphical User ้ Interface หรื อ GUI) เช่น Microsoft Windows และ World Wide Web จะสามารถทาได้ง่าย รวดเร็วและเสีย ค่าใช้จ่ายไม่มากนัก ด้วยเครื่ องมือในการพัฒนาทีใช้หลักการของ OOP ซึ่งในปั จจุบนจะมีเครื่ องมือประเภท ่ ั นี้ที่ได้รับความนิยมอย่างมากอยู่ 2 ภาษา คือ Visual Basic และ JAVA
  • 13.  Visual Basic ภาษา Visual Basic พัฒนาโดย Prof. Kemeny และ Kurtz ที่เมือง Dartmouth ในปี ค.ศ. 1960 โดยมี จุดประสงค์สาหรับใช้สอนในห้องคอมพิวเตอร์ เมื่อมีการพัฒนาเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ข้ ึนในยุคแรก ๆ จะมีหน่วยความจาไม่เพียงพอที่จะทางานกับโปรแกรมภาษาอื่น เช่น FORTRAN และ COBOL เพราะขนาด ของตัวแปรภาษาซึ่งต้องใช้หน่วยความจาสูงมาก แต่เครื่ องเหล่านั้นสามารถใช้ภาษา BASIC ได้ เพราะภาษา ั ้ ่ BASIC ใช้ตวแปลภาษาที่มีขนาดเล็ก และตัวแปลภาษานั้นไม่ตองเก็บอยูในหน่วยความจาทั้งหมดก็สามารถ ่ ทางานได้ เป็ นเหตุให้ภาษา BASIC ได้รับความนิยมบนเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ ไม่วาเครื่ อง ไมโครคอมพิวเตอร์จะได้รับการพัฒนาสูงขึ้นในเรื่ องของความเร็วและหน่วยความจาเท่าใดก็ตาม แต่ภาษา Visual Basic จะแตกต่างจากภาษา BASIC โดยสิ้ นเชิง ทั้งในแง่ของหน่วยความจาที่ตองการ และวิธีการ ้ พัฒนาโปรแกรม โปรแกรมวิชวลเบสิ ค ภาษา Visual Basic ได้รับการออกแบบและพัฒนาโดยบริ ษท Microsoft มีจุดประสงค์ในการใช้เป็ น ั เครื่ องมือพัฒนาโปรแกรมที่มีการติดต่อบผูใช้เป็ นแบบกราฟฟิ ก โดยจะมีเครื่ องมื่อต่าง ๆ ที่ช่วยในการ ั ้ พัฒนาโปรแกรมอย่างรวดเร็ ว หรื อที่นิยมเรี ยกว่า RAD (Repid Application Development) ปั จจุบนนี้มี ั ผูใช้งานภาษา Visual Basic เป็ นจานวนมาก โดยภาษา Visual Basic ได้รับการออกแบบให้ทางานบนระบบ ้ วินโดว์เวอร์ชนต่าง ๆ จากไมโครซอฟต์ เช่น Visual Basic 3 ทางานบนระบบวินโดว์ 3.11 ส่วน Visual ั่ Basic 4 และ 5 ทางานบนระบบวินโดว์ 95 เป็ นต้น  JAVA ภาษาใหม่ที่มาแรงที่สุดในปั จจุบน คงจะไม่มีภาษาไหนที่เทียบได้รบภาษาจาวาซึ่งได้รบการ ั ั ั พัฒนาขึ้นโดยบริ ษทซันไมโครซิสเตมส์ ในปี 1991 โดยมีเป้ าหมายที่จะสร้างผลิตภัณฑ์อิเล็คทรอนิกส์ ั
  • 14. สาหรับผูบริ โภคที่ง่ายต่อการใช้ง่าย มีค่าใช้จ่ายต่า ไม่มีขอผิดพลาด และสามารถใช้กบเครื่ องใด ๆ ก็ได้ ซึ่ง ้ ้ ั ็ สิ่งเหล่านี้กได้กลายเป็ นข้อดีของจาวาที่เหนื่อกว่าภาษาอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง การที่โปรแกรมซึ่ งเขียนขึ้น ่ ั ด้วยจาวาสามารถนาไปใช้กบเครื่ องต่าง ๆ โดยไม่ตองทาการคอมไพล์โปรแกรมใหม่ ทาให้ไม่จากัดอยูกบ ้ ่ั ่ ่ ั เครื่ องหรื อโอเอสตัวใดตัวหนึ่ง แม้วาการใช้งานจาวาในช่วงแรกจะจากัดอยูกบ World Wide Web (WWW) และ Internet แต่ในปั จจุบนได้มีการนาจาวาไปประยุกต์ใช้กบงานด้านซอฟต์แวร์ต่าง ๆ อย่างมากมาย ตั้งแต่ ั ั ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utility) ไปจนกระทังซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ เช่น โปรแกรมชุดจากบริ ษท Corel ่ ั ซึ่งประกอบด้วยโปรแกรมหลัก ๆ คือ โปรแกรมเวิร์โปรเซสซิ่ ง สเปรดซีต พรี เซนเตชัน ที่เขียนขึ้นด้วยจาวา ่ ทั้งหมด จาวายังสามารถนาไปใช้เป็ นภาษาสาหรับอุปกรณ์แบบฝังต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ และอุปกรณ์ขนาด มือถือแบบต่าง ๆ เป็ นต้น รวมทั้งยังได้รับความนิยมนาไปใช้กบอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเข้าสู่อินเตอร์เน็ตโดยไม่ ั ต้องใช้คอมพิวเตอร์ นอกจากนี้แล้ว จาวายังเป็ นภาษาที่ถูกใช้งานในคอมพิวเตอร์แบบเอ็นซี (NC) ซึ่งเป็ น คอมพิวเตอร์แบบใหม่ล่าสุด ที่เน้นการทางานเป็ นเครื อข่ายว่า แอพเพลต (applet) ที่ตองการใช้งานขณะนั้น ้ มาจากเครื่ องแม่ ทาให้การติดต่อสื่อสารสารผ่านเครื อข่ายใช้ช่องทางการสื่อสารน้อยกว่าการดึงมาทั้ง โปรแกรมเป็ นอย่างมาก โปรแกรมพัฒนาภาษาจาวา ตัวอย่ างการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์แต่ละภาษาจะมีลกษณะ โครงสร้าง และหลักในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ั แตกต่างกัน เครื่ องมือสาคัญในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมเอดิเตอร์ ใช้สาหรับแปลภาษา คอมพิวเตอร์ที่เขียนให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และทางานตามที่เราต้องการ ในที่น้ ีจะยกตัวอย่างการเขียนภาษา HTML ดังนี้
  • 15. ลักษณะของภาษา HTML ภาษา HTML เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่ใช้โปรแกรมเท็กซ์เอดิเตอร์ (Text Editor) หรื อเวิร์ด โพรเซสเซอร์ (Word Processor) เพือเขียนชุดคาสัง โดยไม่ตองติดตั้งโปรแกรมเอดิเตอร์อ่ืนๆ เพิมเติม โดย ่ ่ ้ ่ ที่น้ ีจะเขียนภาษา HTML ด้วย Notepad ภาษา HTML คือ ภาษาที่ใช้สาหรับเขียนเว็บเพจ เพือนาไปแสดงผลบนเว็บเบราว์เซอร์ โดยจะต้องมี ่ โครงสร้างของภาษา รู ปแบบของคาสังต่างๆ เพือให้เว็บเบราว์เซอร์สามารถเข้าใจและแสดงผลออกมาตามที่ ่ ่ ต้องการ หลักการเขียนภาษา HTML การเปิ ดโปรแกรม Notepad ขึ้นมาทางานสามารถเปิ ดได้จากการคลิกที่ปม Start > Programs > ุ่ Accessories > Notepad หรื อจะใช้คาสังRun > Notepad ก็ได้เช่นเดียวกันซึ่งจะได้หน้าต่างการทางานดัง ่ ภาพล่าง ก่อนการใช้งานต้องมีการปรับแต่งฟอนต์อีกเล็กน้อย เพือให้สงเกตเห็นได้เมื่อมีการป้ อนข้อความ ่ ั ผิดพลาดในหน้าต่างโปรแกรม ด้วยการกาหนดให้ใช้ฟอนต์ MS Sans Serif ซึ่งพิมพ์อกษรไทยได้ ขนาด 10- ั 12 พอยต์ (แล้วแต่สายตาคนทามองได้ชดเจน ยิงโตมากพื้นที่การทางานก็จะลดลงต้องเลื่อนจอ (Scroll) ไป ั ่ ทางขวามาก ดังภาพข้างล่างนี้
  • 16. เทคนิคในการป้ อนข้อความคาสังต่างๆ ลงในโปรแกรม Notepad นั้นควรจะจัดแถวให้มีการเยืองใน ่ ้ แต่ละคาสังเป็ นคู่ๆ เพือให้สามารถตรวจสอบคู่คาสังเปิ ด/ปิ ดได้ชดเจน แยกระหว่างส่วนคาสังและข้อความ ่ ่ ่ ั ่ ออกจากกันจะดูได้ง่ายดังภาพล่างนี้ การบันทึกข้ อมูล ที่สาคัญอย่างยิงคือการจัดเก็บไฟล์ (Save) เพราะ Notepad เป็ น Text Editor ค่าปกติของโปรแกรม ่ เมื่อจัดเก็บไฟล์จะมีสกุลเป็ น .txt เสมอ เมื่อต้องการจัดเก็บเว็บเพจที่มีสกุลของไฟล์
  • 17. เป็ น .htm หรื อ .html จะต้องเปลี่ยนชนิดของการจัดเก็บจาก Text Documents (*.txt) เป็ น All Files และ กาหนดชื่อไฟล์พร้อมสกุลเป็ น .html ดังตัวอย่างกาหนดชื่อเป็ น notepad.html เมื่อจัดเก็บได้ถูกต้องบนแถบไตเติ้ลบาร์ของ Notepad จะปรากฏชื่อไฟล์เป็ น notepad.html ถูกต้อง ดังภาพล่าง เมื่อใช้บราวเซอร์ Internet Explorer เปิ ดไฟล์ ถ้ามีการตั้งชื่อไฟล์และไม่เปลี่ยนชนิดไฟล์จะได้ไฟล์ ชื่อ notepad.txt ถ้ากาหนดชื่อและสกุลไฟล์ถูกต้องแต่ไม่เปลี่ยนชนิดไฟล์จะได้ไฟล์
  • 18. ชื่อ nodepad.html.txt ดังวงกลมแดงในภาพซึ่งจะไม่สามารถแสดงผลได้ ต้องเปิ ดได้เฉพาะ ไฟล์ notepad.html เท่านั้น การแสดงผลเว็บเพจ และนี่คือการสแดงผลจากไฟล์ที่เราจัดเก็บไว้ถูกต้องคือ notepad.html จะปรากฏข้อความบนไตเติ้ล บาร์และในส่วนเนื้อหาถูกต้องตามที่เขียนทุกประการ
  • 19. คาสั่ ง คาสั่ งพืนฐาน ้ < !-- ข้อความ --> คาสัง หมายเหตุ ใช้อธิบายความหมาย ขื่อผูเ้ ขียนโปรแกรม และอื่นๆ ่ <br> คาสังขึ้นบรรทัดใหม่ ่ <p> ข้อความ </p> คาสังย่อหน้าใหม่ ่ <hr width = "50%" size = "3"> คาสัง ตีเส้น, กาหนดขนาดเส้น ่ &nbsp; คาสัง เพิมช่องว่าง ่ ่ <IMG SRC = "PHOTO.GIF"> คาสังแสดงรู ปภาพชื่อ Photo.gif ่ <CENTER> ข้อความ </CENTER> คาสังจัดให้ขอความอยูก่ ึงกลาง ่ ้ ่ <HTML> </HTML> คาสัง <HTML> คือคาสังเริ่ มต้นในการเขียนโปรแกรม HTML และมีคาสัง </HTML> ่ ่ ่ เพือบอกจุดสิ้นสุดโปรแกรม ่ ่ ่ ่ ่ <HEAD> </HEAD> คาสัง <HEAD> คือคาสังบอกส่วนที่เป็ นชื่อเรื่ อง โดยมีคาสังย่อย <TITLE> อยูภายใน <TITLE> </TITLE> คาสัง <TITLE> คือคาสังบอกชื่อเรื่ อง จะไปปรากฏที่ Title Bar ่ ่ <BODY> </BODY> คาสัง <BODY> คือคาสังบอกส่วนเนื้อเรื่ อง ที่จะถูกแสดงผลในเวปบราวเซอร์ ่ ่ ประกอบด้วยรู ปภาพ ตัวอักษร ตาราง เป็ นต้น รู ปแบบตัวอักษร <font size = "3"> ข้อความ </font> ขนาดตัวอักษร <font color = "red"> ข้อความ </font> สีตวอักษร ั <font face = "Arial"> ข้อความ </font> รู ปแบบตัวอักษร <besefont size = "2"> ข้อความ </font> กาหนดค่าเริ่ มต้นของขนาดตัวอักษร <b> ข้อความ </b> ตัวอักษรหนา <i> ข้อความ </i> ตัวอักษรเอน <u> ข้อความ </u> ขีดเส้นใต้ตวอักษร ั <tt> ข้อความ </tt> ตัวอักษรแบบพิมพ์ดีด หมายเหตุ เราสามารถใช้คาสังกาหนดรู ปแบบตัวอักษร หลายๆรู ปแบบได้ เช่น ่ <font face = "Arial" size = "3" color = "red"> ข้อความ </font> เป็ นต้น จุดเชื่อมโยงข้ อมูล <a href ="#news"> Hot News </a> , <a name ="news">กาหนดจุดเชื่อมชื่อ news ส่วน "a name" คือตาแหน่งที่ลิงค์ไป (เอกสารเดียวกัน) <a href ="news.html"> Hot News </a> สร้างลิงค์ไปยังเอกสารชื่อ "news.html"
  • 20. <a href ="http://www.thai.com"> Thai </a> สร้างลิงค์ไปยังเว็บไซต์อื่น <a href ="http://www.thai.com" target = "_blank" > Thai </a> สร้างลิงค์ไปยังเว็บไซต์อื่น และเปิ ดหน้าต่าง ใหม่ <a href ="http://www.thai.com"> <img src = "photo.gif"> </a> สร้างลิงค์โดยใช้รูปภาพชื่อ photo.gif เป็ น ตัวเชื่อม <a href ="mailto:yo@mail.com"> Email </a> สร้างลิงค์มายังอีเมล์ การแสดงผลแบบรายการแบบมีหมายเลขกากับ <OL value = "1" > <LI> รายการที่ 1 <LI> รายการที่ 2 </OL> การแสดงผลแบบรายการ ใช้คาสัง <OL> เป็ นเริ่ มและปิ ดท้ายด้วย ่ </OL> ส่วนคาสัง <LI> เป็ นตาแหน่งของรายการที่ตองการ ่ ้ นาเสนอ เราสามารถกาหนดให้แสดงผลรายการได้หลายแบบเช่น เรี ยงลาดับ 1,2,3... หรื อ I,II,III... หรื อ A,B,C,... ได้ท้งนี้จะต้อง ั เพิมคาสังเข้าไปที่ <OL value = "A"> เป็ นต้น ่ ่ การแสดงผลแบบรายการแบบมีสัญลักษณ์กากับ <UL type = "square"> <LI> รายการที่ 1 <LI> รายการที่ 2 </UL> การแสดงผลแบบรายการ ใช้คาสัง <UL> เป็ นเริ่ มและปิ ดท้ายด้วย ่ </UL> ส่วนคาสัง <LI> เป็ นตาแหน่งของรายการ ที่ตองการ ่ ้ นาเสนอ เราสามารถกาหนดให้แสดงผลรายการแบบต่างๆ ดังต่อไปนี้ - รู ปวงกลมทึบ "disc" - รู ปวงกลมโปร่ ง "circle" - รู ปสี่เหลี่ยม "square" ทั้งนี้จะต้องเพิมคาสังเข้าไปที่ <UL type = "square"> เป็ นต้น ่ ่
  • 21. คาถามท้ ายบท 1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์หมายถึงข้อใด ก. ชุดคาสังที่ใช้สาหรับแสดงหรื อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ ่ ข. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ใช้สื่อสารระหว่างผูใช้คอมพิวเตอร์ ้ ค. การสื่อสารข้อมูลหรื อการส่งข้อมูลจากผูนาเสนอไปยังผูรับ ้ ้ ง. เป็ นข้อมูลพื้นฐานที่นิยมใช้ในการนาเสนองาน 2. นักพัฒนาคอมพิวเตอร์หรื อสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์คือใคร ก. โปรดิวเซอร์ ข. ดีไซเนอร์ ค. โปรแกรมเมอร์ ง. ออแกไนเซอร์ 3. ลาดับขั้นตอนของการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีกี่ข้นตอน ั ก. 4 ข. 6 ค. 8 ง. 10 4. ภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งตามลักษณะของภาษาและการใช้งานได้กี่ประเภท ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 5. ภาษาฟอร์แทรน เหมาะสาหรับการทางานด้านใด ก. พาณิ ชยศาสตร์และการบัญชี , เศรษฐศาสตร์ , สังคมศาสตร์ ข. วิศวกรรมศาสตร์ , สถาปั ตยกรรมศาสตร์ ค. รัฐศาสตร์ , นิติศาสตร์ ง. วิทยาศาสตร์ , คณิ ตศาสตร์ , วิศวกรรมศาสตร์
  • 22. 6. ภาษา HTML เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่ใช้คู่กบโปรแกรมใด ั ก. โปรแกรมเท็กซ์เอดิเตอร์(Text Editor) หรื อ เวิร์ดโพรเซอร์(Word processor) ข. Microsoft Word หรื อ Microsoft PowerPoint ค. เดลไฟ (Delphi) ง. วิชวลเบสิก (Visual Basic) 7. < br > เป็ นคาสังให้โปรแกรมภาษา HTML ทาอะไร ่ ก. คาสังย่อหน้าใหม่ ่ ข. คาสังเพิมช่องว่าง ่ ่ ค. คาสังตีเส้น ่ ง. คาสังขึ้นบรรทัดใหม่ ่ 8. การบันทึกไฟล์ ควรบันทึกเป็ นนามสกุลใด ก. .psd ข. .gif ค. .txt ง. .jpg 9. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใหม่ที่สุดในปั จจุบนคือภาษา ั ก. Visual Basic ข. JAVA ค. Pascal ง. Fortran
  • 23. 10. ภาษาคอมพิวเตอร์ในปั จจุบนมีถึงรุ่ นที่เท่าไหร่ ั ก. รุ่ น 5 ข. รุ่ น 4 ค. รุ่ น 3 ง. รุ่ น 2