SlideShare a Scribd company logo
1 of 464
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕
ตอนที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๒ วิภังค
ปกรณ์
ขอนอบน้อมแ ด่พระผู้มีพระภาคอร
หันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
๑. ขันธวิภังค์
สุตตันตภาชนีย์
[๑] ขันธ์ ๕ คือ
๑. รูปขันธ์
๒. เวทนาขันธ์
๓. สัญญาขันธ์
๔. สังขารขันธ์
๕. วิญญาณขันธ์
รูปขันธ์
[๒] ในขันธ์ ๕ นั้น รูปขันธ์ เป็นไฉน
รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ รูปอดีต รูปอนาคต รูปปัจจุบัน รูป
ภายใน รูปภายนอก รูปหยาบ รูปละเอียด รูปทราม รูปประณีต
รูปไกล รูปใกล้ ประมวลย่อเข้าเป็นกองเดียวกัน นี้เรียกว่ารูป
ขันธ์
[๓] ในรูปขันธ์นั้น รูปอดีต เป็นไฉน
รูปใด ล่วงไปแล้ว ดับแล้ว ปราศไปแล้ว แปรไปแล้ว ถึงความ
ดับ
แล้ว ถึงความดับสิ้นแล้ว ที่เกิดขึ้นแล้วปราศไปแล้ว ที่เป็นอดีต
สงเคราะห์เข้า
กับส่วนอดีต ได้แก่มหาภูตรูป ๔ และอุปาทายรูปที่อาศัย
มหาภูตรูป ๔ นี้เรียกว่า
รูปอดีต
รูปอนาคต เป็นไฉน
รูปใด ยังไม่เกิด ยังไม่เป็น ยังไม่เกิดพร้อม ยังไม่บังเกิด ยังไม่
บังเกิดยิ่ง ยังไม่ปรากฏ ยังไม่เกิดขึ้น ยังไม่เกิดขึ้นพร้อม ยังไม่
ตั้งขึ้น ยังไม่
ตั้งขึ้นพร้อม ที่เป็นอนาคตสงเคราะห์เข้ากับส่วนอนาคต ได้แก่
มหาภูตรูป ๔ และ
อุปาทายรูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ นี้เรียกว่ารูปอนาคต
รูปปัจจุบัน เป็นไฉน
รูปใด เกิดแล้ว เป็นแล้ว เกิดพร้อมแล้ว บังเกิดแล้ว บังเกิดยิ่ง
แล้ว
ปรากฏแล้ว เกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นพร้อมแล้ว ตั้งขึ้นแล้ว ตั้งขึ้น
พร้อมแล้ว ที่
เป็นปัจจุบันสงเคราะห์เข้ากับส่วนปัจจุบัน ได้แก่มหาภูตรูป ๔
และอุปาทายรูปที่
อาศัยมหาภูตรูป ๔ นี้เรียกว่ารูปปัจจุบัน
[๔] รูปภายใน เป็นไฉน
รูปใด ของสัตว์นั้นๆ เอง ซึ่งมีในตน เฉพาะตน เกิดในตน
เฉพาะ
บุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่มหาภูต
รูป ๔ และ
อุปาทายรูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ นี้เรียกว่ารูปภายใน
รูปภายนอก เป็นไฉน
รูปใด ของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นนั้นๆ ซึ่งมีในตน เฉพาะตน
เกิดในตน
เฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่
มหาภูตรูป ๔ และ
อุปาทายรูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ นี้เรียกว่ารูปภายนอก
[๕] รูปหยาบ เป็นไฉน
จักขายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ กายาย
ตนะ รูปายตนะ
สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ นี้เรียกว่า
รูปหยาบ
รูปละเอียด เป็นไฉน
อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ กายวิญญัติ วจีวิญญัติ อา
กาสธาตุ
รูปลหุตา รูปมุทุตา รูปกัมมัญญตา รูปอุปจยะ รูปสันตติ รูปชร
ตา รูปอนิจจตา
กวฬิงการาหาร นี้เรียกว่ารูปละเอียด
[๖] รูปทราม เป็นไฉน
รูปใด ของสัตว์นั้นๆ ที่น่าดูหมิ่น น่าเหยียดหยาม น่าเกลียด
น่า
ตำาหนิ ไม่น่ายกย่อง ทราม รู้กันว่าทราม สมมติกันว่าทราม ไม่
น่าปรารถนา
ไม่น่ารัก ไม่น่าชอบใจ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ นี้
เรียกว่า
รูปทราม
รูปประณีต เป็นไฉน
รูปใด ของสัตว์นั้นๆ ที่ไม่น่าดูหมิ่น ไม่น่าเหยียดหยาม ไม่น่า
เกลียด
ไม่น่าตำาหนิ น่ายกย่อง ประณีต รู้กันว่าประณีต สมมติกันว่า
ประณีต น่า
ปรารถนา น่ารัก น่าชอบใจ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
นี้
เรียกว่ารูปประณีต
หรือพึงทราบรูปทรามรูปประณีต โดยอาศัยเทียบเคียงรู
ปนั้นๆ เป็นชั้นๆ
ไป
[๗] รูปไกล เป็นไฉน
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร หรือรูปแม้อื่นใดมีอยู่ในที่ไม่
ใกล้ ใน
ที่ไม่ใกล้ชิด ในที่ไกล ในที่ไม่ใช่ใกล้ นี้เรียกว่ารูปไกล
รูปใกล้ เป็นไฉน
จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ หรือรูปแม้อื่นใดมีอยู่ในที่
ใกล้เคียง
ในที่ใกล้ชิด ในที่ไม่ไกล ในที่ใกล้ นี้เรียกว่ารูปใกล้
หรือพึงทราบรูปไกลรูปใกล้ โดยอาศัยเทียบเคียงรูปนั้นๆ
เป็นชั้นๆ ไป
เวทนาขันธ์
[๘] เวทนาขันธ์ เป็นไฉน
เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ เวทนาอดีต เวทนาอนาคต
เวทนา
ปัจจุบัน เวทนาภายใน เวทนาภายนอก เวทนาหยาบ เวทนา
ละเอียด เวทนาทราม เวทนาประณีต เวทนาไกล เวทนาใกล้
ประมวลย่อเข้าเป็นกองเดียวกัน นี้เรียกว่าเวทนาขันธ์
[๙] ในเวทนาขันธ์นั้น เวทนาอดีต เป็นไฉน
เวทนาใด ล่วงไปแล้ว ดับแล้ว ปราศไปแล้ว แปรไปแล้ว ถึง
ความ
ดับแล้ว ถึงความสิ้นแล้ว ที่เกิดขึ้นแล้วปราศไปแล้ว ที่เป็นอดีต
สงเคราะห์เข้า
กับส่วนอดีต ได้แก่สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา นี้
เรียกว่าเวทนาอดีต
เวทนาอนาคต เป็นไฉน
เวทนาใด ยังไม่เกิด ยังไม่เป็น ยังไม่เกิดพร้อม ยังไม่บังเกิด
ยังไม่
บังเกิดยิ่ง ยังไม่ปรากฏ ยังไม่เกิดขึ้น ยังไม่เกิดขึ้นพร้อม ยังไม่
ตั้งขึ้น ยังไม่
ตั้งขึ้นพร้อม ที่เป็นอนาคตสงเคราะห์เข้ากับส่วนอนาคต ได้แก่
สุขเวทนา
ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา นี้เรียกว่า เวทนาอนาคต
เวทนาปัจจุบัน เป็นไฉน
เวทนาใด เกิดแล้ว เป็นแล้ว เกิดพร้อมแล้ว บังเกิดแล้ว
บังเกิดยิ่ง
แล้ว ปรากฏแล้ว เกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นพร้อมแล้ว ตั้งขึ้นแล้ว ตั้ง
ขึ้นพร้อมแล้ว
ที่เป็นปัจจุบันสงเคราะห์เข้ากับส่วนปัจจุบัน ได้แก่ สุขเวทนา
ทุกขเวทนา
อทุกขมสุขเวทนา นี้เรียกว่าเวทนาปัจจุบัน
[๑๐] เวทนาภายใน เป็นไฉน
เวทนาใด ของสัตว์นั้นๆ เองซึ่งมีในตน เฉพาะตน เกิดในตน
เฉพาะ
บุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่ สุข
เวทนา ทุกขเวทนา
อทุกขมสุขเวทนา นี้เรียกว่าเวทนาภายใน
เวทนาภายนอก เป็นไฉน
เวทนาใด ของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นนั้นๆ ซึ่งมีในตน เฉพาะ
ตน เกิด
ในตน มีเฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง
ได้แก่
สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา นี้เรียกว่าเวทนา
ภายนอก
[๑๑] เวทนาหยาบ เวทนาละเอียด เป็นไฉน
อกุศลเวทนาเป็นเวทนาหยาบ กุศลเวทนาและอัพยากต
เวทนาเป็นเวทนา
ละเอียด กุศลเวทนาและอกุศลเวทนาเป็นเวทนาหยาบ อัพยาก
ตเวทนาเป็นเวทนา
ละเอียด ทุกขเวทนาเป็นเวทนาหยาบ สุขเวทนาและอทุกขมสุข
เวทนาเป็นเวทนา
ละเอียด สุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นเวทนาหยาบ อทุกขมสุข
เวทนาเป็นเวทนา
ละเอียด เวทนาของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็นเวทนาหยาบ เวทนา
ของผู้เข้าสมาบัติเป็น
เวทนาละเอียด เวทนาที่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นเวทนา
หยาบ เวทนาที่ไม่เป็น
อารมณ์ของอาสวะเป็นเวทนาละเอียด
หรือพึงทราบเวทนาหยาบเวทนาละเอียด โดยอาศัยเทียบ
เคียงเวทนานั้นๆ
เป็นชั้นๆ ไป
[๑๒] เวทนาทราม เวทนาประณีต เป็นไฉน
อกุศลเวทนาเป็นเวทนาทราม กุศลเวทนาและอัพยากต
เวทนาเป็นเวทนา
ประณีต กุศลเวทนาและอกุศลเวทนาเป็นเวทนาทราม อัพยาก
ตเวทนาเป็นเวทนา
ประณีต ทุกขเวทนาเป็นเวทนาทราม สุขเวทนาและอทุกขมสุข
เวทนาเป็นเวทนา
ประณีต สุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นเวทนาทราม อทุกขมสุข
เวทนาเป็นเวทนา
ประณีต เวทนาของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็นเวทนาทราม เวทนาของ
ผู้เข้าสมาบัติเป็น
เวทนาประณีต เวทนาที่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นเวทนา
ทราม เวทนาที่ไม่เป็น
อารมณ์ของอาสวะเป็นเวทนาประณีต
หรือพึงทราบเวทนาทรามเวทนาประณีต โดยอาศัยเทียบ
เคียงเวทนานั้นๆ
เป็นชั้นๆ ไป
[๑๓] เวทนาไกล เป็นไฉน
อกุศลเวทนาไกลจากกุศลเวทนาและอัพยากตเวทนา กุศล
เวทนาและ
อัพยากตเวทนาเป็นเวทนาไกลจากอกุศลเวทนา กุศลเวทนา
เป็นเวทนาไกลจาก
อกุศลเวทนาและอัพยากตเวทนา อกุศลเวทนาและอัพยากต
เวทนาเป็นเวทนาไกล
จากกุศลเวทนา อัพยากตเวทนาเป็นเวทนาไกลจากกุศลเวทนา
และอกุศลเวทนา
กุศลเวทนาและอกุศลเวทนาเป็นเวทนาไกลจากอัพยากต
เวทนา ทุกขเวทนาเป็น
เวทนาไกลจากสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนา สุขเวทนาและอ
ทุกขมสุขเวทนาเป็น
เวทนาไกลจากทุกขเวทนา สุขเวทนาเป็นเวทนาไกลจากทุกข
เวทนาและอทุกขม
สุขเวทนา ทุกขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็นเวทนาไกลจาก
สุขเวทนา อทุกขม-
*สุขเวทนาเป็นเวทนาไกลจากสุขเวทนาและทุกขเวทนา สุข
เวทนาและทุกขเวทนา
เป็นเวทนาไกลจากอทุกขมสุขเวทนา เวทนาของผู้ไม่เข้า
สมาบัติเป็นเวทนาไกลจาก
เวทนาของผู้เข้าสมาบัติ เวทนาของผู้เข้าสมาบัติเป็นเวทนาไกล
จากเวทนาของผู้ไม่
เข้าสมาบัติ เวทนาที่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นเวทนาไกลจาก
เวทนาที่ไม่เป็น
อารมณ์ของอาสวะ เวทนาที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็น
เวทนาไกลจากเวทนาที่
เป็นอารมณ์ของอาสวะ นี้เรียกว่าเวทนาไกล
เวทนาใกล้ เป็นไฉน
อกุศลเวทนาเป็นเวทนาใกล้กับอกุศลเวทนา กุศลเวทนาเป็น
เวทนาใกล้
กับกุศลเวทนา อัพยากตเวทนาเป็นเวทนาใกล้กับอัพยากต
เวทนา ทุกขเวทนาเป็น
เวทนาใกล้กับทุกขเวทนา สุขเวทนาเป็นเวทนาใกล้กับสุข
เวทนา อทุกขมสุข-
*เวทนาเป็นเวทนาใกล้กับอทุกขมสุขเวทนา เวทนาของผู้ไม่เข้า
สมาบัติเป็นเวทนา
ใกล้กับเวทนาของผู้ไม่เข้าสมาบัติ เวทนาของผู้เข้าสมาบัติเป็น
เวทนาใกล้กับเวทนา
ของผู้เข้าสมาบัติ เวทนาที่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นเวทนา
ใกล้กับเวทนาที่เป็น
อารมณ์ของอาสวะ เวทนาที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็น
เวทนาใกล้กับเวทนาที่ไม่
เป็นอารมณ์ของอาสวะ นี้เรียกว่าเวทนาใกล้
หรือพึงทราบเวทนาไกลเวทนาใกล้ โดยอาศัยเทียบเคียงเวท
นานั้นๆ เป็น
ชั้นๆ ไป
สัญญาขันธ์
[๑๔] สัญญาขันธ์ เป็นไฉน
สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ สัญญาอดีต สัญญาอนาคต
สัญญาปัจจุบัน สัญญาภายใน สัญญาภายนอก สัญญาหยาบ
สัญญาละเอียด สัญญาทราม สัญญาประณีต สัญญาไกล
สัญญาใกล้ ประมวลย่อเข้าเป็นกองเดียวกัน นี้เรียกว่าสัญญา
ขันธ์
[๑๕] ในสัญญาขันธ์ นั้น สัญญาอดีต เป็นไฉน
สัญญาใด ล่วงไปแล้ว ดับแล้ว ปราศไปแล้ว แปรไปแล้ว ถึง
ความ
ดับแล้ว ถึงความสิ้นแล้ว ที่เกิดขึ้นแล้วปราศไปแล้ว ที่เป็นอดีต
สงเคราะห์เข้า
กับส่วนอดีต ได้แก่จักขุสัมผัสสชาสัญญา โสตสัมผัสสชาสัญญา
ฆานสัมผัสสชา
สัญญา ชิวหาสัมผัสสชาสัญญา กายสัมผัสสชาสัญญา มโน
สัมผัสสชาสัญญา
นี้เรียกว่าสัญญาอดีต
สัญญาอนาคต เป็นไฉน
สัญญาใด ยังไม่เกิด ยังไม่เป็น ยังไม่เกิดพร้อม ยังไม่บังเกิด
ยังไม่บังเกิดยิ่ง ยังไม่ปรากฏ ยังไม่เกิดขึ้น ยังไม่เกิดขึ้นพร้อม
ยังไม่ตั้งขึ้น
ยังไม่ตั้งขึ้นพร้อม ที่เป็นอนาคตสงเคราะห์เข้ากับส่วนอนาคต
ได้แก่ จักขุ-
*สัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาสัญญา นี้เรียกว่าสัญญา
อนาคต
สัญญาปัจจุบัน เป็นไฉน
สัญญาใด เกิดแล้ว เป็นแล้ว เกิดพร้อมแล้ว บังเกิดแล้ว
บังเกิดยิ่งแล้ว
ปรากฏแล้ว เกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นพร้อมแล้ว ตั้งขึ้นแล้ว ตั้งขึ้น
พร้อมแล้ว
ที่เป็นปัจจุบันสงเคราะห์เข้ากับส่วนปัจจุบัน ได้แก่ จักขุสัมผัสส
ชาสัญญา ฯลฯ
มโนสัมผัสสชาสัญญา นี้เรียกว่าสัญญาปัจจุบัน
[๑๖] สัญญาภายใน เป็นไฉน
สัญญาใด ของสัตว์นั้นๆ เอง ซึ่งมีในตน เฉพาะตน เกิดในตน
เฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่
จักขุสัมผัสสชา-
*สัญญา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาสัญญา นี้เรียกว่าสัญญาภายใน
สัญญาภายนอก เป็นไฉน
สัญญาใด ของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นนั้นๆ ซึ่งมีในตน เฉพาะ
ตน เกิด
ในตน เฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง
ได้แก่
จักขุสัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาสัญญา นี้เรียกว่า
สัญญาภายนอก
[๑๗] สัญญาหยาบ สัญญาละเอียด เป็นไฉน
สัญญาอันเกิดแต่ปฏิฆสัมผัส (คือสัญญาเกิดแต่ปัญจทวาร)
เป็นสัญญา
หยาบ สัญญาอันเกิดแต่อธิวจนสัมผัส (คือสัญญาเกิดแต่มโน
ทวาร) เป็นสัญญา
ละเอียด อกุศลสัญญาเป็นสัญญาหยาบ กุศลสัญญาและอัพยาก
ตสัญญาเป็น
สัญญาละเอียด กุศลสัญญาและอกุศลสัญญาเป็นสัญญาหยาบ
อัพยากตสัญญา
เป็นสัญญาละเอียด สัญญาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสัญญา
หยาบ สัญญาที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็นสัญญาละเอียด
สัญญาที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นสัญญาหยาบ สัญญาที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข
เวทนาเป็นสัญญาละเอียด สัญญาของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็น
สัญญาหยาบ สัญญา
ของผู้เข้าสมาบัติเป็นสัญญาละเอียด สัญญาที่เป็นอารมณ์ของ
อาสวะเป็นสัญญา
หยาบ สัญญาที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสัญญาละเอียด
หรือพึงทราบสัญญาหยาบสัญญาละเอียด โดยอาศัยเทียบ
เคียงสัญญา
นั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป
[๑๘] สัญญาทราม สัญญาประณีต เป็นไฉน
อกุศลสัญญาเป็นสัญญาทราม กุศลสัญญาและอัพยากต
สัญญาเป็นสัญญา
ประณีต กุศลสัญญาและอกุศลสัญญาเป็นสัญญาทราม อัพยาก
ตสัญญาเป็น
สัญญาประณีต สัญญาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นสัญญา
ทราม สัญญาที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็นสัญญาประณีต
สัญญาที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นสัญญาทราม สัญญาที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข
เวทนาเป็นสัญญาประณีต สัญญาของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็น
สัญญาทราม สัญญาของ
ผู้เข้าสมาบัติเป็นสัญญาประณีต สัญญาที่เป็นอารมณ์ของอา
สวะเป็นสัญญาทราม
สัญญาที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสัญญาประณีต
หรือพึงทราบสัญญาทรามสัญญาประณีต โดยอาศัยเทียบ
เคียงสัญญานั้นๆ
เป็นชั้นๆ ไป
[๑๙] สัญญาไกล เป็นไฉน
อกุศลสัญญาเป็นสัญญาไกลจากกุศลสัญญาและอัพยากต
สัญญา กุศล
สัญญาและอัพยากตสัญญาเป็นสัญญาไกลจากอกุศลสัญญา
กุศลสัญญาเป็นสัญญา
ไกลจากอกุศลสัญญาและอัพยากตสัญญา อกุศลสัญญาและอัพ
ยากตสัญญาเป็น
สัญญาไกลจากกุศลสัญญา อัพยากตสัญญาเป็นสัญญาไกลจาก
กุศลสัญญาและ
อกุศลสัญญา กุศลสัญญาและอกุศลสัญญาเป็นสัญญาไกลจา
กอัพยากตสัญญา
สัญญาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
และอทุกขมสุขเวทนา สัญญาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุก
ขมสุขเวทนาเป็น
สัญญาไกลจากสัญญาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สัญญาที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
เป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาและอทุก
ขมสุขเวทนา สัญญาที่
สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนา เป็นสัญญาไกล
จากสัญญาที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา สัญญาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็น
สัญญาไกลจากสัญญา
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนา สัญญาที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนาและทุกข-
*เวทนาเป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข
เวทนา สัญญาของผู้ไม่
เข้าสมาบัติเป็นสัญญาไกลจากสัญญาของผู้เข้าสมาบัติ สัญญา
ของผู้เข้าสมาบัติ
เป็นสัญญาไกลจากสัญญาของผู้ไม่เข้าสมาบัติ สัญญาที่เป็น
อารมณ์ของอาสวะ
เป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สัญญาที่
ไม่เป็นอารมณ์ของ
อาสวะเป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่เป็นอารมณ์ของอาสวะ นี้
เรียกว่าสัญญาไกล
สัญญาใกล้ เป็นไฉน
อกุศลสัญญาเป็นสัญญาใกล้กับอกุศลสัญญา กุศลสัญญา
เป็นสัญญา
ใกล้กับกุศลสัญญา อัพยากตสัญญาเป็นสัญญาใกล้กับอัพยากต
สัญญา สัญญาที่
สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนา สัญญา
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนา สัญญา
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข
เวทนา สัญญาของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาของ
ผู้ไม่เข้าสมาบัติ
สัญญาของผู้เข้าสมาบัติเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาของผู้เข้า
สมาบัติ สัญญาที่เป็น
อารมณ์ของอาสวะเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาที่เป็นอารมณ์ของ
อาสวะ สัญญาที่
ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาที่ไม่เป็น
อารมณ์ของอาสวะ นี้
เรียกว่าสัญญาใกล้
หรือพึงทราบสัญญาไกลสัญญาใกล้ โดยอาศัยเทียบเคียง
สัญญานั้นๆ
เป็นชั้นๆ ไป
สังขารขันธ์
[๒๐] สังขารขันธ์ เป็นไฉน
สังขารเหล่าใดเหล่าหนึ่ง คือ สังขารอดีต สังขารอนาคต
สังขาร
ปัจจุบัน สังขารภายใน สังขารภายนอก สังขารหยาบ สังขาร
ละเอียด
สังขารทราม สังขารประณีต สังขารไกล สังขารใกล้ ประมวลย่อ
เข้าเป็น
กองเดียวกัน นี้เรียกว่าสังขารขันธ์
[๒๑] ในสังขารขันธ์นั้น สังขารอดีต เป็นไฉน
สังขารเหล่าใด ล่วงไปแล้ว ดับแล้ว ปราศไปแล้ว แปรไปแล้ว
ถึง
ความดับแล้ว ถึงความสิ้นแล้ว ที่เกิดขึ้นแล้วปราศไปแล้ว ที่เป็น
อดีตสงเคราะห์
เข้ากับส่วนอดีต ได้แก่ จักขุสัมผัสสชาเจตนา โสตสัมผัสสชา
เจตนา ฆานสัม-
*ผัสสชาเจตนา ชิวหาสัมผัสสชาเจตนา กายสัมผัสสชาเจตนา
มโนสัมผัสสชา
เจตนา นี้เรียกว่าสังขารอดีต
สังขารอนาคต เป็นไฉน
สังขารเหล่าใด ยังไม่เกิด ยังไม่เป็น ยังไม่พร้อม ยังไม่บังเกิด
ยังไม่
บังเกิดยิ่ง ยังไม่ปรากฏ ยังไม่เกิดขึ้น ยังไม่เกิดขึ้นพร้อม ยังไม่
ตั้งขึ้น ยังไม่ตั้งขึ้น
พร้อม ที่เป็นอนาคตสงเคราะห์เข้ากับส่วนอนาคต ได้แก่ จักขุ
สัมผัสสชาเจตนา
ฯลฯ มโนสัมผัสสชาเจตนา นี้เรียกว่าสังขารอนาคต
สังขารปัจจุบัน เป็นไฉน
สังขารเหล่าใด เกิดแล้ว เป็นแล้ว เกิดพร้อมแล้ว บังเกิดแล้ว
บังเกิด
ยิ่งแล้ว ปรากฏแล้ว เกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นพร้อมแล้ว ตั้งขึ้นแล้ว
ตั้งขึ้นพร้อมแล้ว
ที่เป็นปัจจุบันสงเคราะห์เข้ากับส่วนปัจจุบัน ได้แก่ จักขุสัมผัสส
ชาเจตนา ฯลฯ
มโนสัมผัสสชาเจตนา นี้เรียกว่าสังขารปัจจุบัน
[๒๒] สังขารภายใน เป็นไฉน
สังขารเหล่าใด ของสัตว์นั้นๆ เอง ซึ่งมีในตน เฉพาะตน เกิด
ในตน
เฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่
จักขุสัมผัสสชา-
*เจตนา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาเจตนา นี้เรียกว่าสังขารภายใน
สังขารภายนอก เป็นไฉน
สังขารเหล่าใด ของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นนั้นๆ ซึ่งมีในตน
เฉพาะตน
เกิดในตน เฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึด
ครอง ได้แก่
จักขุสัมผัสสชาเจตนา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาเจตนา นี้เรียกว่า
สังขารภายนอก
[๒๓] สังขารหยาบ สังขารละเอียด เป็นไฉน
อกุศลสังขารเป็นสังขารหยาบ กุศลสังขารและอัพยากต
สังขารเป็นสังขาร
ละเอียด กุศลสังขารและอกุศลสังขารเป็นสังขารหยาบ อัพยาก
ตสังขารเป็น
สังขารละเอียด สังขารที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสังขาร
หยาบ สังขารที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็นสังขารละเอียด
สังขารที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นสังขารหยาบ สังขารที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข-
*เวทนาเป็นสังขารละเอียด สังขารของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็น
สังขารหยาบ สังขาร
ของผู้เข้าสมาบัติเป็นสังขารละเอียด สังขารที่เป็นอารมณ์ของ
อาสวะเป็นสังขาร
หยาบ สังขารที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสังขารละเอียด
หรือพึงทราบสังขารหยาบสังขารละเอียด โดยอาศัยเทียบ
เคียงสังขาร
นั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป
[๒๔] สังขารทราม สังขารประณีต เป็นไฉน
อกุศลสังขารเป็นสังขารทราม กุศลสังขารและอัพยากต
สังขารเป็นสังขาร
ประณีต กุศลสังขารและอกุศลสังขารเป็นสังขารทราม อัพยาก
ตสังขารเป็น
สังขารประณีต สังขารที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสังขาร
ทราม สังขารที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็นสังขารประณีต
สังขารที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นสังขารทราม สังขารที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข-
*เวทนาเป็นสังขารประณีต สังขารของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็น
สังขารทราม สังขาร
ของผู้เข้าสมาบัติเป็นสังขารประณีต สังขารที่เป็นอารมณ์ของ
อาสวะเป็นสังขาร
ทราม สังขารที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสังขารประณีต
หรือพึงทราบสังขารทรามสังขารประณีต โดยอาศัยเทียบ
เคียงสังขารนั้นๆ
เป็นชั้นๆ ไป
[๒๕] สังขารไกล เป็นไฉน
อกุศลสังขารเป็นสังขารไกลจากกุศลสังขารและอัพยากต
สังขาร กุศล
สังขารและอัพยากตสังขารเป็นสังขารไกลจากอกุศลสังขาร
กุศลสังขารเป็นสังขาร
ไกลจากอกุศลสังขารและอัพยากตสังขาร อกุศลสังขารและอัพ
ยากตสังขารเป็น
สังขารไกลจากกุศลสังขาร อัพยากตสังขารเป็นสังขารไกลจาก
กุศลสังขารและ
อกุศลสังขาร กุศลสังขารและอกุศลสังขารเป็นสังขารไกลจา
กอัพยากตสังขาร
สังขารที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสังขารไกลจากสังขารที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
และอทุกขมสุขเวทนา สังขารที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุก
ขมสุขเวทนาเป็น
สังขารไกลจากสังขารที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สังขารที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
เป็นสังขารไกลจากสังขารที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาและอทุกขม
สุขเวทนา สังขาร
ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็นสังขารไกล
จากสังขารที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา สังขารที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็น
สังขารไกลจากสังขาร
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนา สังขารที่สัมปยุตด้วยสุข
เวทนาและ
ทุกขเวทนาเป็นสังขารไกลจากสังขารที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข
เวทนา สังขารของ
ผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็นสังขารไกลจากสังขารของผู้เข้าสมาบัติ
สังขารของผู้เข้าสมาบัติ
เป็นสังขารไกลจากสังขารของผู้ไม่เข้าสมาบัติ สังขารที่เป็น
อารมณ์ของอาสวะเป็น
สังขารไกลจากสังขารที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สังขารที่ไม่
เป็นอารมณ์ของ
อาสวะเป็นสังขารไกลจากสังขารที่เป็นอารมณ์ของอาสวะ นี้
เรียกว่าสังขารไกล
สังขารใกล้ เป็นไฉน
อกุศลสังขารเป็นสังขารใกล้กับอกุศลสังขาร กุศลสังขารเป็น
สังขารใกล้
กับกุศลสังขาร อัพยากตสังขารเป็นสังขารใกล้กับอัพยากต
สังขาร สังขารที่
สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสังขารใกล้กับสังขารที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนา สังขาร
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นสังขารใกล้กับสังขารที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนา สังขาร
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นสังขารใกล้กับสังขารที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข-
*เวทนา สังขารของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็นสังขารใกล้กับสังขาร
ของผู้ไม่เข้าสมาบัติ
สังขารของผู้เข้าสมาบัติเป็นสังขารใกล้กับสังขารของผู้เข้า
สมาบัติ สังขารที่เป็น
อารมณ์ของอาสวะเป็นสังขารใกล้กับสังขารที่เป็นอารมณ์ของ
อาสวะ สังขารที่ไม่
เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสังขารใกล้กับสังขารที่ไม่เป็น
อารมณ์ของอาสวะ นี้เรียก
ว่าสังขารใกล้
หรือพึงทราบสังขารไกลสังขารใกล้ โดยอาศัยเทียบเคียง
สังขารนั้นๆ
เป็นชั้นๆ ไป
วิญญาณขันธ์
[๒๖] วิญญาณขันธ์ เป็นไฉน
วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ วิญญาณอดีต วิญญาณ
อนาคต
วิญญาณปัจจุบัน วิญญาณภายใน วิญญาณภายนอก วิญญาณ
หยาบ
วิญญาณละเอียด วิญญาณทราม วิญญาณประณีต วิญญาณ
ไกล
วิญญาณใกล้ ประมวลย่อเข้าเป็นกองเดียวกัน นี้เรียกว่า
วิญญาณขันธ์
[๒๗] ในวิญญาณขันธ์นั้น วิญญาณอดีต เป็นไฉน
วิญญาณใด ล่วงไปแล้ว ดับแล้ว ปราศไปแล้ว แปรไปแล้ว ถึง
ความ
ดับแล้ว ถึงความดับสิ้นแล้ว ที่เกิดขึ้นแล้วปราศไปแล้ว ที่เป็น
อดีตสงเคราะห์
เข้ากับส่วนอดีต ได้แก่จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ
ชิวหา-
*วิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ นี้เรียกว่าวิญญาณอดีต
วิญญาณอนาคต เป็นไฉน
วิญญาณใด ยังไม่เกิด ยังไม่เป็น ยังไม่เกิดพร้อม ยังไม่บังเกิด
ยัง
ไม่บังเกิดยิ่ง ยังไม่ปรากฏ ยังไม่เกิดขึ้น ยังไม่เกิดขึ้นพร้อม ยัง
ไม่ตั้งขึ้น ยัง
ไม่ตั้งขึ้นพร้อม ที่เป็นอนาคตสงเคราะห์เข้ากับส่วนอนาคต
ได้แก่จักขุวิญญาณ
ฯลฯ มโนวิญญาณ นี้เรียกว่าวิญญาณอนาคต
วิญญาณปัจจุบัน เป็นไฉน
วิญญาณใด เกิดแล้ว เป็นแล้ว เกิดพร้อมแล้ว บังเกิดแล้ว
บังเกิด
ยิ่งแล้ว ปรากฏแล้ว เกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นพร้อมแล้ว ตั้งขึ้นแล้ว
ตั้งขึ้นพร้อม
แล้ว ที่เป็นปัจจุบันสงเคราะห์เข้ากับส่วนปัจจุบัน ได้แก่จักขุ
วิญญาณ ฯลฯ มโน-
*วิญญาณ นี้เรียกว่าวิญญาณปัจจุบัน
[๒๘] วิญญาณภายใน เป็นไฉน
วิญญาณใด ของสัตว์นั้นๆ เองซึ่งมีในตน เฉพาะตน เกิดใน
ตน เฉพาะ
บุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่จักขุ
วิญญาณ ฯลฯ
มโนวิญญาณ นี้เรียกว่าวิญญาณภายใน
วิญญาณภายนอก เป็นไฉน
วิญญาณใด ของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นนั้นๆ ซึ่งมีในตน เฉพาะ
ตน เกิด
ในตน เฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง
ได้แก่จักขุ-
*วิญญาณ ฯลฯ มโนวิญญาณ นี้เรียกว่าวิญญาณภายนอก
[๒๙] วิญญาณหยาบ วิญญาณละเอียด เป็นไฉน
อกุศลวิญญาณเป็นวิญญาณหยาบ กุศลวิญญาณและอัพยาก
ตวิญญาณเป็น
วิญญาณละเอียด กุศลวิญญาณและอกุศลวิญญาณเป็น
วิญญาณหยาบ อัพยากต-
*วิญญาณเป็นวิญญาณละเอียด วิญญาณที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนาเป็นวิญญาณหยาบ
วิญญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็น
วิญญาณละเอียด วิญญาณ
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นวิญญาณหยาบ
วิญญาณที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาเป็นวิญญาณละเอียด วิญญาณของผู้ไม่เข้า
สมาบัติเป็นวิญญาณ
หยาบ วิญญาณของผู้เข้าสมาบัติเป็นวิญญาณละเอียด วิญญาณ
ที่เป็นอารมณ์ของ
อาสวะเป็นวิญญาณหยาบ วิญญาณที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ
เป็นวิญญาณละเอียด
หรือพึงทราบวิญญาณหยาบวิญญาณละเอียด โดยอาศัย
เทียบเคียงวิญญาณ
นั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป
[๓๐] วิญญาณทราม วิญญาณประณีต เป็นไฉน
อกุศลวิญญาณเป็นวิญญาณทราม กุศลวิญญาณและอัพยาก
ตวิญญาณเป็น
วิญญาณประณีต กุศลวิญญาณและอกุศลวิญญาณเป็น
วิญญาณทราม อัพยากต-
*วิญญาณเป็นวิญญาณประณีต วิญญาณที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนาเป็นวิญญาณทราม
วิญญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็น
วิญญาณประณีต วิญญาณ
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นวิญญาณทราม
วิญญาณที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาเป็นวิญญาณประณีต วิญญาณของผู้ไม่เข้า
สมาบัติเป็นวิญญาณ
ทราม วิญญาณของผู้เข้าสมาบัติเป็นวิญญาณประณีต วิญญาณ
ที่เป็นอารมณ์ของ
อาสวะเป็นวิญญาณทราม วิญญาณที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ
เป็นวิญญาณประณีต
หรือพึงทราบวิญญาณทรามวิญญาณประณีต โดยอาศัย
เทียบเคียงวิญญาณ
นั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป
[๓๑] วิญญาณไกล เป็นไฉน
อกุศลวิญญาณเป็นวิญญาณไกลจากกุศลวิญญาณ และอัพ
ยากตวิญญาณ
กุศลวิญญาณและอัพยากตวิญญาณเป็นวิญญาณไกลจากอกุศล
วิญญาณ กุศลวิญญาณ
เป็นวิญญาณไกลจากอกุศลวิญญาณและอัพยากตวิญญาณ
อกุศลวิญญาณและ
อัพยากตวิญญาณเป็นวิญญาณไกลจากกุศลวิญญาณ อัพยากต
วิญญาณเป็นวิญญาณ
ไกลจากกุศลวิญญาณและอกุศลวิญญาณ กุศลวิญญาณและ
อกุศลวิญญาณเป็น
วิญญาณไกลจากอัพยากตวิญญาณ วิญญาณที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนาเป็นวิญญาณ
ไกลจากวิญญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนา
วิญญาณที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา เป็นวิญญาณไกลจาก
วิญญาณที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนา วิญญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นวิญญาณไกล
จากวิญญาณที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนา วิญญาณที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนาและ
อทุกขมสุขเวทนาเป็นวิญญาณไกลจากวิญญาณที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนา วิญญาณที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นวิญญาณไกลจากวิญญาณที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
และทุกขเวทนา วิญญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและ
ทุกขเวทนาเป็นวิญญาณไกล
จากวิญญาณที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา วิญญาณของผู้ไม่
เข้าสมาบัติเป็น
วิญญาณไกลจากวิญญาณของผู้เข้าสมาบัติ วิญญาณของผู้เข้า
สมาบัติเป็นวิญญาณ
ไกลจากวิญญาณของผู้ไม่เข้าสมาบัติ วิญญาณที่เป็นอารมณ์
ของอาสวะเป็นวิญญาณ
ไกลจากวิญญาณที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ วิญญาณที่ไม่เป็น
อารมณ์ของอาสวะ
เป็นวิญญาณไกลจากวิญญาณที่เป็นอารมณ์ของอาสวะ นี้เรียก
ว่าวิญญาณไกล
วิญญาณใกล้ เป็นไฉน
อกุศลวิญญาณเป็นวิญญาณใกล้กับอกุศลวิญญาณ กุศล
วิญญาณเป็น
วิญญาณใกล้กับกุศลวิญญาณ อัพยากตวิญญาณเป็นวิญญาณ
ใกล้กับอัพยากตวิญญาณ
วิญญาณที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นวิญญาณใกล้กับ
วิญญาณที่สัมปยุตด้วยทุกข-
*เวทนา วิญญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นวิญญาณใกล้กับ
วิญญาณที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนา วิญญาณที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็น
วิญญาณใกล้กับวิญญาณที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา วิญญาณของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็น
วิญญาณใกล้กับ
วิญญาณของผู้ไม่เข้าสมาบัติ วิญญาณของผู้เข้าสมาบัติเป็น
วิญญาณใกล้กับวิญญาณ
ของผู้เข้าสมาบัติ วิญญาณที่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็น
วิญญาณใกล้กับวิญญาณที่
เป็นอารมณ์ของอาสวะ วิญญาณที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ
เป็นวิญญาณใกล้กับ
วิญญาณที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ นี้เรียกว่าวิญญาณใกล้
หรือพึงทราบวิญญาณไกลวิญญาณใกล้ โดยอาศัยเทียบ
เคียงวิญญาณนั้นๆ
เป็นชั้นๆ ไป
สุตตันตภาชนีย์ จบ
อภิธรรมภาชนีย์
[๓๒] ขันธ์ ๕ คือ
๑. รูปขันธ์
๒. เวทนาขันธ์
๓. สัญญาขันธ์
๔. สังขารขันธ์
๕. วิญญาณขันธ์
รูปขันธ์
ในขันธ์ ๕ นั้น รูปขันธ์ เป็นไฉน
[๓๓] รูปขันธ์หมวดละ ๑ คือ รูปทั้งหมด เป็นนเหตุ เป็นอเหตุ
กะ
เป็นเหตุวิปปยุต เป็นสัปปัจจยะ เป็นสังขตะ เป็นรูป เป็นโลกิยะ
เป็นสาสวะ
เป็นสัญโญชนิยะ เป็นคันถนิยะ เป็นโอฆนิยะ เป็นโยคนิยะ เป็น
นีวรณิยะ
เป็นปรามัฏฐะ เป็นอุปาทานิยะ เป็นสังกิเลสิกะ เป็นอัพยากฤต
เป็นอนารัมมณะ
เป็นอเจตสิกะ เป็นจิตตวิปปยุต เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นอสังกิลิฏฐ-
*สังกิเลสิกะ เป็นนสวิตักกสวิจาระ เป็นนอวิตักกวิจารมัตตะ
เป็นอวิตักกอวิจาระ
เป็นนปีติสหคตะ เป็นนสุขสหคตะ เป็นนอุเปกขาสหคตะ เป็น
เนวทัสสนนภาวนา
ปหาตัพพะ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ เป็นเน
วาจยคามินาปจยคามี
เป็นเนวเสกขนาเสกขะ เป็นปริตตะ เป็นกามาวจร เป็นนรูปาว
จร เป็นนอรูปาวจร
เป็นปริยาปันนะ เป็นนอปริยาปันนะ เป็นอนิยตะ เป็นอนิยยานิ
กะ เป็นอุป-
*ปันนฉวิญญาณวิญเญยยะ เป็นอนิจจะ เป็นชราภิภูตะ รูปขันธ์
หมวดละ ๑ ด้วย
ประการฉะนี้
[๓๔] รูปขันธ์หมวดละ ๒ คือ รูปเป็นอุปาทา รูปเป็นอนุปาทา
รูป
เป็นอุปาทินนะ รูปเป็นอนุปาทินนะ รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะ
รูปเป็น
อนุปาทินนุปาทานิยะ รูปเป็นสนิทัสสนะ รูปเป็นอนิทัสสนะ รูป
เป็นสัปปฏิฆะ
รูปเป็นอัปปฏิฆะ รูปเป็นอินทรีย์ รูปไม่เป็นอินทรีย์ รูปเป็น
มหาภูต รูปไม่เป็น
มหาภูต รูปเป็นวิญญัตติ รูปไม่เป็นวิญญัตติ รูปเป็นจิตต
สมุฏฐาน รูปไม่เป็น
จิตตสมุฏฐาน รูปเป็นจิตตสหภู รูปไม่เป็นจิตตสหภู รูปเป็นจิต
ตานุปริวัตติ รูป
ไม่เป็นจิตตานุปริวัตติ รูปเป็นอัชฌัตติกะ รูปเป็นพาหิระ รูปเป็น
โอฬาริกะ รูป
เป็นสุขุมะ รูปเป็นทูเร รูปเป็นสันติเก ฯลฯ รูปเป็นกวฬิงการา
หาร รูปไม่เป็น
กวฬิงการาหาร รูปขันธ์หมวดละ ๒ ด้วยประการฉะนี้
[๓๕] รูปขันธ์หมวดละ ๓ คือ อัชฌัตติกรูปเป็นอุปาทา พาหิร
รูปเป็น
อุปาทา พาหิรรูปเป็นอนุปาทา อัชฌัตติกรูปเป็นอุปาทินนะ พาหิ
รรูปเป็นอุปาทินนะ
พาหิรรูปเป็นอนุปาทินนะ อัชฌัตติกรูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะ
พาหิรรูปเป็นอุปา-
*ทินนุปาทานิยะ พาหิรรูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ ฯลฯ อัชฌัต
ติกรูปไม่เป็น
กวฬิงการาหาร พาหิรรูปเป็นกวฬิงการาหาร พาหิรรูปไม่เป็นก
วฬิงการาหาร รูป
ขันธ์หมวดละ ๓ ด้วยประการฉะนี้
[๓๖] รูปขันธ์หมวดละ ๔ คือ อุปาทารูปเป็นอุปาทินนะ อุปา
ทารูปเป็น
อนุปาทินนะ อนุปาทารูปเป็นอุปาทินนะ อนุปาทารูปเป็นอนุปา
ทินนะ อุปาทารูป
เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ อุปาทารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ
อนุปาทารูปเป็น
อุปาทินนุปาทานิยะ อนุปาทารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ อุปา
ทารูปเป็นสัปปฏิฆะ
อุปาทารูปเป็นอัปปฏิฆะ อนุปาทารูปเป็นสัปปฏิฆะ อนุปาทารูป
เป็นอัปปฏิฆะ
อุปาทารูปเป็นโอฬาริกะ อุปาทารูปเป็นสุขุมะ อนุปาทารูปเป็น
โอฬาริกะ อนุปาทา-
*รูปเป็นสุขุมะ อุปาทารูปเป็นทูเร อุปาทารูปเป็นสันติเก อนุปา
ทารูปเป็นทูเร
อนุปาทารูปเป็นสันติเก ฯลฯ ทิฏฐรูป สุตรูป มุตรูป วิญญาตรูป
รูปขันธ์
หมวดละ ๔ ด้วยประการฉะนี้
[๓๗] รูปขันธ์หมวดละ ๕ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ
วาโย-
*ธาตุ อุปาทารูป รูปขันธ์หมวดละ ๕ ด้วยประการฉะนี้
[๓๘] รูปขันธ์หมวดละ ๖ คือ จักขุวิญเญยยรูป โสตวิญเญยย
รูป
ฆานวิญเญยยรูป ชิวหาวิญเญยยรูป กายวิญเญยยรูป มโน
วิญเญยยรูป รูปขันธ์
หมวดละ ๖ ด้วยประการฉะนี้
[๓๙] รูปขันธ์หมวดละ ๗ คือ จักขุวิญเญยยรูป ฯลฯ มโนธาตุ
วิญเญยย
รูป มโนวิญญาณธาตุวิญเญยยรูป รูปขันธ์หมวดละ ๗ ด้วย
ประการฉะนี้
[๔๐] รูปขันธ์หมวดละ ๘ คือ จักขุวิญเญยยรูป ฯลฯ สุข
สัมผัสส-
*กายวิญเญยยรูป ทุกขสัมผัสสกายวิญเญยยรูป มโนธาตุ
วิญเญยยรูป มโนวิญญาณ-
*ธาตุวิญเญยยรูป รูปขันธ์หมวดละ ๘ ด้วยประการฉะนี้
[๔๑] รูปขันธ์หมวดละ ๙ คือ จักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินท
รีย์
ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ รูปไม่
เป็นอินทรีย์
รูปขันธ์หมวดละ ๙ ด้วยประการฉะนี้
[๔๒] รูปขันธ์หมวดละ ๑๐ คือ จักขุนทรีย์ ฯลฯ ชีวิตินทรีย์ รูป
ไม่
เป็นอินทรีย์เป็นสัปปฏิฆะ รูปไม่เป็นอินทรีย์เป็นอัปปฏิฆะ รูป
ขันธ์หมวดละ ๑๐
ด้วยประการฉะนี้
[๔๓] รูปขันธ์หมวดละ ๑๑ คือ จักขายตนะ โสตายตนะ ฆาน
ายตนะ
ชิวหายตนะ กายายตนะ รูปายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ
รสายตนะ
โผฏฐัพพายตนะ และรูปที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้นับเนื่องในธัม
มายตนะ รูปขันธ์
หมวดละ ๑๑ ด้วยประการฉะนี้
สภาวธรรมนี้เรียกว่า รูปขันธ์
เวทนาขันธ์
เวทนาขันธ์ เป็นไฉน
[ทุกมูลกวาร ]
[๔๔] เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต
เวทนาขันธ์หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอ
เหตุกะ
เวทนาขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล
เป็น
อัพยากฤต
เวทนาขันธ์หมวดละ ๔ คือ เวทนาขันธ์เป็นกามาวจร เป็นรู
ปาวจร เป็น
อรูปาวจร เป็นอปริยาปันนะ
เวทนาขันธ์หมวดละ ๕ คือ เวทนาขันธ์เป็นสุขินทรีย์ เป็น
ทุกขินทรีย์
เป็นโสมนัสสินทรีย์ เป็นโทมนัสสินทรีย์ เป็นอุเปกขินทรีย์
เวทนาขันธ์หมวดละ ๖ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา โสตสัมผัสส
ชาเวทนา
ฆานสัมผัสสชาเวทนา ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา กายสัมผัสสชา
เวทนา มโน-
*สัมผัสสชาเวทนา เวทนาขันธ์หมวดละ ๖ ด้วยประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๗ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ กาย
สัมผัสสชา
เวทนา มโนธาตุสัมผัสสชาเวทนา มโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชา
เวทนา เวทนา-
*ขันธ์หมวดละ ๗ ด้วยประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๘ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ สุข
กายสัมผัสสชา-
*เวทนา ทุกขกายสัมผัสสชาเวทนา มโนธาตุสัมผัสสชาเวทนา
มโนวิญญาณ-
*ธาตุสัมผัสสชาเวทนา เวทนาขันธ์หมวดละ ๘ ด้วยประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๙ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ กาย
สัมผัสสชา-
*เวทนา มโนธาตุสัมผัสสชาเวทนา กุสลมโนวิญญาณธาตุสัมผัส
สชาเวทนา อกุสล-
*มโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาเวทนา อัพยากตมโนวิญญาณธาตุ
สัมผัสสชาเวทนา
เวทนาขันธ์หมวดละ ๙ ด้วยประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ สุข
กายสัมผัสสชา-
*เวทนา ทุกขกายสัมผัสสชาเวทนา มโนธาตุสัมผัสสชาเวทนา
กุสลมโน-
*วิญญาณธาตุสัมผัสสชาเวทนา อกุสลมโนวิญญาณธาตุสัมผัส
สชาเวทนา อัพยากต-
*มโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาเวทนา เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐
ด้วยประการฉะนี้
[๔๕] เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นสัมผัสส
สัมปยุต. เวทนา-
*ขันธ์หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ.
เวทนาขันธ์หมวดละ
๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นวิบาก เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นเนววิปา
กนวิปากธัมมธรรม
เวทนาขันธ์เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ เป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ
เป็นอนุปาทินนานุ-
*ปาทานิยะ เวทนาขันธ์เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกะ เป็นอสังกิ
ลิฏฐสังกิเลสิกะ เป็น
อสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกะ เวทนาขันธ์เป็นสวิตักกสวิจาระ เป็นอวิ
ตักกวิจารมัตตะ
เป็นอวิตักกาวิจาระ เวทนาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพะ เป็นภา
วนาปหาตัพพะ เป็น
เนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพะ เวทนาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพ
เหตุกะ เป็นภาวนา
ปหาตัพพเหตุกะ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ
เวทนาขันธ์เป็นอาจยคามี
เป็นอปจยคามี เป็นเนวาจยคามีนาปจยคามี เวทนาขันธ์เป็น
เสกขะ เป็นอเสกขะ
เป็นเนวเสกขนาเสกขะ เวทนาขันธ์เป็นปริตตะ เป็นมหัคคตะ
เป็นอัปปมาณะ
เวทนาขันธ์ เป็นปริตตารัมมณะ เป็นมหัคคตารัมมณะ เป็นอัป
ปมาณารัมมณะ
เวทนาขันธ์เป็นหีนะ เป็นมัชฌิมะ เป็นปณีตะ เวทนาขันธ์ เป็น
มิจฉัตตนิยตะ
เป็นสัมมัตตนิยตะ เป็นอนิยตะ เวทนาขันธ์เป็นมัคคารัมมณะ
เป็นมัคคเหตุกะ
เป็นมัคคาธิปติ เวทนาขันธ์เป็นอุปปันนะ เป็นอนุปปันนะ เป็น
อุปปาที เวทนาขันธ์
เป็นอดีต เป็นอนาคต เป็นปัจจุบัน เวทนาขันธ์เป็นอตีตารัมมณะ
เป็นอนาคตา-
*รัมมณะ เป็นปัจจุปปันนารัมมณะ เวทนาขันธ์เป็นอัชฌัตตะ
เป็นพหิทธา เป็น
อัชฌัตตพหิทธา เวทนาขันธ์เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารั
มมณะ เป็น
อัชฌัตตพหิทธารัมมณะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วย
ประการฉะนี้
[๔๖] เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนา-
*ขันธ์หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นเหตุสัมปยุต เป็นเหตุวิปป
ยุต เวทนาขันธ์
เป็นนเหตุสเหตุกะ เป็นนเหตุอเหตุกะ เวทนาขันธ์เป็นโลกิยะ
เป็นโลกุตตระ
เวทนาขันธ์เป็นเกนจิวิญเญยยะ เป็นเกนจินวิญเญยยะ เวทนา
ขันธ์เป็นสาสวะ
เป็นอนาสวะ เวทนาขันธ์เป็นอาสวสัมปยุต เป็นอาสววิปปยุต
เวทนาขันธ์เป็น
อาสววิปปยุตตสาสวะ เป็นอาสววิปปยุตตอนาสวะ เวทนาขันธ์
เป็นสัญโญชนิยะ
เป็นอสัญโญชนิยะ เวทนาขันธ์เป็นสัญโญชนสัมปยุต เป็น
สัญโญชนวิปปยุต
เวทนาขันธ์เป็นสัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยะ เป็นสัญโญชน
วิปปยุตตอสัญโญ-
*ชนิยะ เวทนาขันธ์เป็นคันถนิยะ เป็นอคันถนิยะ เวทนาขันธ์
เป็นคันถสัมปยุต
เป็นคันถวิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นคันถวิปปยุตตคันถนิยะ เป็น
คันถวิปปยุตตอคันถ-
*นิยะ เวทนาขันธ์เป็นโอฆนิยะ เป็นอโนฆนิยะ เวทนาขันธ์เป็น
โอฆสัมปยุต
เป็นโอฆวิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นโอฆวิปปยุตตโอฆนิยะ เป็นโอฆ
วิปปยุตตอโนฆ-
*นิยะ เวทนาขันธ์เป็นโยคนิยะ เป็นอโยคนิยะ เวทนาขันธ์เป็น
โยคสัมปยุต เป็น
โยควิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นโยควิปปยุตตโยคนิยะ เป็นโยควิปป
ยุตตอโยคนิยะ
เวทนาขันธ์เป็นนีวรณิยะ เป็นอนีวรณิยะ เวทนาขันธ์เป็นนีวรณ
สัมปยุต เป็น
นีวรณวิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นนีวรณวิปปยุตตนีวรณิยะ เป็นนีว
รณวิปปยุตตอนีวร-
*ณิยะ เวทนาขันธ์เป็นปรามัฏฐะ เป็นอปรามัฏฐะ เวทนาขันธ์
เป็นปรามาสสัมปยุต
เป็นปรามาสวิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นปรามาสวิปปยุตตปรามั
ฏฐะ เป็นปรามาส -
*วิปปยุตตอปรามัฏฐะ เวทนาขันธ์เป็นอุปาทินนะ เป็นอนุปาทิน
นะ เวทนาขันธ์เป็น
อุปาทานิยะ เป็นอนุปาทานิยะ เวทนาขันธ์เป็นอุปาทานสัมปยุต
เป็นอุปาทานวิปปยุต
เวทนาขันธ์เป็นอุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยะ เป็นอุปาทา
นวิปปยุตตอนุปาทานิยะ
เป็นอุปาทานวิปปยุตตอนุปาทานิยะ เวทนาขันธ์เป็นสังกิเลสิกะ
เป็นอสังกิเลสิกะ
เวทนาขันธ์เป็นสังกิลิฏฐะ เป็นอสังกิลิฏฐะ เวทนาขันธ์เป็นกิเลส
สัมปยุต
เป็นกิเลสวิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นกิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกะ
เป็นกิเลส-
*วิปปยุตตอสังกิเลสิกะ เวทนาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพะ เป็น
นทัสสนปหาตัพพะ
เวทนาขันธ์ เป็นภาวนาปหาตัพพะ เป็นนภาวนาปหาตัพพะ
เวทนาขันธ์เป็นทัสสน
ปหาตัพพเหตุกะ เป็นนทัสสนปหาตัพพเหตุกะ เวทนาขันธ์เป็น
ภาวนาปหาตัพพ-
*เหตุกะ เป็นนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ เวทนาขันธ์เป็นสวิตักกะ
เป็นอวิตักกะ
เวทนาขันธ์เป็นสวิจาระ เป็นอวิจาระ เวทนาขันธ์เป็นสัปปีติกะ
เป็นอัปปีติกะ
เวทนาขันธ์เป็นปีติสหคตะ เป็นนปีติสหคตะ เวทนาขันธ์เป็นกา
มาวจร เป็น
นกามาวจร เวทนาขันธ์เป็นรูปาวจร เป็นนรูปาวจร เวทนาขันธ์
เป็นอรูปาวจร
เป็นนอรูปาวจร เวทนาขันธ์เป็นปริยาปันนะ เป็นอปริยาปันนะ
เวทนาขันธ์เป็น
นิยยานิกะ เป็นอนิยยานิกะ เวทนาขันธ์เป็นนิยตะ เป็นอนิยต
เวทนาขันธ์เป็น
สอุตตระ เป็นอนุตตระ เวทนาขันธ์เป็นสรณะ เป็นอรณะ เวทนา
ขันธ์หมวด
ละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต ฯลฯ
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้
[๔๗] เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสส
สัมปยุต. เวทนา-
*ขันธ์หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสรณะ เป็นอรณะ เวทนา
ขันธ์หมวดละ ๓
คือ เวทนาขันธ์เป็นวิบาก เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นเนววิปากนวิ
ปากธัมมธรรม
ฯลฯ เวทนาขันธ์เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารัมมณะ เป็น
อัชฌัตตพหิทธา-
*รัมมณะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้
ทุกมูลกวาร จบ
[ติกมูลกวาร ]
[๔๘] เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสส
สัมปยุต. เวทนา-
*ขันธ์หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ
เวทนาขันธ์หมวด
ละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต ฯลฯ
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสรณะ เป็นอรณะ. เวทนาขันธ์
หมวดละ ๓ คือ
เวทนาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต ฯลฯ เวทนาขันธ์
หมวดละ ๑๐
ด้วยประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ เวทนา
ขันธ์หมวดละ ๓
คือ เวทนาขันธ์เป็นวิบาก เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นเนววิปากนวิ
ปากธัมมธรรม
ฯลฯ เวทนาขันธ์เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารัมมณะ เป็น
อัชฌัตตพหิทธา-
*รัมมณะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสรณะ เป็นอรณะ เวทนาขันธ์
หมวดละ ๓
คือ เวทนาขันธ์เป็นวิบาก เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นเนววิปากนวิ
ปากธัมม -
*ธรรม ฯลฯ เวทนาขันธ์เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารั
มมณะ เป็นอัชฌัตต-
*พหิทธารัมมณะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการ
ฉะนี้
ติกมูลกวาร จบ
[อุภโตวัฑฒกวาร]
[๔๙] เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสส
สัมปยุต.
เวทนาขันธ์หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต
ฯลฯ เวทนา
ขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นเหตุสัมปยุต เป็นเหตุวิปปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นวิบาก เป็นวิปากธัมมธรรม เป็น
เนววิปากนวิปาก -
*ธัมมธรรม ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นนเหตุสเหตุกะ เป็นนเหตุอเหตุ
กะ เวทนาขันธ์
หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ เป็นอนุปา
ทินนุปาทานิยะ
เป็นอนุปาทินนานุปาทานิยะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วย
ประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นโลกิยะ เป็นโลกุตตระ . เวทนา
ขันธ์หมวดละ
๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกะ เป็นอสังกิลิฏฐสัง
กิเลสิกะ เป็น
อสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วย
ประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นเกนจิวิญเญยยะ เป็นเกนจิ
นวิญเญยยะ เวทนา-
*ขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นสวิตักกสวิจาระ เป็นอวิตัก
กวิจารมัตตะ
เป็นอวิตักกาวิจาระ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการ
ฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสาสวะ เป็นอนาสวะ. เวทนาขันธ์
หมวดละ ๓
คือ เวทนาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพะ เป็นภาวนาปหาตัพพะ
เป็นเนวทัสสน
นภาวนาปหาตัพพะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการ
ฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นอาสวสัมปยุต เป็นอาสววิปปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพเหตุกะ เป็นภา
วนาปหาตัพพ-
*เหตุกะ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ ฯลฯ เวทนา
ขันธ์หมวดละ ๑๐
ด้วยประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นอาสววิปปยุตตสาสวะ เป็นอาสว
วิปปยุตตอนาสวะ .
เวทนาขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นอาจยคามี เป็นอปจย
คามี เป็น
เนวาจยคามินาปจยคามี ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วย
ประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสัญโญชนิยะ เป็นอสัญโญชนิยะ
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นเสกขะ เป็นอเสกขะ เป็นเนว
เสกขนาเสกขะ ฯลฯ
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสัญโญชนสัมปยุต เป็นสัญโญชน
วิปปยุต
เวทนาขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นปริตตะ เป็นมหัคคตะ
เป็นอัปปมาณะ
ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยะ
เป็นสัญโญชน
วิปปยุตตอสัญโญชนิยะ เวทนาขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์
เป็นปริตตารัมมณะ
เป็นมหัคคตารัมมณะ เป็นอัปปมาณารัมมณะ ฯลฯ เวทนาขันธ์
หมวดละ ๑๐ ด้วย
ประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นคันถนิยะ เป็นอคันถนิยะ. เวทนา
ขันธ์หมวดละ ๓
คือ เวทนาขันธ์เป็นหีนะ เป็นมัชฌิมะ เป็นปณีตะ ฯลฯ เวทนา
ขันธ์หมวดละ ๑๐
ด้วยประการฉะนี้
เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต.
เวทนาขันธ์
หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นคันถสัมปยุต เป็นคันถวิปปยุต.
เวทนาขันธ์
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕

More Related Content

What's hot

พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทPadvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๙
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๙พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๙
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๙Rose Banioki
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมjune_yenta4
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒Rose Banioki
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาSuraphat Honark
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3Onpa Akaradech
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 

What's hot (19)

พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๙
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๙พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๙
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๙
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๒
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
คำนำทำ 4
คำนำทำ 4คำนำทำ 4
คำนำทำ 4
 

Viewers also liked

Colombiano
ColombianoColombiano
ColombianoNMONGUI7
 
20131105_PH_EVENT_V1_wentao
20131105_PH_EVENT_V1_wentao20131105_PH_EVENT_V1_wentao
20131105_PH_EVENT_V1_wentaoCatherine Li
 
Existentialism & Finance
Existentialism & FinanceExistentialism & Finance
Existentialism & Financescaramango
 
1 hojas de registro atletismo y olimpismo
1 hojas de registro atletismo y olimpismo1 hojas de registro atletismo y olimpismo
1 hojas de registro atletismo y olimpismoSilvia Garcia Fresneda
 
20110310 zenc kennisnet presentatie missing link v7
20110310 zenc kennisnet presentatie missing link v720110310 zenc kennisnet presentatie missing link v7
20110310 zenc kennisnet presentatie missing link v7Peter Keur
 
Clinical Governance
Clinical GovernanceClinical Governance
Clinical GovernanceMartin Jack
 
Background of Pakistan Economy a historical perspective
Background of Pakistan Economy a historical perspectiveBackground of Pakistan Economy a historical perspective
Background of Pakistan Economy a historical perspectiveAyesha Majid
 
Anomalies of accomodation ‫‬
Anomalies of accomodation ‫‬Anomalies of accomodation ‫‬
Anomalies of accomodation ‫‬Ayat AbuJazar
 

Viewers also liked (13)

Colombiano
ColombianoColombiano
Colombiano
 
20131105_PH_EVENT_V1_wentao
20131105_PH_EVENT_V1_wentao20131105_PH_EVENT_V1_wentao
20131105_PH_EVENT_V1_wentao
 
Existentialism & Finance
Existentialism & FinanceExistentialism & Finance
Existentialism & Finance
 
1 hojas de registro atletismo y olimpismo
1 hojas de registro atletismo y olimpismo1 hojas de registro atletismo y olimpismo
1 hojas de registro atletismo y olimpismo
 
Algoritmo de...
Algoritmo de...Algoritmo de...
Algoritmo de...
 
20110310 zenc kennisnet presentatie missing link v7
20110310 zenc kennisnet presentatie missing link v720110310 zenc kennisnet presentatie missing link v7
20110310 zenc kennisnet presentatie missing link v7
 
Ciclos del carbon
Ciclos del carbonCiclos del carbon
Ciclos del carbon
 
Historia de un pepe
Historia de un pepeHistoria de un pepe
Historia de un pepe
 
Effective communication
Effective communicationEffective communication
Effective communication
 
Clinical Governance
Clinical GovernanceClinical Governance
Clinical Governance
 
Background of Pakistan Economy a historical perspective
Background of Pakistan Economy a historical perspectiveBackground of Pakistan Economy a historical perspective
Background of Pakistan Economy a historical perspective
 
Anomalies of accomodation ‫‬
Anomalies of accomodation ‫‬Anomalies of accomodation ‫‬
Anomalies of accomodation ‫‬
 
Braintraining101
Braintraining101Braintraining101
Braintraining101
 

Similar to พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕

ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑Rose Banioki
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาOnpa Akaradech
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdfmaruay songtanin
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf
๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf
๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypracticeTongsamut vorasan
 

Similar to พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕ (20)

ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
 
๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf
๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf
๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
 

More from Rose Banioki

Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนSpm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนRose Banioki
 
2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire HathawayRose Banioki
 
Techinque mutual-fund
Techinque mutual-fundTechinque mutual-fund
Techinque mutual-fundRose Banioki
 
หนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาหนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาRose Banioki
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foodsRose Banioki
 
Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Rose Banioki
 
Iphone user guide th
Iphone user guide thIphone user guide th
Iphone user guide thRose Banioki
 
The differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceThe differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceRose Banioki
 
Toilets pierre daspe
Toilets pierre daspeToilets pierre daspe
Toilets pierre daspeRose Banioki
 
Pps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaPps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaRose Banioki
 
Photos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauPhotos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauRose Banioki
 

More from Rose Banioki (20)

Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนSpm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
 
2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway
 
Instant tax
Instant taxInstant tax
Instant tax
 
Techinque mutual-fund
Techinque mutual-fundTechinque mutual-fund
Techinque mutual-fund
 
หนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาหนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญา
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foods
 
Thaifood table
Thaifood tableThaifood table
Thaifood table
 
Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7
 
Iphone user guide th
Iphone user guide thIphone user guide th
Iphone user guide th
 
P4
P4P4
P4
 
P3
P3P3
P3
 
P1
P1P1
P1
 
To myfriends
To myfriendsTo myfriends
To myfriends
 
The differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceThe differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greece
 
Toilets pierre daspe
Toilets pierre daspeToilets pierre daspe
Toilets pierre daspe
 
Tibet
TibetTibet
Tibet
 
Pps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaPps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_bea
 
Photosdutempspass
PhotosdutempspassPhotosdutempspass
Photosdutempspass
 
Photo mix7
Photo mix7Photo mix7
Photo mix7
 
Photos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauPhotos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobau
 

พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๕

  • 1. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ ตอนที่ ๑ พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๒ วิภังค ปกรณ์ ขอนอบน้อมแ ด่พระผู้มีพระภาคอร หันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ๑. ขันธวิภังค์ สุตตันตภาชนีย์ [๑] ขันธ์ ๕ คือ ๑. รูปขันธ์ ๒. เวทนาขันธ์ ๓. สัญญาขันธ์ ๔. สังขารขันธ์ ๕. วิญญาณขันธ์ รูปขันธ์ [๒] ในขันธ์ ๕ นั้น รูปขันธ์ เป็นไฉน รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ รูปอดีต รูปอนาคต รูปปัจจุบัน รูป ภายใน รูปภายนอก รูปหยาบ รูปละเอียด รูปทราม รูปประณีต
  • 2. รูปไกล รูปใกล้ ประมวลย่อเข้าเป็นกองเดียวกัน นี้เรียกว่ารูป ขันธ์ [๓] ในรูปขันธ์นั้น รูปอดีต เป็นไฉน รูปใด ล่วงไปแล้ว ดับแล้ว ปราศไปแล้ว แปรไปแล้ว ถึงความ ดับ แล้ว ถึงความดับสิ้นแล้ว ที่เกิดขึ้นแล้วปราศไปแล้ว ที่เป็นอดีต สงเคราะห์เข้า กับส่วนอดีต ได้แก่มหาภูตรูป ๔ และอุปาทายรูปที่อาศัย มหาภูตรูป ๔ นี้เรียกว่า รูปอดีต รูปอนาคต เป็นไฉน รูปใด ยังไม่เกิด ยังไม่เป็น ยังไม่เกิดพร้อม ยังไม่บังเกิด ยังไม่ บังเกิดยิ่ง ยังไม่ปรากฏ ยังไม่เกิดขึ้น ยังไม่เกิดขึ้นพร้อม ยังไม่ ตั้งขึ้น ยังไม่ ตั้งขึ้นพร้อม ที่เป็นอนาคตสงเคราะห์เข้ากับส่วนอนาคต ได้แก่ มหาภูตรูป ๔ และ อุปาทายรูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ นี้เรียกว่ารูปอนาคต รูปปัจจุบัน เป็นไฉน รูปใด เกิดแล้ว เป็นแล้ว เกิดพร้อมแล้ว บังเกิดแล้ว บังเกิดยิ่ง แล้ว ปรากฏแล้ว เกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นพร้อมแล้ว ตั้งขึ้นแล้ว ตั้งขึ้น พร้อมแล้ว ที่ เป็นปัจจุบันสงเคราะห์เข้ากับส่วนปัจจุบัน ได้แก่มหาภูตรูป ๔ และอุปาทายรูปที่
  • 3. อาศัยมหาภูตรูป ๔ นี้เรียกว่ารูปปัจจุบัน [๔] รูปภายใน เป็นไฉน รูปใด ของสัตว์นั้นๆ เอง ซึ่งมีในตน เฉพาะตน เกิดในตน เฉพาะ บุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่มหาภูต รูป ๔ และ อุปาทายรูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ นี้เรียกว่ารูปภายใน รูปภายนอก เป็นไฉน รูปใด ของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นนั้นๆ ซึ่งมีในตน เฉพาะตน เกิดในตน เฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่ มหาภูตรูป ๔ และ อุปาทายรูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ นี้เรียกว่ารูปภายนอก [๕] รูปหยาบ เป็นไฉน จักขายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ กายาย ตนะ รูปายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ นี้เรียกว่า รูปหยาบ รูปละเอียด เป็นไฉน อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ กายวิญญัติ วจีวิญญัติ อา กาสธาตุ รูปลหุตา รูปมุทุตา รูปกัมมัญญตา รูปอุปจยะ รูปสันตติ รูปชร ตา รูปอนิจจตา กวฬิงการาหาร นี้เรียกว่ารูปละเอียด
  • 4. [๖] รูปทราม เป็นไฉน รูปใด ของสัตว์นั้นๆ ที่น่าดูหมิ่น น่าเหยียดหยาม น่าเกลียด น่า ตำาหนิ ไม่น่ายกย่อง ทราม รู้กันว่าทราม สมมติกันว่าทราม ไม่ น่าปรารถนา ไม่น่ารัก ไม่น่าชอบใจ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ นี้ เรียกว่า รูปทราม รูปประณีต เป็นไฉน รูปใด ของสัตว์นั้นๆ ที่ไม่น่าดูหมิ่น ไม่น่าเหยียดหยาม ไม่น่า เกลียด ไม่น่าตำาหนิ น่ายกย่อง ประณีต รู้กันว่าประณีต สมมติกันว่า ประณีต น่า ปรารถนา น่ารัก น่าชอบใจ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ นี้ เรียกว่ารูปประณีต หรือพึงทราบรูปทรามรูปประณีต โดยอาศัยเทียบเคียงรู ปนั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป [๗] รูปไกล เป็นไฉน อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร หรือรูปแม้อื่นใดมีอยู่ในที่ไม่ ใกล้ ใน ที่ไม่ใกล้ชิด ในที่ไกล ในที่ไม่ใช่ใกล้ นี้เรียกว่ารูปไกล รูปใกล้ เป็นไฉน
  • 5. จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ หรือรูปแม้อื่นใดมีอยู่ในที่ ใกล้เคียง ในที่ใกล้ชิด ในที่ไม่ไกล ในที่ใกล้ นี้เรียกว่ารูปใกล้ หรือพึงทราบรูปไกลรูปใกล้ โดยอาศัยเทียบเคียงรูปนั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป เวทนาขันธ์ [๘] เวทนาขันธ์ เป็นไฉน เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ เวทนาอดีต เวทนาอนาคต เวทนา ปัจจุบัน เวทนาภายใน เวทนาภายนอก เวทนาหยาบ เวทนา ละเอียด เวทนาทราม เวทนาประณีต เวทนาไกล เวทนาใกล้ ประมวลย่อเข้าเป็นกองเดียวกัน นี้เรียกว่าเวทนาขันธ์ [๙] ในเวทนาขันธ์นั้น เวทนาอดีต เป็นไฉน เวทนาใด ล่วงไปแล้ว ดับแล้ว ปราศไปแล้ว แปรไปแล้ว ถึง ความ ดับแล้ว ถึงความสิ้นแล้ว ที่เกิดขึ้นแล้วปราศไปแล้ว ที่เป็นอดีต สงเคราะห์เข้า กับส่วนอดีต ได้แก่สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา นี้ เรียกว่าเวทนาอดีต เวทนาอนาคต เป็นไฉน เวทนาใด ยังไม่เกิด ยังไม่เป็น ยังไม่เกิดพร้อม ยังไม่บังเกิด ยังไม่ บังเกิดยิ่ง ยังไม่ปรากฏ ยังไม่เกิดขึ้น ยังไม่เกิดขึ้นพร้อม ยังไม่ ตั้งขึ้น ยังไม่
  • 6. ตั้งขึ้นพร้อม ที่เป็นอนาคตสงเคราะห์เข้ากับส่วนอนาคต ได้แก่ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา นี้เรียกว่า เวทนาอนาคต เวทนาปัจจุบัน เป็นไฉน เวทนาใด เกิดแล้ว เป็นแล้ว เกิดพร้อมแล้ว บังเกิดแล้ว บังเกิดยิ่ง แล้ว ปรากฏแล้ว เกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นพร้อมแล้ว ตั้งขึ้นแล้ว ตั้ง ขึ้นพร้อมแล้ว ที่เป็นปัจจุบันสงเคราะห์เข้ากับส่วนปัจจุบัน ได้แก่ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา นี้เรียกว่าเวทนาปัจจุบัน [๑๐] เวทนาภายใน เป็นไฉน เวทนาใด ของสัตว์นั้นๆ เองซึ่งมีในตน เฉพาะตน เกิดในตน เฉพาะ บุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่ สุข เวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา นี้เรียกว่าเวทนาภายใน เวทนาภายนอก เป็นไฉน เวทนาใด ของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นนั้นๆ ซึ่งมีในตน เฉพาะ ตน เกิด ในตน มีเฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา นี้เรียกว่าเวทนา ภายนอก
  • 7. [๑๑] เวทนาหยาบ เวทนาละเอียด เป็นไฉน อกุศลเวทนาเป็นเวทนาหยาบ กุศลเวทนาและอัพยากต เวทนาเป็นเวทนา ละเอียด กุศลเวทนาและอกุศลเวทนาเป็นเวทนาหยาบ อัพยาก ตเวทนาเป็นเวทนา ละเอียด ทุกขเวทนาเป็นเวทนาหยาบ สุขเวทนาและอทุกขมสุข เวทนาเป็นเวทนา ละเอียด สุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นเวทนาหยาบ อทุกขมสุข เวทนาเป็นเวทนา ละเอียด เวทนาของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็นเวทนาหยาบ เวทนา ของผู้เข้าสมาบัติเป็น เวทนาละเอียด เวทนาที่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นเวทนา หยาบ เวทนาที่ไม่เป็น อารมณ์ของอาสวะเป็นเวทนาละเอียด หรือพึงทราบเวทนาหยาบเวทนาละเอียด โดยอาศัยเทียบ เคียงเวทนานั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป [๑๒] เวทนาทราม เวทนาประณีต เป็นไฉน อกุศลเวทนาเป็นเวทนาทราม กุศลเวทนาและอัพยากต เวทนาเป็นเวทนา ประณีต กุศลเวทนาและอกุศลเวทนาเป็นเวทนาทราม อัพยาก ตเวทนาเป็นเวทนา ประณีต ทุกขเวทนาเป็นเวทนาทราม สุขเวทนาและอทุกขมสุข เวทนาเป็นเวทนา
  • 8. ประณีต สุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นเวทนาทราม อทุกขมสุข เวทนาเป็นเวทนา ประณีต เวทนาของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็นเวทนาทราม เวทนาของ ผู้เข้าสมาบัติเป็น เวทนาประณีต เวทนาที่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นเวทนา ทราม เวทนาที่ไม่เป็น อารมณ์ของอาสวะเป็นเวทนาประณีต หรือพึงทราบเวทนาทรามเวทนาประณีต โดยอาศัยเทียบ เคียงเวทนานั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป [๑๓] เวทนาไกล เป็นไฉน อกุศลเวทนาไกลจากกุศลเวทนาและอัพยากตเวทนา กุศล เวทนาและ อัพยากตเวทนาเป็นเวทนาไกลจากอกุศลเวทนา กุศลเวทนา เป็นเวทนาไกลจาก อกุศลเวทนาและอัพยากตเวทนา อกุศลเวทนาและอัพยากต เวทนาเป็นเวทนาไกล จากกุศลเวทนา อัพยากตเวทนาเป็นเวทนาไกลจากกุศลเวทนา และอกุศลเวทนา กุศลเวทนาและอกุศลเวทนาเป็นเวทนาไกลจากอัพยากต เวทนา ทุกขเวทนาเป็น เวทนาไกลจากสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนา สุขเวทนาและอ ทุกขมสุขเวทนาเป็น
  • 9. เวทนาไกลจากทุกขเวทนา สุขเวทนาเป็นเวทนาไกลจากทุกข เวทนาและอทุกขม สุขเวทนา ทุกขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็นเวทนาไกลจาก สุขเวทนา อทุกขม- *สุขเวทนาเป็นเวทนาไกลจากสุขเวทนาและทุกขเวทนา สุข เวทนาและทุกขเวทนา เป็นเวทนาไกลจากอทุกขมสุขเวทนา เวทนาของผู้ไม่เข้า สมาบัติเป็นเวทนาไกลจาก เวทนาของผู้เข้าสมาบัติ เวทนาของผู้เข้าสมาบัติเป็นเวทนาไกล จากเวทนาของผู้ไม่ เข้าสมาบัติ เวทนาที่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นเวทนาไกลจาก เวทนาที่ไม่เป็น อารมณ์ของอาสวะ เวทนาที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็น เวทนาไกลจากเวทนาที่ เป็นอารมณ์ของอาสวะ นี้เรียกว่าเวทนาไกล เวทนาใกล้ เป็นไฉน อกุศลเวทนาเป็นเวทนาใกล้กับอกุศลเวทนา กุศลเวทนาเป็น เวทนาใกล้ กับกุศลเวทนา อัพยากตเวทนาเป็นเวทนาใกล้กับอัพยากต เวทนา ทุกขเวทนาเป็น เวทนาใกล้กับทุกขเวทนา สุขเวทนาเป็นเวทนาใกล้กับสุข เวทนา อทุกขมสุข- *เวทนาเป็นเวทนาใกล้กับอทุกขมสุขเวทนา เวทนาของผู้ไม่เข้า สมาบัติเป็นเวทนา
  • 10. ใกล้กับเวทนาของผู้ไม่เข้าสมาบัติ เวทนาของผู้เข้าสมาบัติเป็น เวทนาใกล้กับเวทนา ของผู้เข้าสมาบัติ เวทนาที่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นเวทนา ใกล้กับเวทนาที่เป็น อารมณ์ของอาสวะ เวทนาที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็น เวทนาใกล้กับเวทนาที่ไม่ เป็นอารมณ์ของอาสวะ นี้เรียกว่าเวทนาใกล้ หรือพึงทราบเวทนาไกลเวทนาใกล้ โดยอาศัยเทียบเคียงเวท นานั้นๆ เป็น ชั้นๆ ไป สัญญาขันธ์ [๑๔] สัญญาขันธ์ เป็นไฉน สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ สัญญาอดีต สัญญาอนาคต สัญญาปัจจุบัน สัญญาภายใน สัญญาภายนอก สัญญาหยาบ สัญญาละเอียด สัญญาทราม สัญญาประณีต สัญญาไกล สัญญาใกล้ ประมวลย่อเข้าเป็นกองเดียวกัน นี้เรียกว่าสัญญา ขันธ์ [๑๕] ในสัญญาขันธ์ นั้น สัญญาอดีต เป็นไฉน สัญญาใด ล่วงไปแล้ว ดับแล้ว ปราศไปแล้ว แปรไปแล้ว ถึง ความ ดับแล้ว ถึงความสิ้นแล้ว ที่เกิดขึ้นแล้วปราศไปแล้ว ที่เป็นอดีต สงเคราะห์เข้า กับส่วนอดีต ได้แก่จักขุสัมผัสสชาสัญญา โสตสัมผัสสชาสัญญา ฆานสัมผัสสชา
  • 11. สัญญา ชิวหาสัมผัสสชาสัญญา กายสัมผัสสชาสัญญา มโน สัมผัสสชาสัญญา นี้เรียกว่าสัญญาอดีต สัญญาอนาคต เป็นไฉน สัญญาใด ยังไม่เกิด ยังไม่เป็น ยังไม่เกิดพร้อม ยังไม่บังเกิด ยังไม่บังเกิดยิ่ง ยังไม่ปรากฏ ยังไม่เกิดขึ้น ยังไม่เกิดขึ้นพร้อม ยังไม่ตั้งขึ้น ยังไม่ตั้งขึ้นพร้อม ที่เป็นอนาคตสงเคราะห์เข้ากับส่วนอนาคต ได้แก่ จักขุ- *สัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาสัญญา นี้เรียกว่าสัญญา อนาคต สัญญาปัจจุบัน เป็นไฉน สัญญาใด เกิดแล้ว เป็นแล้ว เกิดพร้อมแล้ว บังเกิดแล้ว บังเกิดยิ่งแล้ว ปรากฏแล้ว เกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นพร้อมแล้ว ตั้งขึ้นแล้ว ตั้งขึ้น พร้อมแล้ว ที่เป็นปัจจุบันสงเคราะห์เข้ากับส่วนปัจจุบัน ได้แก่ จักขุสัมผัสส ชาสัญญา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาสัญญา นี้เรียกว่าสัญญาปัจจุบัน [๑๖] สัญญาภายใน เป็นไฉน สัญญาใด ของสัตว์นั้นๆ เอง ซึ่งมีในตน เฉพาะตน เกิดในตน เฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่ จักขุสัมผัสสชา- *สัญญา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาสัญญา นี้เรียกว่าสัญญาภายใน
  • 12. สัญญาภายนอก เป็นไฉน สัญญาใด ของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นนั้นๆ ซึ่งมีในตน เฉพาะ ตน เกิด ในตน เฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่ จักขุสัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาสัญญา นี้เรียกว่า สัญญาภายนอก [๑๗] สัญญาหยาบ สัญญาละเอียด เป็นไฉน สัญญาอันเกิดแต่ปฏิฆสัมผัส (คือสัญญาเกิดแต่ปัญจทวาร) เป็นสัญญา หยาบ สัญญาอันเกิดแต่อธิวจนสัมผัส (คือสัญญาเกิดแต่มโน ทวาร) เป็นสัญญา ละเอียด อกุศลสัญญาเป็นสัญญาหยาบ กุศลสัญญาและอัพยาก ตสัญญาเป็น สัญญาละเอียด กุศลสัญญาและอกุศลสัญญาเป็นสัญญาหยาบ อัพยากตสัญญา เป็นสัญญาละเอียด สัญญาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสัญญา หยาบ สัญญาที่ สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็นสัญญาละเอียด สัญญาที่สัมปยุต ด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นสัญญาหยาบ สัญญาที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข เวทนาเป็นสัญญาละเอียด สัญญาของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็น สัญญาหยาบ สัญญา
  • 13. ของผู้เข้าสมาบัติเป็นสัญญาละเอียด สัญญาที่เป็นอารมณ์ของ อาสวะเป็นสัญญา หยาบ สัญญาที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสัญญาละเอียด หรือพึงทราบสัญญาหยาบสัญญาละเอียด โดยอาศัยเทียบ เคียงสัญญา นั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป [๑๘] สัญญาทราม สัญญาประณีต เป็นไฉน อกุศลสัญญาเป็นสัญญาทราม กุศลสัญญาและอัพยากต สัญญาเป็นสัญญา ประณีต กุศลสัญญาและอกุศลสัญญาเป็นสัญญาทราม อัพยาก ตสัญญาเป็น สัญญาประณีต สัญญาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นสัญญา ทราม สัญญาที่ สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็นสัญญาประณีต สัญญาที่สัมปยุต ด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นสัญญาทราม สัญญาที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข เวทนาเป็นสัญญาประณีต สัญญาของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็น สัญญาทราม สัญญาของ ผู้เข้าสมาบัติเป็นสัญญาประณีต สัญญาที่เป็นอารมณ์ของอา สวะเป็นสัญญาทราม สัญญาที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสัญญาประณีต หรือพึงทราบสัญญาทรามสัญญาประณีต โดยอาศัยเทียบ เคียงสัญญานั้นๆ
  • 14. เป็นชั้นๆ ไป [๑๙] สัญญาไกล เป็นไฉน อกุศลสัญญาเป็นสัญญาไกลจากกุศลสัญญาและอัพยากต สัญญา กุศล สัญญาและอัพยากตสัญญาเป็นสัญญาไกลจากอกุศลสัญญา กุศลสัญญาเป็นสัญญา ไกลจากอกุศลสัญญาและอัพยากตสัญญา อกุศลสัญญาและอัพ ยากตสัญญาเป็น สัญญาไกลจากกุศลสัญญา อัพยากตสัญญาเป็นสัญญาไกลจาก กุศลสัญญาและ อกุศลสัญญา กุศลสัญญาและอกุศลสัญญาเป็นสัญญาไกลจา กอัพยากตสัญญา สัญญาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่ สัมปยุตด้วยสุขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา สัญญาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุก ขมสุขเวทนาเป็น สัญญาไกลจากสัญญาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สัญญาที่ สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาและอทุก ขมสุขเวทนา สัญญาที่ สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนา เป็นสัญญาไกล จากสัญญาที่สัมปยุต ด้วยสุขเวทนา สัญญาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็น สัญญาไกลจากสัญญา
  • 15. ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนา สัญญาที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนาและทุกข- *เวทนาเป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข เวทนา สัญญาของผู้ไม่ เข้าสมาบัติเป็นสัญญาไกลจากสัญญาของผู้เข้าสมาบัติ สัญญา ของผู้เข้าสมาบัติ เป็นสัญญาไกลจากสัญญาของผู้ไม่เข้าสมาบัติ สัญญาที่เป็น อารมณ์ของอาสวะ เป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สัญญาที่ ไม่เป็นอารมณ์ของ อาสวะเป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่เป็นอารมณ์ของอาสวะ นี้ เรียกว่าสัญญาไกล สัญญาใกล้ เป็นไฉน อกุศลสัญญาเป็นสัญญาใกล้กับอกุศลสัญญา กุศลสัญญา เป็นสัญญา ใกล้กับกุศลสัญญา อัพยากตสัญญาเป็นสัญญาใกล้กับอัพยากต สัญญา สัญญาที่ สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนา สัญญา ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนา สัญญา ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข
  • 16. เวทนา สัญญาของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาของ ผู้ไม่เข้าสมาบัติ สัญญาของผู้เข้าสมาบัติเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาของผู้เข้า สมาบัติ สัญญาที่เป็น อารมณ์ของอาสวะเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาที่เป็นอารมณ์ของ อาสวะ สัญญาที่ ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสัญญาใกล้กับสัญญาที่ไม่เป็น อารมณ์ของอาสวะ นี้ เรียกว่าสัญญาใกล้ หรือพึงทราบสัญญาไกลสัญญาใกล้ โดยอาศัยเทียบเคียง สัญญานั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป สังขารขันธ์ [๒๐] สังขารขันธ์ เป็นไฉน สังขารเหล่าใดเหล่าหนึ่ง คือ สังขารอดีต สังขารอนาคต สังขาร ปัจจุบัน สังขารภายใน สังขารภายนอก สังขารหยาบ สังขาร ละเอียด สังขารทราม สังขารประณีต สังขารไกล สังขารใกล้ ประมวลย่อ เข้าเป็น กองเดียวกัน นี้เรียกว่าสังขารขันธ์ [๒๑] ในสังขารขันธ์นั้น สังขารอดีต เป็นไฉน สังขารเหล่าใด ล่วงไปแล้ว ดับแล้ว ปราศไปแล้ว แปรไปแล้ว ถึง
  • 17. ความดับแล้ว ถึงความสิ้นแล้ว ที่เกิดขึ้นแล้วปราศไปแล้ว ที่เป็น อดีตสงเคราะห์ เข้ากับส่วนอดีต ได้แก่ จักขุสัมผัสสชาเจตนา โสตสัมผัสสชา เจตนา ฆานสัม- *ผัสสชาเจตนา ชิวหาสัมผัสสชาเจตนา กายสัมผัสสชาเจตนา มโนสัมผัสสชา เจตนา นี้เรียกว่าสังขารอดีต สังขารอนาคต เป็นไฉน สังขารเหล่าใด ยังไม่เกิด ยังไม่เป็น ยังไม่พร้อม ยังไม่บังเกิด ยังไม่ บังเกิดยิ่ง ยังไม่ปรากฏ ยังไม่เกิดขึ้น ยังไม่เกิดขึ้นพร้อม ยังไม่ ตั้งขึ้น ยังไม่ตั้งขึ้น พร้อม ที่เป็นอนาคตสงเคราะห์เข้ากับส่วนอนาคต ได้แก่ จักขุ สัมผัสสชาเจตนา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาเจตนา นี้เรียกว่าสังขารอนาคต สังขารปัจจุบัน เป็นไฉน สังขารเหล่าใด เกิดแล้ว เป็นแล้ว เกิดพร้อมแล้ว บังเกิดแล้ว บังเกิด ยิ่งแล้ว ปรากฏแล้ว เกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นพร้อมแล้ว ตั้งขึ้นแล้ว ตั้งขึ้นพร้อมแล้ว ที่เป็นปัจจุบันสงเคราะห์เข้ากับส่วนปัจจุบัน ได้แก่ จักขุสัมผัสส ชาเจตนา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาเจตนา นี้เรียกว่าสังขารปัจจุบัน [๒๒] สังขารภายใน เป็นไฉน
  • 18. สังขารเหล่าใด ของสัตว์นั้นๆ เอง ซึ่งมีในตน เฉพาะตน เกิด ในตน เฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่ จักขุสัมผัสสชา- *เจตนา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาเจตนา นี้เรียกว่าสังขารภายใน สังขารภายนอก เป็นไฉน สังขารเหล่าใด ของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นนั้นๆ ซึ่งมีในตน เฉพาะตน เกิดในตน เฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึด ครอง ได้แก่ จักขุสัมผัสสชาเจตนา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาเจตนา นี้เรียกว่า สังขารภายนอก [๒๓] สังขารหยาบ สังขารละเอียด เป็นไฉน อกุศลสังขารเป็นสังขารหยาบ กุศลสังขารและอัพยากต สังขารเป็นสังขาร ละเอียด กุศลสังขารและอกุศลสังขารเป็นสังขารหยาบ อัพยาก ตสังขารเป็น สังขารละเอียด สังขารที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสังขาร หยาบ สังขารที่ สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็นสังขารละเอียด สังขารที่สัมปยุต ด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นสังขารหยาบ สังขารที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข-
  • 19. *เวทนาเป็นสังขารละเอียด สังขารของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็น สังขารหยาบ สังขาร ของผู้เข้าสมาบัติเป็นสังขารละเอียด สังขารที่เป็นอารมณ์ของ อาสวะเป็นสังขาร หยาบ สังขารที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสังขารละเอียด หรือพึงทราบสังขารหยาบสังขารละเอียด โดยอาศัยเทียบ เคียงสังขาร นั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป [๒๔] สังขารทราม สังขารประณีต เป็นไฉน อกุศลสังขารเป็นสังขารทราม กุศลสังขารและอัพยากต สังขารเป็นสังขาร ประณีต กุศลสังขารและอกุศลสังขารเป็นสังขารทราม อัพยาก ตสังขารเป็น สังขารประณีต สังขารที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสังขาร ทราม สังขารที่ สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็นสังขารประณีต สังขารที่สัมปยุต ด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นสังขารทราม สังขารที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข- *เวทนาเป็นสังขารประณีต สังขารของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็น สังขารทราม สังขาร ของผู้เข้าสมาบัติเป็นสังขารประณีต สังขารที่เป็นอารมณ์ของ อาสวะเป็นสังขาร ทราม สังขารที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสังขารประณีต
  • 20. หรือพึงทราบสังขารทรามสังขารประณีต โดยอาศัยเทียบ เคียงสังขารนั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป [๒๕] สังขารไกล เป็นไฉน อกุศลสังขารเป็นสังขารไกลจากกุศลสังขารและอัพยากต สังขาร กุศล สังขารและอัพยากตสังขารเป็นสังขารไกลจากอกุศลสังขาร กุศลสังขารเป็นสังขาร ไกลจากอกุศลสังขารและอัพยากตสังขาร อกุศลสังขารและอัพ ยากตสังขารเป็น สังขารไกลจากกุศลสังขาร อัพยากตสังขารเป็นสังขารไกลจาก กุศลสังขารและ อกุศลสังขาร กุศลสังขารและอกุศลสังขารเป็นสังขารไกลจา กอัพยากตสังขาร สังขารที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสังขารไกลจากสังขารที่ สัมปยุตด้วยสุขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา สังขารที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุก ขมสุขเวทนาเป็น สังขารไกลจากสังขารที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สังขารที่ สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นสังขารไกลจากสังขารที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาและอทุกขม สุขเวทนา สังขาร ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็นสังขารไกล จากสังขารที่สัมปยุต
  • 21. ด้วยสุขเวทนา สังขารที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็น สังขารไกลจากสังขาร ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนา สังขารที่สัมปยุตด้วยสุข เวทนาและ ทุกขเวทนาเป็นสังขารไกลจากสังขารที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข เวทนา สังขารของ ผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็นสังขารไกลจากสังขารของผู้เข้าสมาบัติ สังขารของผู้เข้าสมาบัติ เป็นสังขารไกลจากสังขารของผู้ไม่เข้าสมาบัติ สังขารที่เป็น อารมณ์ของอาสวะเป็น สังขารไกลจากสังขารที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สังขารที่ไม่ เป็นอารมณ์ของ อาสวะเป็นสังขารไกลจากสังขารที่เป็นอารมณ์ของอาสวะ นี้ เรียกว่าสังขารไกล สังขารใกล้ เป็นไฉน อกุศลสังขารเป็นสังขารใกล้กับอกุศลสังขาร กุศลสังขารเป็น สังขารใกล้ กับกุศลสังขาร อัพยากตสังขารเป็นสังขารใกล้กับอัพยากต สังขาร สังขารที่ สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสังขารใกล้กับสังขารที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนา สังขาร ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นสังขารใกล้กับสังขารที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนา สังขาร
  • 22. ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นสังขารใกล้กับสังขารที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข- *เวทนา สังขารของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็นสังขารใกล้กับสังขาร ของผู้ไม่เข้าสมาบัติ สังขารของผู้เข้าสมาบัติเป็นสังขารใกล้กับสังขารของผู้เข้า สมาบัติ สังขารที่เป็น อารมณ์ของอาสวะเป็นสังขารใกล้กับสังขารที่เป็นอารมณ์ของ อาสวะ สังขารที่ไม่ เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสังขารใกล้กับสังขารที่ไม่เป็น อารมณ์ของอาสวะ นี้เรียก ว่าสังขารใกล้ หรือพึงทราบสังขารไกลสังขารใกล้ โดยอาศัยเทียบเคียง สังขารนั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป วิญญาณขันธ์ [๒๖] วิญญาณขันธ์ เป็นไฉน วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ วิญญาณอดีต วิญญาณ อนาคต วิญญาณปัจจุบัน วิญญาณภายใน วิญญาณภายนอก วิญญาณ หยาบ วิญญาณละเอียด วิญญาณทราม วิญญาณประณีต วิญญาณ ไกล วิญญาณใกล้ ประมวลย่อเข้าเป็นกองเดียวกัน นี้เรียกว่า วิญญาณขันธ์
  • 23. [๒๗] ในวิญญาณขันธ์นั้น วิญญาณอดีต เป็นไฉน วิญญาณใด ล่วงไปแล้ว ดับแล้ว ปราศไปแล้ว แปรไปแล้ว ถึง ความ ดับแล้ว ถึงความดับสิ้นแล้ว ที่เกิดขึ้นแล้วปราศไปแล้ว ที่เป็น อดีตสงเคราะห์ เข้ากับส่วนอดีต ได้แก่จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหา- *วิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ นี้เรียกว่าวิญญาณอดีต วิญญาณอนาคต เป็นไฉน วิญญาณใด ยังไม่เกิด ยังไม่เป็น ยังไม่เกิดพร้อม ยังไม่บังเกิด ยัง ไม่บังเกิดยิ่ง ยังไม่ปรากฏ ยังไม่เกิดขึ้น ยังไม่เกิดขึ้นพร้อม ยัง ไม่ตั้งขึ้น ยัง ไม่ตั้งขึ้นพร้อม ที่เป็นอนาคตสงเคราะห์เข้ากับส่วนอนาคต ได้แก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ มโนวิญญาณ นี้เรียกว่าวิญญาณอนาคต วิญญาณปัจจุบัน เป็นไฉน วิญญาณใด เกิดแล้ว เป็นแล้ว เกิดพร้อมแล้ว บังเกิดแล้ว บังเกิด ยิ่งแล้ว ปรากฏแล้ว เกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นพร้อมแล้ว ตั้งขึ้นแล้ว ตั้งขึ้นพร้อม แล้ว ที่เป็นปัจจุบันสงเคราะห์เข้ากับส่วนปัจจุบัน ได้แก่จักขุ วิญญาณ ฯลฯ มโน- *วิญญาณ นี้เรียกว่าวิญญาณปัจจุบัน
  • 24. [๒๘] วิญญาณภายใน เป็นไฉน วิญญาณใด ของสัตว์นั้นๆ เองซึ่งมีในตน เฉพาะตน เกิดใน ตน เฉพาะ บุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่จักขุ วิญญาณ ฯลฯ มโนวิญญาณ นี้เรียกว่าวิญญาณภายใน วิญญาณภายนอก เป็นไฉน วิญญาณใด ของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นนั้นๆ ซึ่งมีในตน เฉพาะ ตน เกิด ในตน เฉพาะบุคคล อันกรรมที่สัมปยุตด้วยตัณหาทิฐิยึดครอง ได้แก่จักขุ- *วิญญาณ ฯลฯ มโนวิญญาณ นี้เรียกว่าวิญญาณภายนอก [๒๙] วิญญาณหยาบ วิญญาณละเอียด เป็นไฉน อกุศลวิญญาณเป็นวิญญาณหยาบ กุศลวิญญาณและอัพยาก ตวิญญาณเป็น วิญญาณละเอียด กุศลวิญญาณและอกุศลวิญญาณเป็น วิญญาณหยาบ อัพยากต- *วิญญาณเป็นวิญญาณละเอียด วิญญาณที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนาเป็นวิญญาณหยาบ วิญญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็น วิญญาณละเอียด วิญญาณ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นวิญญาณหยาบ วิญญาณที่สัมปยุตด้วย
  • 25. อทุกขมสุขเวทนาเป็นวิญญาณละเอียด วิญญาณของผู้ไม่เข้า สมาบัติเป็นวิญญาณ หยาบ วิญญาณของผู้เข้าสมาบัติเป็นวิญญาณละเอียด วิญญาณ ที่เป็นอารมณ์ของ อาสวะเป็นวิญญาณหยาบ วิญญาณที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ เป็นวิญญาณละเอียด หรือพึงทราบวิญญาณหยาบวิญญาณละเอียด โดยอาศัย เทียบเคียงวิญญาณ นั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป [๓๐] วิญญาณทราม วิญญาณประณีต เป็นไฉน อกุศลวิญญาณเป็นวิญญาณทราม กุศลวิญญาณและอัพยาก ตวิญญาณเป็น วิญญาณประณีต กุศลวิญญาณและอกุศลวิญญาณเป็น วิญญาณทราม อัพยากต- *วิญญาณเป็นวิญญาณประณีต วิญญาณที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนาเป็นวิญญาณทราม วิญญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็น วิญญาณประณีต วิญญาณ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นวิญญาณทราม วิญญาณที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนาเป็นวิญญาณประณีต วิญญาณของผู้ไม่เข้า สมาบัติเป็นวิญญาณ ทราม วิญญาณของผู้เข้าสมาบัติเป็นวิญญาณประณีต วิญญาณ ที่เป็นอารมณ์ของ
  • 26. อาสวะเป็นวิญญาณทราม วิญญาณที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ เป็นวิญญาณประณีต หรือพึงทราบวิญญาณทรามวิญญาณประณีต โดยอาศัย เทียบเคียงวิญญาณ นั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป [๓๑] วิญญาณไกล เป็นไฉน อกุศลวิญญาณเป็นวิญญาณไกลจากกุศลวิญญาณ และอัพ ยากตวิญญาณ กุศลวิญญาณและอัพยากตวิญญาณเป็นวิญญาณไกลจากอกุศล วิญญาณ กุศลวิญญาณ เป็นวิญญาณไกลจากอกุศลวิญญาณและอัพยากตวิญญาณ อกุศลวิญญาณและ อัพยากตวิญญาณเป็นวิญญาณไกลจากกุศลวิญญาณ อัพยากต วิญญาณเป็นวิญญาณ ไกลจากกุศลวิญญาณและอกุศลวิญญาณ กุศลวิญญาณและ อกุศลวิญญาณเป็น วิญญาณไกลจากอัพยากตวิญญาณ วิญญาณที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนาเป็นวิญญาณ ไกลจากวิญญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนา วิญญาณที่สัมปยุต ด้วยสุขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา เป็นวิญญาณไกลจาก วิญญาณที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนา วิญญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นวิญญาณไกล จากวิญญาณที่สัมปยุต
  • 27. ด้วยทุกขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนา วิญญาณที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนาและ อทุกขมสุขเวทนาเป็นวิญญาณไกลจากวิญญาณที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนา วิญญาณที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นวิญญาณไกลจากวิญญาณที่ สัมปยุตด้วยสุขเวทนา และทุกขเวทนา วิญญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและ ทุกขเวทนาเป็นวิญญาณไกล จากวิญญาณที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา วิญญาณของผู้ไม่ เข้าสมาบัติเป็น วิญญาณไกลจากวิญญาณของผู้เข้าสมาบัติ วิญญาณของผู้เข้า สมาบัติเป็นวิญญาณ ไกลจากวิญญาณของผู้ไม่เข้าสมาบัติ วิญญาณที่เป็นอารมณ์ ของอาสวะเป็นวิญญาณ ไกลจากวิญญาณที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ วิญญาณที่ไม่เป็น อารมณ์ของอาสวะ เป็นวิญญาณไกลจากวิญญาณที่เป็นอารมณ์ของอาสวะ นี้เรียก ว่าวิญญาณไกล วิญญาณใกล้ เป็นไฉน อกุศลวิญญาณเป็นวิญญาณใกล้กับอกุศลวิญญาณ กุศล วิญญาณเป็น วิญญาณใกล้กับกุศลวิญญาณ อัพยากตวิญญาณเป็นวิญญาณ ใกล้กับอัพยากตวิญญาณ
  • 28. วิญญาณที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นวิญญาณใกล้กับ วิญญาณที่สัมปยุตด้วยทุกข- *เวทนา วิญญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นวิญญาณใกล้กับ วิญญาณที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนา วิญญาณที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็น วิญญาณใกล้กับวิญญาณที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา วิญญาณของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็น วิญญาณใกล้กับ วิญญาณของผู้ไม่เข้าสมาบัติ วิญญาณของผู้เข้าสมาบัติเป็น วิญญาณใกล้กับวิญญาณ ของผู้เข้าสมาบัติ วิญญาณที่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็น วิญญาณใกล้กับวิญญาณที่ เป็นอารมณ์ของอาสวะ วิญญาณที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ เป็นวิญญาณใกล้กับ วิญญาณที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ นี้เรียกว่าวิญญาณใกล้ หรือพึงทราบวิญญาณไกลวิญญาณใกล้ โดยอาศัยเทียบ เคียงวิญญาณนั้นๆ เป็นชั้นๆ ไป สุตตันตภาชนีย์ จบ อภิธรรมภาชนีย์ [๓๒] ขันธ์ ๕ คือ ๑. รูปขันธ์ ๒. เวทนาขันธ์ ๓. สัญญาขันธ์
  • 29. ๔. สังขารขันธ์ ๕. วิญญาณขันธ์ รูปขันธ์ ในขันธ์ ๕ นั้น รูปขันธ์ เป็นไฉน [๓๓] รูปขันธ์หมวดละ ๑ คือ รูปทั้งหมด เป็นนเหตุ เป็นอเหตุ กะ เป็นเหตุวิปปยุต เป็นสัปปัจจยะ เป็นสังขตะ เป็นรูป เป็นโลกิยะ เป็นสาสวะ เป็นสัญโญชนิยะ เป็นคันถนิยะ เป็นโอฆนิยะ เป็นโยคนิยะ เป็น นีวรณิยะ เป็นปรามัฏฐะ เป็นอุปาทานิยะ เป็นสังกิเลสิกะ เป็นอัพยากฤต เป็นอนารัมมณะ เป็นอเจตสิกะ เป็นจิตตวิปปยุต เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นอสังกิลิฏฐ- *สังกิเลสิกะ เป็นนสวิตักกสวิจาระ เป็นนอวิตักกวิจารมัตตะ เป็นอวิตักกอวิจาระ เป็นนปีติสหคตะ เป็นนสุขสหคตะ เป็นนอุเปกขาสหคตะ เป็น เนวทัสสนนภาวนา ปหาตัพพะ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ เป็นเน วาจยคามินาปจยคามี เป็นเนวเสกขนาเสกขะ เป็นปริตตะ เป็นกามาวจร เป็นนรูปาว จร เป็นนอรูปาวจร เป็นปริยาปันนะ เป็นนอปริยาปันนะ เป็นอนิยตะ เป็นอนิยยานิ กะ เป็นอุป-
  • 30. *ปันนฉวิญญาณวิญเญยยะ เป็นอนิจจะ เป็นชราภิภูตะ รูปขันธ์ หมวดละ ๑ ด้วย ประการฉะนี้ [๓๔] รูปขันธ์หมวดละ ๒ คือ รูปเป็นอุปาทา รูปเป็นอนุปาทา รูป เป็นอุปาทินนะ รูปเป็นอนุปาทินนะ รูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะ รูปเป็น อนุปาทินนุปาทานิยะ รูปเป็นสนิทัสสนะ รูปเป็นอนิทัสสนะ รูป เป็นสัปปฏิฆะ รูปเป็นอัปปฏิฆะ รูปเป็นอินทรีย์ รูปไม่เป็นอินทรีย์ รูปเป็น มหาภูต รูปไม่เป็น มหาภูต รูปเป็นวิญญัตติ รูปไม่เป็นวิญญัตติ รูปเป็นจิตต สมุฏฐาน รูปไม่เป็น จิตตสมุฏฐาน รูปเป็นจิตตสหภู รูปไม่เป็นจิตตสหภู รูปเป็นจิต ตานุปริวัตติ รูป ไม่เป็นจิตตานุปริวัตติ รูปเป็นอัชฌัตติกะ รูปเป็นพาหิระ รูปเป็น โอฬาริกะ รูป เป็นสุขุมะ รูปเป็นทูเร รูปเป็นสันติเก ฯลฯ รูปเป็นกวฬิงการา หาร รูปไม่เป็น กวฬิงการาหาร รูปขันธ์หมวดละ ๒ ด้วยประการฉะนี้ [๓๕] รูปขันธ์หมวดละ ๓ คือ อัชฌัตติกรูปเป็นอุปาทา พาหิร รูปเป็น อุปาทา พาหิรรูปเป็นอนุปาทา อัชฌัตติกรูปเป็นอุปาทินนะ พาหิ รรูปเป็นอุปาทินนะ
  • 31. พาหิรรูปเป็นอนุปาทินนะ อัชฌัตติกรูปเป็นอุปาทินนุปาทานิยะ พาหิรรูปเป็นอุปา- *ทินนุปาทานิยะ พาหิรรูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ ฯลฯ อัชฌัต ติกรูปไม่เป็น กวฬิงการาหาร พาหิรรูปเป็นกวฬิงการาหาร พาหิรรูปไม่เป็นก วฬิงการาหาร รูป ขันธ์หมวดละ ๓ ด้วยประการฉะนี้ [๓๖] รูปขันธ์หมวดละ ๔ คือ อุปาทารูปเป็นอุปาทินนะ อุปา ทารูปเป็น อนุปาทินนะ อนุปาทารูปเป็นอุปาทินนะ อนุปาทารูปเป็นอนุปา ทินนะ อุปาทารูป เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ อุปาทารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ อนุปาทารูปเป็น อุปาทินนุปาทานิยะ อนุปาทารูปเป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ อุปา ทารูปเป็นสัปปฏิฆะ อุปาทารูปเป็นอัปปฏิฆะ อนุปาทารูปเป็นสัปปฏิฆะ อนุปาทารูป เป็นอัปปฏิฆะ อุปาทารูปเป็นโอฬาริกะ อุปาทารูปเป็นสุขุมะ อนุปาทารูปเป็น โอฬาริกะ อนุปาทา- *รูปเป็นสุขุมะ อุปาทารูปเป็นทูเร อุปาทารูปเป็นสันติเก อนุปา ทารูปเป็นทูเร อนุปาทารูปเป็นสันติเก ฯลฯ ทิฏฐรูป สุตรูป มุตรูป วิญญาตรูป รูปขันธ์ หมวดละ ๔ ด้วยประการฉะนี้
  • 32. [๓๗] รูปขันธ์หมวดละ ๕ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโย- *ธาตุ อุปาทารูป รูปขันธ์หมวดละ ๕ ด้วยประการฉะนี้ [๓๘] รูปขันธ์หมวดละ ๖ คือ จักขุวิญเญยยรูป โสตวิญเญยย รูป ฆานวิญเญยยรูป ชิวหาวิญเญยยรูป กายวิญเญยยรูป มโน วิญเญยยรูป รูปขันธ์ หมวดละ ๖ ด้วยประการฉะนี้ [๓๙] รูปขันธ์หมวดละ ๗ คือ จักขุวิญเญยยรูป ฯลฯ มโนธาตุ วิญเญยย รูป มโนวิญญาณธาตุวิญเญยยรูป รูปขันธ์หมวดละ ๗ ด้วย ประการฉะนี้ [๔๐] รูปขันธ์หมวดละ ๘ คือ จักขุวิญเญยยรูป ฯลฯ สุข สัมผัสส- *กายวิญเญยยรูป ทุกขสัมผัสสกายวิญเญยยรูป มโนธาตุ วิญเญยยรูป มโนวิญญาณ- *ธาตุวิญเญยยรูป รูปขันธ์หมวดละ ๘ ด้วยประการฉะนี้ [๔๑] รูปขันธ์หมวดละ ๙ คือ จักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินท รีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ รูปไม่ เป็นอินทรีย์ รูปขันธ์หมวดละ ๙ ด้วยประการฉะนี้ [๔๒] รูปขันธ์หมวดละ ๑๐ คือ จักขุนทรีย์ ฯลฯ ชีวิตินทรีย์ รูป ไม่
  • 33. เป็นอินทรีย์เป็นสัปปฏิฆะ รูปไม่เป็นอินทรีย์เป็นอัปปฏิฆะ รูป ขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ [๔๓] รูปขันธ์หมวดละ ๑๑ คือ จักขายตนะ โสตายตนะ ฆาน ายตนะ ชิวหายตนะ กายายตนะ รูปายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ และรูปที่เห็นไม่ได้กระทบไม่ได้นับเนื่องในธัม มายตนะ รูปขันธ์ หมวดละ ๑๑ ด้วยประการฉะนี้ สภาวธรรมนี้เรียกว่า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ เวทนาขันธ์ เป็นไฉน [ทุกมูลกวาร ] [๔๔] เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต เวทนาขันธ์หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอ เหตุกะ เวทนาขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็น อัพยากฤต เวทนาขันธ์หมวดละ ๔ คือ เวทนาขันธ์เป็นกามาวจร เป็นรู ปาวจร เป็น อรูปาวจร เป็นอปริยาปันนะ
  • 34. เวทนาขันธ์หมวดละ ๕ คือ เวทนาขันธ์เป็นสุขินทรีย์ เป็น ทุกขินทรีย์ เป็นโสมนัสสินทรีย์ เป็นโทมนัสสินทรีย์ เป็นอุเปกขินทรีย์ เวทนาขันธ์หมวดละ ๖ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา โสตสัมผัสส ชาเวทนา ฆานสัมผัสสชาเวทนา ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา กายสัมผัสสชา เวทนา มโน- *สัมผัสสชาเวทนา เวทนาขันธ์หมวดละ ๖ ด้วยประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๗ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ กาย สัมผัสสชา เวทนา มโนธาตุสัมผัสสชาเวทนา มโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชา เวทนา เวทนา- *ขันธ์หมวดละ ๗ ด้วยประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๘ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ สุข กายสัมผัสสชา- *เวทนา ทุกขกายสัมผัสสชาเวทนา มโนธาตุสัมผัสสชาเวทนา มโนวิญญาณ- *ธาตุสัมผัสสชาเวทนา เวทนาขันธ์หมวดละ ๘ ด้วยประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๙ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ กาย สัมผัสสชา- *เวทนา มโนธาตุสัมผัสสชาเวทนา กุสลมโนวิญญาณธาตุสัมผัส สชาเวทนา อกุสล- *มโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาเวทนา อัพยากตมโนวิญญาณธาตุ สัมผัสสชาเวทนา
  • 35. เวทนาขันธ์หมวดละ ๙ ด้วยประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ สุข กายสัมผัสสชา- *เวทนา ทุกขกายสัมผัสสชาเวทนา มโนธาตุสัมผัสสชาเวทนา กุสลมโน- *วิญญาณธาตุสัมผัสสชาเวทนา อกุสลมโนวิญญาณธาตุสัมผัส สชาเวทนา อัพยากต- *มโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาเวทนา เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ [๔๕] เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นสัมผัสส สัมปยุต. เวทนา- *ขันธ์หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ. เวทนาขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นวิบาก เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นเนววิปา กนวิปากธัมมธรรม เวทนาขันธ์เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ เป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ เป็นอนุปาทินนานุ- *ปาทานิยะ เวทนาขันธ์เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกะ เป็นอสังกิ ลิฏฐสังกิเลสิกะ เป็น อสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกะ เวทนาขันธ์เป็นสวิตักกสวิจาระ เป็นอวิ ตักกวิจารมัตตะ เป็นอวิตักกาวิจาระ เวทนาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพะ เป็นภา วนาปหาตัพพะ เป็น
  • 36. เนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพะ เวทนาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพ เหตุกะ เป็นภาวนา ปหาตัพพเหตุกะ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ เวทนาขันธ์เป็นอาจยคามี เป็นอปจยคามี เป็นเนวาจยคามีนาปจยคามี เวทนาขันธ์เป็น เสกขะ เป็นอเสกขะ เป็นเนวเสกขนาเสกขะ เวทนาขันธ์เป็นปริตตะ เป็นมหัคคตะ เป็นอัปปมาณะ เวทนาขันธ์ เป็นปริตตารัมมณะ เป็นมหัคคตารัมมณะ เป็นอัป ปมาณารัมมณะ เวทนาขันธ์เป็นหีนะ เป็นมัชฌิมะ เป็นปณีตะ เวทนาขันธ์ เป็น มิจฉัตตนิยตะ เป็นสัมมัตตนิยตะ เป็นอนิยตะ เวทนาขันธ์เป็นมัคคารัมมณะ เป็นมัคคเหตุกะ เป็นมัคคาธิปติ เวทนาขันธ์เป็นอุปปันนะ เป็นอนุปปันนะ เป็น อุปปาที เวทนาขันธ์ เป็นอดีต เป็นอนาคต เป็นปัจจุบัน เวทนาขันธ์เป็นอตีตารัมมณะ เป็นอนาคตา- *รัมมณะ เป็นปัจจุปปันนารัมมณะ เวทนาขันธ์เป็นอัชฌัตตะ เป็นพหิทธา เป็น อัชฌัตตพหิทธา เวทนาขันธ์เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารั มมณะ เป็น อัชฌัตตพหิทธารัมมณะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วย ประการฉะนี้
  • 37. [๔๖] เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนา- *ขันธ์หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นเหตุสัมปยุต เป็นเหตุวิปป ยุต เวทนาขันธ์ เป็นนเหตุสเหตุกะ เป็นนเหตุอเหตุกะ เวทนาขันธ์เป็นโลกิยะ เป็นโลกุตตระ เวทนาขันธ์เป็นเกนจิวิญเญยยะ เป็นเกนจินวิญเญยยะ เวทนา ขันธ์เป็นสาสวะ เป็นอนาสวะ เวทนาขันธ์เป็นอาสวสัมปยุต เป็นอาสววิปปยุต เวทนาขันธ์เป็น อาสววิปปยุตตสาสวะ เป็นอาสววิปปยุตตอนาสวะ เวทนาขันธ์ เป็นสัญโญชนิยะ เป็นอสัญโญชนิยะ เวทนาขันธ์เป็นสัญโญชนสัมปยุต เป็น สัญโญชนวิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นสัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยะ เป็นสัญโญชน วิปปยุตตอสัญโญ- *ชนิยะ เวทนาขันธ์เป็นคันถนิยะ เป็นอคันถนิยะ เวทนาขันธ์ เป็นคันถสัมปยุต เป็นคันถวิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นคันถวิปปยุตตคันถนิยะ เป็น คันถวิปปยุตตอคันถ- *นิยะ เวทนาขันธ์เป็นโอฆนิยะ เป็นอโนฆนิยะ เวทนาขันธ์เป็น โอฆสัมปยุต เป็นโอฆวิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นโอฆวิปปยุตตโอฆนิยะ เป็นโอฆ วิปปยุตตอโนฆ-
  • 38. *นิยะ เวทนาขันธ์เป็นโยคนิยะ เป็นอโยคนิยะ เวทนาขันธ์เป็น โยคสัมปยุต เป็น โยควิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นโยควิปปยุตตโยคนิยะ เป็นโยควิปป ยุตตอโยคนิยะ เวทนาขันธ์เป็นนีวรณิยะ เป็นอนีวรณิยะ เวทนาขันธ์เป็นนีวรณ สัมปยุต เป็น นีวรณวิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นนีวรณวิปปยุตตนีวรณิยะ เป็นนีว รณวิปปยุตตอนีวร- *ณิยะ เวทนาขันธ์เป็นปรามัฏฐะ เป็นอปรามัฏฐะ เวทนาขันธ์ เป็นปรามาสสัมปยุต เป็นปรามาสวิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นปรามาสวิปปยุตตปรามั ฏฐะ เป็นปรามาส - *วิปปยุตตอปรามัฏฐะ เวทนาขันธ์เป็นอุปาทินนะ เป็นอนุปาทิน นะ เวทนาขันธ์เป็น อุปาทานิยะ เป็นอนุปาทานิยะ เวทนาขันธ์เป็นอุปาทานสัมปยุต เป็นอุปาทานวิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นอุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยะ เป็นอุปาทา นวิปปยุตตอนุปาทานิยะ เป็นอุปาทานวิปปยุตตอนุปาทานิยะ เวทนาขันธ์เป็นสังกิเลสิกะ เป็นอสังกิเลสิกะ เวทนาขันธ์เป็นสังกิลิฏฐะ เป็นอสังกิลิฏฐะ เวทนาขันธ์เป็นกิเลส สัมปยุต เป็นกิเลสวิปปยุต เวทนาขันธ์เป็นกิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกะ เป็นกิเลส-
  • 39. *วิปปยุตตอสังกิเลสิกะ เวทนาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพะ เป็น นทัสสนปหาตัพพะ เวทนาขันธ์ เป็นภาวนาปหาตัพพะ เป็นนภาวนาปหาตัพพะ เวทนาขันธ์เป็นทัสสน ปหาตัพพเหตุกะ เป็นนทัสสนปหาตัพพเหตุกะ เวทนาขันธ์เป็น ภาวนาปหาตัพพ- *เหตุกะ เป็นนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ เวทนาขันธ์เป็นสวิตักกะ เป็นอวิตักกะ เวทนาขันธ์เป็นสวิจาระ เป็นอวิจาระ เวทนาขันธ์เป็นสัปปีติกะ เป็นอัปปีติกะ เวทนาขันธ์เป็นปีติสหคตะ เป็นนปีติสหคตะ เวทนาขันธ์เป็นกา มาวจร เป็น นกามาวจร เวทนาขันธ์เป็นรูปาวจร เป็นนรูปาวจร เวทนาขันธ์ เป็นอรูปาวจร เป็นนอรูปาวจร เวทนาขันธ์เป็นปริยาปันนะ เป็นอปริยาปันนะ เวทนาขันธ์เป็น นิยยานิกะ เป็นอนิยยานิกะ เวทนาขันธ์เป็นนิยตะ เป็นอนิยต เวทนาขันธ์เป็น สอุตตระ เป็นอนุตตระ เวทนาขันธ์เป็นสรณะ เป็นอรณะ เวทนา ขันธ์หมวด ละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต ฯลฯ เวทนาขันธ์ หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้
  • 40. [๔๗] เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสส สัมปยุต. เวทนา- *ขันธ์หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสรณะ เป็นอรณะ เวทนา ขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นวิบาก เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นเนววิปากนวิ ปากธัมมธรรม ฯลฯ เวทนาขันธ์เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารัมมณะ เป็น อัชฌัตตพหิทธา- *รัมมณะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ ทุกมูลกวาร จบ [ติกมูลกวาร ] [๔๘] เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสส สัมปยุต. เวทนา- *ขันธ์หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ เวทนาขันธ์หมวด ละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต ฯลฯ เวทนาขันธ์ หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสรณะ เป็นอรณะ. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต ฯลฯ เวทนาขันธ์ หมวดละ ๑๐
  • 41. ด้วยประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ เวทนา ขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นวิบาก เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นเนววิปากนวิ ปากธัมมธรรม ฯลฯ เวทนาขันธ์เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารัมมณะ เป็น อัชฌัตตพหิทธา- *รัมมณะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสรณะ เป็นอรณะ เวทนาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นวิบาก เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นเนววิปากนวิ ปากธัมม - *ธรรม ฯลฯ เวทนาขันธ์เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารั มมณะ เป็นอัชฌัตต- *พหิทธารัมมณะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการ ฉะนี้ ติกมูลกวาร จบ [อุภโตวัฑฒกวาร] [๔๙] เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสส สัมปยุต.
  • 42. เวทนาขันธ์หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ เวทนาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต ฯลฯ เวทนา ขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นเหตุสัมปยุต เป็นเหตุวิปปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นวิบาก เป็นวิปากธัมมธรรม เป็น เนววิปากนวิปาก - *ธัมมธรรม ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นนเหตุสเหตุกะ เป็นนเหตุอเหตุ กะ เวทนาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ เป็นอนุปา ทินนุปาทานิยะ เป็นอนุปาทินนานุปาทานิยะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วย ประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นโลกิยะ เป็นโลกุตตระ . เวทนา ขันธ์หมวดละ
  • 43. ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกะ เป็นอสังกิลิฏฐสัง กิเลสิกะ เป็น อสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วย ประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นเกนจิวิญเญยยะ เป็นเกนจิ นวิญเญยยะ เวทนา- *ขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นสวิตักกสวิจาระ เป็นอวิตัก กวิจารมัตตะ เป็นอวิตักกาวิจาระ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการ ฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสาสวะ เป็นอนาสวะ. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพะ เป็นภาวนาปหาตัพพะ เป็นเนวทัสสน นภาวนาปหาตัพพะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการ ฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นอาสวสัมปยุต เป็นอาสววิปปยุต. เวทนาขันธ์
  • 44. หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพเหตุกะ เป็นภา วนาปหาตัพพ- *เหตุกะ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ ฯลฯ เวทนา ขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นอาสววิปปยุตตสาสวะ เป็นอาสว วิปปยุตตอนาสวะ . เวทนาขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นอาจยคามี เป็นอปจย คามี เป็น เนวาจยคามินาปจยคามี ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วย ประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสัญโญชนิยะ เป็นอสัญโญชนิยะ เวทนาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นเสกขะ เป็นอเสกขะ เป็นเนว เสกขนาเสกขะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสัญโญชนสัมปยุต เป็นสัญโญชน วิปปยุต
  • 45. เวทนาขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นปริตตะ เป็นมหัคคตะ เป็นอัปปมาณะ ฯลฯ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นสัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยะ เป็นสัญโญชน วิปปยุตตอสัญโญชนิยะ เวทนาขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์ เป็นปริตตารัมมณะ เป็นมหัคคตารัมมณะ เป็นอัปปมาณารัมมณะ ฯลฯ เวทนาขันธ์ หมวดละ ๑๐ ด้วย ประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นคันถนิยะ เป็นอคันถนิยะ. เวทนา ขันธ์หมวดละ ๓ คือ เวทนาขันธ์เป็นหีนะ เป็นมัชฌิมะ เป็นปณีตะ ฯลฯ เวทนา ขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ เวทนาขันธ์หมวดละ ๑ คือ เวทนาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. เวทนาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ เวทนาขันธ์เป็นคันถสัมปยุต เป็นคันถวิปปยุต. เวทนาขันธ์