SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
1
พระประวัติในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก
ตอนที่ ๒ ปัจเจกพุทธาปทาน
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๒ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
๒. ปัจเจกพุทธาปทาน
ประวัติในอดีตชาติของพระปัจเจกพุทธเจ้า
เกริ่นนา
พระอานนท์ ทูลถามพระตถาคตผู้ประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหารว่า ข้าแต่พระธีรเจ้า ได้
ทราบว่า พระปัจเจกพุทธเจ้ามีอยู่ พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้น อุบัติขึ้นเพราะเหตุอะไร
(ต่อไปนี้ ขอให้ท่านทั้งหลายจงฟังประวัติในอดีตชาติของพระปัจเจกพุทธเจ้า)
[๘๓] พระอานนทเถระ ผู้เป็นมุนีชาวแคว้นวิเทหะ น้อมกายลง ทูลถามพระตถาคตผู้ประทับอยู่ ณ
พระเชตวันมหาวิหารว่า ข้าแต่พระธีรเจ้า ได้ทราบว่า พระปัจเจกพุทธเจ้ามีอยู่ พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้น
ผู้เป็นนักปราชญ์ อุบัติขึ้นเพราะเหตุอะไร
[๘๔] ลาดับนั้น พระสัพพัญญูผู้ประเสริฐ ผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ ได้ตรัสกับพระอานนท์ผู้เจริญ
ด้วยพระสุรเสียงที่ไพเราะว่า ธีรชนเหล่าใดได้สั่งสมกุศลสมภารไว้ในพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ ยังไม่ได้ความ
หลุดพ้นจากกิเลสในศาสนาของพระชินเจ้าทั้งหลาย
[๘๕] เพราะมีความสลดใจนั้นแลเป็นตัวนา ธีรชนเหล่านั้นผู้มีปัญญาแก่กล้าดี ถึงจะเว้นจาก
พระพุทธเจ้า (เว้นจากพระพุทธเจ้า ในที่นี้ หมายถึงเว้นจากคากล่าวสอนและคาพร่าสอนของพระพุทธเจ้า)
ก็ย่อมบรรลุปัจเจกโพธิญาณได้ แม้ด้วยอารมณ์เพียงนิดหน่อย
[๘๖] ในโลกทั้งปวง (โลกทั้งปวง ในที่นี้ หมายถึงโลกทั้ง ๓ คือมนุษยโลก เทวโลก และพรหมโลก)
ยกเว้นเราเสียแล้ว ไม่มีใครเสมอกับพระปัจเจกพุทธเจ้าได้เลย เราจักบอกคุณเพียงสังเขปนี้ ของพระปัจเจก
พุทธเจ้า ผู้เป็นมหามุนีเหล่านั้นอย่างชัดเจน
[๘๗] เธอทุกรูปเมื่อปรารถนาพระนิพพานอันเป็นโอสถวิเศษ มีใจผ่องใสดีแล้ว ก็จงตั้งใจฟัง
ถ้อยคาที่ไพเราะ ดุจน้าผึ้งหยาดน้อยๆ (เกี่ยวกับประวัติ) ของพระปัจเจกพุทธเจ้า ผู้เป็นมหาฤๅษี ผู้ตรัสรู้ได้
เองเถิด
[๘๘] ประวัติในอดีต การพยากรณ์ โทษ เหตุปราศจากความกาหนัดอันใด ของพระปัจเจกพุทธ
เจ้าผู้อุบัติขึ้นแต่ละองค์ๆ และพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายได้บรรลุพระโพธิญาณด้วยเหตุอันใด
2
[๘๙] พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายมีการกาหนดหมาย ในวัตถุที่น่ารักใคร่ (วัตถุที่น่าใคร่ ในที่นี้
หมายถึงวัตถุกามและกิเลสกาม) ว่าปราศจากความน่ารักใคร่ มีจิตคลายกาหนัดในโลกที่มีสภาวะน่า
กาหนัด ละกิเลสที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ชนะทิฏฐิ (ทิฏฐิ ในที่นี้ หมายถึงทิฏฐิ ๖๒) ที่เป็นเหตุให้ดิ้นรนแล้ว ได้
บรรลุพระโพธิญาณเพราะเหตุอันนั้นนั่นเอง
[๙๐] บุคคลยกโทษในสัตว์ทุกจาพวก ไม่เบียดเบียนสัตว์หนึ่งสัตว์ใดในบรรดาสัตว์เหล่านั้น มีจิต
เมตตา หวังประโยชน์เกื้อกูล จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๙๑] (พระปัจเจกพุทธเจ้าองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลยกโทษในสัตว์ทุกจาพวก ไม่เบียดเบียนสัตว์
หนึ่งสัตว์ใดในบรรดาสัตว์เหล่านั้น ก็ไม่ต้องการบุตร(แล้ว) จะพึงต้องการสหายจากไหนเล่า พึงเที่ยวไปผู้
เดียวเหมือนนอแรด
[๙๒] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ความรักย่อมมีแก่ผู้มีความเกี่ยวข้อง ทุกข์นี้ ย่อม
เป็นไปตามความรัก บุคคลเมื่อเพ่งเห็นโทษอันเกิดจากความรัก จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๙๓] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลเมื่ออนุเคราะห์มิตร สหายผู้ใจดี มีใจ
ผูกพัน ย่อมทาประโยชน์ให้เสื่อมประโยชน์ไปได้ บุคคลเมื่อเพ่งเห็นภัยในความเชยชิด จึงประพฤติอยู่ผู้เดียว
เหมือนนอแรด
[๙๔] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) กอไผ่กว้างใหญ่เกาะเกี่ยวกันไว้ฉันใด ความ
ห่วงใยในบุตรและทาระ ก็กว้างใหญ่เกาะเกี่ยวกันไว้ฉันนั้น บุคคลเมื่อไม่เกี่ยวข้องเหมือนหน่อไผ่ จึงประพฤติ
อยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๙๕] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) เนื้ อในป่า มิได้ถูกผูกมัดไว้ย่อมเที่ยวหาอาหารได้
ตามความพอใจฉันใด วิญญูชนเมื่อเพ่งเห็นธรรมที่ให้ถึงความเสรี จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๙๖] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ในท่ามกลางสหาย ย่อมมีการปรึกษากันในเรื่อง
ที่อยู่ เรื่องการดารงตน เรื่องการไป เรื่องการเที่ยวจาริก บุคคลเมื่อเพ่งการบวชที่ให้ถึงความเสรี (การบวชที่
ให้ถึงความเสรี ในที่นี้ หมายถึงเจริญวิปัสสนาแล้วบรรลุปัจเจกโพธิญาณ) ที่พวกคนพาลไม่มุ่งหวัง จึง
ประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๙๗] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ในท่ามกลางสหายย่อมมีการเล่น มีความยินดี
และในบุตรก็ย่อมมีความรักอันไพบูลย์ บุคคลเมื่อรังเกียจความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รัก จึงประพฤติอยู่ผู้
เดียวเหมือนนอแรด
[๙๘] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งเปล่งอุทานว่า) พระปัจเจกพุทธเจ้าแผ่เมตตาไปทั้ง ๔ ทิศ
ไม่ขัดเคือง ยินดีด้วยปัจจัยตามมีตามได้ ครอบงาอันตรายทั้งหลายและไม่หวาดเสียว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียว
เหมือนนอแรด
[๙๙] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) แม้บรรพชิตพวกหนึ่งและคฤหัสถ์ที่กาลังครอง
เรือน ก็สงเคราะห์ยาก บุคคลพึงเป็นผู้ขวนขวายน้อยทั้งในผู้อื่นและในบุตร จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอ
แรด
3
[๑๐๐] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) พระปัจเจกพุทธเจ้าผู้กล้าหาญ ปลงเครื่องหมาย
คฤหัสถ์แล้ว ตัดเครื่องผูกพันของคฤหัสถ์แล้ว เหมือนต้นทองหลางที่ใบร่วงหล่นแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียว
เหมือนนอแรด
[๑๐๑] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ถ้าบุคคลพึงได้สหายผู้มีปัญญารักษาตน เที่ยว
ไปด้วยกัน เป็นสาธุวิหารี เป็นนักปราชญ์ ครอบงาอันตรายทั้งปวงได้แล้ว พึงมีใจแช่มชื่น มีสติ เที่ยวไปกับ
สหายนั้นเถิด
[๑๐๒] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ถ้าบุคคลไม่พึงได้สหายผู้มีปัญญารักษาตน
เที่ยวไปด้วยกัน เป็นสาธุวิหารี เป็นนักปราชญ์ ก็พึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเถิด เหมือนพระราชาทรงละทิ้งแคว้น
ที่ทรงชนะแล้ว ทรงประพฤติอยู่พระองค์เดียว เหมือนช้างมาตังคะละทิ้งโขลงอยู่ตัวเดียวในป่า ฉะนั้น
[๑๐๓] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) เราสรรเสริญสหายสัมปทาโดยแท้ บุคคลควร
คบหาสหายผู้ประเสริฐสุด (หรือ) ผู้เสมอกัน ถ้าบุคคลไม่ได้สหายเหล่านี้ พึงเป็นผู้บริโภคปัจจัยอันไม่มีโทษ
จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๐๔] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลเห็นกาไลทอง ๒ วง อันสุกปลั่ง ที่
ช่างทองทาสาเร็จอย่างดี กระทบกันอยู่ที่ข้อมือแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๐๕] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งเปล่งอุทานว่า) ด้วยอาการอย่างนี้ การกล่าววาจา หรือ
ความเกี่ยวข้องกับเพื่อน พึงมีแก่เรา บุคคลเมื่อเพ่งเห็นภัยนี้ ต่อไป จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๐๖] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) เพราะกามทั้งหลาย (กามทั้งหลาย หมายถึง
กาม ๒ อย่าง คือ วัตถุกามและกิเลสกาม วัตถุกาม ได้แก่ วัตถุภายนอกที่มองเห็นได้มีรูปสวยๆ งามๆ เป็น
ต้น กิเลสกาม ได้แก่ ความปรารถนาแห่งกิเลสมีราคะเป็นต้น) สวยงาม มีรสอร่อย น่ารื่นเริงใจ ยั่วยวนจิต
ด้วยอารมณ์หลายรูปแบบ บุคคลเห็นโทษในกามคุณแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๐๗] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) คาว่า กาม นี้ เป็นอันตราย เป็นดุจฝี เป็น
อุปัททวะ เป็นโรค เป็นดุจลูกศร เป็นภัย (คาว่า กาม ชื่อว่าเป็นอันตราย เพราะนามาซึ่งความฉิบหาย ชื่อว่า
เป็นดุจฝี เพราะหลั่งกิเลสออกมา ชื่อว่าเป็นอุปัททวะ เพราะรบกวน ชื่อว่าเป็นโรค เพราะปล้นเอาความไม่มี
โรคไป ชื่อว่าเป็นดุจลูกศร เพราะเสียดแทงจิตใจและถอนยาก ชื่อว่าเป็นภัย เพราะนามาซึ่งภัยในภพนี้ และ
ภพหน้า) บุคคลเห็นภัยในกามคุณแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๐๘] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลพึงครอบงาภัยทั้งปวงแม้เหล่านี้ คือ
ความหนาว ความร้อน ความหิว ความกระหาย ลม แดด เหลือบ และสัตว์เลื้อยคลาน จึงประพฤติอยู่ผู้เดียว
เหมือนนอแรด
[๑๐๙] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) พระปัจเจกพุทธเจ้าละทิ้งหมู่ มีขันธ์เกิดดีแล้ว มี
ดอกบัว (คือธรรม) เป็นผู้ยิ่งใหญ่อยู่ในป่าตามความชอบใจได้ เหมือนนาคะละทิ้งโขลงแล้วอยู่ในป่าได้ตาม
ความชอบใจ จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๑๐] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลใคร่ครวญถ้อยคาของพระปัจเจกพุทธเจ้า
ผู้เป็นเผ่าพันธุ์แห่งพระอาทิตย์ว่า บุคคลสัมผัสวิมุตติใด ซึ่งเกิดขึ้นตามสมัย (หมายถึง สามยิกวิมุตติ ความ
4
หลุดพ้นเฉพาะสมัยที่จิตแน่วแน่) วิมุตตินั้น เป็นไปไม่ได้สาหรับบุคคลผู้ยินดีการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ดังนี้
แล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๑๑] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ประพฤติล่วงทิฎฐิอันเป็น
เสี้ยนหนาม (ทิฏฐิอันเป็นเสี้ยนหนาม ในที่นี้ หมายถึงทิฏฐิ ๖๒) ถึงนิยาม (ถึงนิยาม ในที่นี้ หมายถึงบรรลุ
โสดาปัตติมรรค) ได้เฉพาะมรรคแล้ว (ได้มรรคแล้ว หมายถึงได้มรรคที่เหลือ (คือ สกทาคามิมรรค
อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค)) เป็นผู้มีญาณอันเกิดขึ้นแล้ว ไม่ต้องให้ผู้อื่นแนะนา จึงประพฤติอยู่ผู้เดียว
เหมือนนอแรด
[๑๑๒] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) เป็นผู้ไม่โลภ ไม่
หลอกลวง ไม่กระหาย ไม่มีความลบหลู่ กาจัดสภาวะ (กิเลสดุจน้าย้อม) และโมหะได้แล้ว เป็นผู้ไม่มี
ความหวังในโลกทั้งปวง จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๑๓] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลพึงละเว้นสหายชั่ว ผู้ไม่เห็นประโยชน์ ผู้
ตั้งอยู่ในธรรมที่ผิด ไม่พึงคบผู้ขวนขวาย และผู้ประมาทด้วยตนเอง จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๑๔] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลพึงคบมิตรผู้ได้ศึกษามาก (ศึกษามาก
หมายถึงศึกษา ๒ อย่าง คือ ศึกษาในปริยัติอันมั่นคงคือพระไตรปิฎก และศึกษาในปฏิเวธอันเป็นเครื่องรู้
แจ้งมรรค ผล วิชชา และอภิญญา) ทรงธรรม ผู้ยิ่งใหญ่ มีปฏิภาณ รู้จักประโยชน์แล้ว พึงกาจัดความสงสัย
ได้ จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๑๕] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า ไม่ชื่นชมการเล่น ความ
ยินดีและความสุขในโลก ไม่ใส่ใจ งดเว้นจากฐานะแห่งการประดับตกแต่ง พูดคาจริง จึงประพฤติอยู่ผู้เดียว
เหมือนนอแรด
[๑๑๖] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ละทิ้งบุตร ภรรยา บิดา
มารดา ทรัพย์ ธัญชาติ พวกพ้อง และกามตามส่วนแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๑๗] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) กามนี้ เป็นเครื่องข้อง มีความสุขน้อย ในกามนี้
มีความยินดีน้อย มีทุกข์มาก ผู้มีปัญญารู้ว่า กามนี้ เป็นดุจขอเหล็กแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๑๘] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ทาลายสังโยชน์แล้ว
เหมือนสัตว์นาทาลายข่าย และเหมือนไฟไหม้เชื้อมอดหมดไปไม่กลับมา จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอ
แรด
[๑๑๙] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ภิกษุเป็นผู้ไม่สอดส่ายจักษุ และไม่เป็นผู้มีเท้า
อยู่ไม่สุข คุ้มครองอินทรีย์ (อินทรีย์ หมายถึงอินทรีย์ ๖ (คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ)) รักษาใจได้แล้ว ไม่
ชุ่มด้วยกิเลส ไฟกิเลสมิได้เผา จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๒๐] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ปลงเครื่องหมายคฤหัสถ์
แล้ว ครองผ้ากาสาวะออกบวช เหมือนต้นทองหลางมีใบทึบ จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
5
[๑๒๑] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ไม่ทาความยินดีในรส ไม่
โลเล ไม่ต้องเลี้ยงคนอื่น เที่ยวบิณฑบาตไปตามลาดับตรอก มีใจไม่ผูกพันในตระกูลต่างๆ จึงประพฤติอยู่ผู้
เดียวเหมือนนอแรด
[๑๒๒] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ละเครื่องกั้นทางใจ ๕
ประการ (เครื่องกั้นทางใจ ๕ ประการ ในที่นี้ หมายถึงนิวรณ์ ๕) ขจัดอุปกิเลส (อุปกิเลส หมายถึงอกุศล
ธรรมที่เข้าไปเบียดเบียนจิต (มี ๑๖ คือ อภิชฌาวิสมโลภะ พยาบาท โกธะ อุปนาหะ มักขะ ปลาสะ อิสสา
มัจฉริยะ มายา สาเถยยะ ถัมภะ สารัมภะ มานะ อติมานะ มทะ ปมาทะ)) แห่งจิตทั้งปวงได้แล้ว ไม่อิงอาศัย
เครื่องอาศัยคือทิฏฐิ ตัดความรักและความชังได้แล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๒๓] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ละสุข และทุกข์ โสมนัส
โทมนัส ก่อนๆ ได้แล้ว ได้อุเบกขาและสมถะอันสะอาดแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๒๔] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ตั้งความเพียรเพื่อบรรลุ
ประโยชน์อย่างยิ่ง มีจิตไม่ย่อหย่อน ไม่ประพฤติเกียจคร้าน มีความบากบั่นมั่นคง เข้าถึงเรี่ยวแรงและกาลัง
แล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๒๕] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ผู้ไม่ละการหลีกเร้น
(การหลีกเร้น ในที่นี้ หมายถึงกายวิเวก สงัดกาย) และฌาน (ฌาน ในที่นี้ หมายถึงจิตตวิเวก สงัดจิต)
ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรมเป็นนิตย์ พิจารณาเห็นโทษในภพแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๒๖] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) เมื่อปรารถนาความสิ้น
ตัณหา ไม่ประมาท ไม่โง่เขลา คงแก่เรียน มีสติ ผู้มีสังขตธรรม ผู้แน่นอน มีความมุ่งมั่น จึงประพฤติอยู่ผู้
เดียวเหมือนนอแรด
[๑๒๗] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ไม่สะดุ้งในเพราะเสียง
เหมือนราชสีห์ ไม่ติดข่ายเหมือนลม ไม่เปียกน้าเหมือนบัว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๒๘] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) พญาสีหราชมีเขี้ยวเป็นกาลัง ข่มขี่ครอบงาเนื้ อ
ทั้งหลายเที่ยวไป ฉันใด พระปัจเจกพุทธเจ้าก็มีปัญญาเป็นกาลัง ครอบงาบุคคลทั้งหลายด้วยปัญญา ใช้สอย
เสนาสนะอันสงัด จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๒๙] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) เสพอาศัยเมตตา กรุณา
มุทิตา และอุเบกขา อันเป็นวิมุตติตามกาล สัตว์โลกทั้งปวงมิได้เกลียดชัง จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอ
แรด
[๑๓๐] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ละราคะ โทสะ และโมหะ
ทาลายสังโยชน์ได้เสีย ไม่สะดุ้งในเวลาสิ้นชีวิต จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
[๑๓๑] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ทุกวันนี้ มิตรทั้งหลายมีประโยชน์เป็นเหตุ จง
คบและเสพด้วย มิตรที่ไม่มุ่งประโยชน์หาได้ยาก มนุษย์ทั้งหลายมีปัญญามุ่งประโยชน์ตน ไม่สะอาด (ไม่
สะอาด ในที่นี้ หมายถึงประกอบด้วยการกระทาทางกาย วาจา และใจ ในทางไม่ดี) พระปัจเจกพุทธเจ้า จึง
ประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
6
[๑๓๒] พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย (พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายกล่าวคาถาเฉพาะคาถาที่ ๙๑-
๑๓๑ ตั้งแต่คาถาที่ ๑๓๒ นี้ เป็นต้นไป พระผู้มีพระภาคตรัสเล่าคุณของพระปัจเจกพุทธเจ้าให้พระอานนท
เถระฟังต่อ) มีศีลบริสุทธิ์ (ด้วยปาริสุทธิศีล ๔) มีปัญญาหมดจดดี มีจิตตั้งมั่น หมั่นประกอบธรรมเป็น
เครื่องตื่น เห็นแจ้ง(ไตรลักษณ์) เห็นธรรมวิเศษ (เห็นธรรมวิเศษ หมายถึงมีปกติเห็นกุศลธรรม ๑๐ สัจ
จธรรม ๔ หรือโลกุตตรธรรม ๙ (คือ มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑) โดยวิเศษ) รู้อยู่โดยพิเศษซึ่งอริยธรรมที่
ประกอบด้วยองค์มรรคและโพชฌงค์
[๑๓๓] ธีรชนเหล่าใดเจริญสุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ และอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ยังไม่บรรลุ
ความเป็นสาวกในศาสนาพระชินเจ้า ธีรชนเหล่านั้นย่อมเป็นพระสยัมภูปัจเจกชินเจ้า
[๑๓๔] พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายมีธรรมยิ่งใหญ่ มีธรรมกายมาก (มีธรรมกายมาก ในที่นี้
หมายถึงมีกายคือสภาวธรรมมาก) มีจิตเป็นอิสระ ข้ามห้วงแห่งทุกข์ทั้งมวลได้แล้ว มีจิตเบิกบาน มีปกติเห็น
ประโยชน์อย่างยิ่ง เหมือนราชสีห์ เหมือนนอแรด
[๑๓๕] พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านี้ มีอินทรีย์สงบแล้ว มีจิตสงบแล้ว มีจิตเป็นสมาธิ ประพฤติตอบ
แทน(ด้วยความเอ็นดูและความกรุณา) ในเหล่าสัตว์ที่อยู่ตามชายแดน เหมือนดวงประทีปส่องสว่างอยู่ใน
โลกนี้ และในโลกหน้า เกื้อกูลสัตว์โลกเป็นนิตย์
[๑๓๖] พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านี้ เป็นผู้สูงสุดในหมู่ชน ละเครื่องกั้นทั้งปวงได้แล้ว เป็นดวง
ประทีปของโลก มีรัศมีเช่นกับประกายแสงแห่งทองแท่ง เป็นผู้สมควรรับทักษิณาอย่างดีของชาวโลกอย่าง
แน่นอน พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านี้ เป็นผู้แนบแน่นอยู่เป็นนิตย์ (แนบแน่นอยู่เป็นนิตย์ ในที่นี้ หมายถึงอิ่ม
หนาบริบูรณ์เป็นนิตย์ แม้ต้องอดอาหารถึง ๗ วัน ก็บริบูรณ์ อยู่ได้ด้วยอานาจสมาบัติ)
[๑๓๗] ถ้อยคาที่พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายกล่าวไว้ดีแล้ว ย่อมแผ่ไปในโลกพร้อมทั้งเทวโลก ชน
พาลเหล่าใดได้ฟังแล้ว ไม่ใส่ใจถึงคาที่พระปัจเจกพุทธเจ้ากล่าวไว้ดีแล้วอย่างนั้น ชนพาลเหล่านั้นย่อมแล่น
ไปในกองทุกข์ซ้าแล้วซ้าอีก
[๑๓๘] ถ้อยคาที่พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายกล่าวไว้ดีแล้ว เป็นถ้อยคาไพเราะ ดุจน้าผึ้งหยาด
น้อยๆ ไหลหยดลงฉะนั้น ชนเหล่าใดได้ฟังแล้วปฏิบัติตามอย่างนั้น ชนเหล่านั้น เป็นผู้เห็นสัจจะ มีปัญญา
[๑๓๙] คาถาที่พระปัจเจกพุทธเจ้ากล่าวไว้แล้ว เป็นคาถาที่โอฬาร ถ้อยคาเหล่านั้นเป็นคาที่พระ
ศากยสีหะผู้สูงสุดในนรชน เสด็จออกผนวชประกาศไว้แล้วเพื่อให้เวไนยสัตว์ได้รู้ธรรม
[๑๔๐] ถ้อยคาเหล่านี้ ที่พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้นกล่าวไว้แล้วเพื่ออนุเคราะห์สัตว์โลก
ซึ่งพระสยัมภูผู้สีหะ(นามา) ประกาศไว้เพื่อเพิ่มพูนความสลดสังเวช ความไม่คลุกคลี และปัญญา
ปัจเจกพุทธาปทาน จบ
----------------------------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
เถราปทาน ๑. พุทธวรรค
7
ปัจเจกพุทธาปทาน
พรรณนาปัจเจกพุทธาปทาน
พระอานนท์เถระเมื่อจะสังคายนาอปทาน ต่อจากพุทธาปทานนั้นต่อไป อันท่านพระมหากัสสป
เถระถามว่า นี่แน่ะท่านอาวุโสอานนท์ ปัจเจกพุทธาปทาน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติ ณ ที่ไหน จึง
กล่าวว่า ลาดับนี้ ขอท่านทั้งหลายจงฟังปัจเจกพุทธาปทาน ดังนี้ .
ดูก่อนอานนท์ผู้เจริญ พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าเหล่าใด กระทาบุญญาธิการไว้ คือกระทาบุญ
สมภารไว้ ในพระพุทธเจ้าปางก่อนทั้งหลาย คือในอดีตพุทธเจ้าทั้งหลายปางก่อน ยังไม่ได้ความหลุดพ้นใน
ศาสนาของพระชินเจ้า คือยังไม่บรรลุพระนิพพาน พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าเหล่านั้นทั้งหมดเป็นนักปราชญ์
กระทาบุคคลผู้หนึ่งให้เป็นประธานโดยมุขคือความสังเวช จึงได้เป็นพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าในโลกนี้ . ผู้มี
ปัญญากล้าแข็งดี คือมีปัญญากล้าแข็งด้วยดี. แม้เว้นจากพระพุทธเจ้าทั้งหลาย คือแม้เว้นจากโอวาทานุสาสนี
ของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมบรรลุคือย่อมรู้แจ้งปัจเจกสัมโพธิ คือโพธิเฉพาะผู้เดียว ได้แก่โพธิอันต่อเนื่อง
(รอง) จากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ด้วยอารมณ์แม้นิดหน่อย คือแม้มีประมาณน้อย.
ในโลกทั้งปวงคือในไตรโลกทั้งสิ้น เว้นเรา (คือพระพุทธเจ้า) คือละเว้นเราเสีย บุคคลผู้เสมอคือ
แม้นเหมือนพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมไม่มี.
เราจักกล่าว ท่านทั้งปวงผู้ปรารถนา คืออยากได้พระนิพพาน คือเภสัช ได้แก่โอสถอันยอดเยี่ยม
คือเว้นสิ่งที่ยิ่งกว่า มีจิตผ่องใส คือมีใจใสสะอาด จงฟัง. (คาพยากรณ์สืบๆ กันมา คือเฉพาะองค์หนึ่งๆ
เหล่าใดอันเป็นอปทานของพระปัจเจกสัมพุทธเจ้า ๑๐๐ องค์ มีอาทิ คือ พระอริฏฐะ พระอุปริฏฐะ พระตคร
สิขี พระยสัสสี พระสุทัสสนะ พระปิยทัสสี พระคันธาระ พระปิณโฑละ พระอุปาสภะ พระนิถะ พระตถะ พระ
สุตวะ พระภาวิตัตตะ พระสุมภะ พระสุภะ พระเมถุละ พระอัฏฐมะ พระสุเมธะ พระอนีฆะ พระสุทาฐะ พระ
หิงคุ พระหิงคะ พระทเวชาลินะ พระอัฏฐกะ พระโกสละ พระสุพาหุ พระอุปเนมิสะ พระเนมิสะ พระสันตจิต
ตะ พระสัจจะ พระตถะ พระวิรชะ พระปัณฑิตะ พระกาละ พระอุปกาละ พระวิชิตะ พระชิตะ พระอังคะ พระ
ปังคะ พระคุตติชชิตะ พระปัสสี พระชหี พระอุปธิ พระทุกขมูละ พระอปราชิตะ พระสรภังคะ พระโลมหังสะ
พระอุจจังคมายะ พระอสิตะ พระอนาสวะ พระมโนมยะ พระมานัจฉิทะ พระพันธุมะ พระตทาธิมุตตะ พระวิ
มละ พระเกตุมะ พระโกตุมพรังคะ พระมาตังคะ พระอริยะ พระอัจจุตะ พระอัจจุตคามี พระพยามกะ พระสุ
มังคละ และพระทิพพิละ)
พระปัจเจกพุทธเจ้านั้น ชื่อว่า ผู้เดียว เพราะการบรรพชา. เพราะอรรถว่าไม่มีเพื่อน. เพราะอรรถ
ว่าละตัณหา. เพราะปราศจากราคะแน่นอน. เพราะปราศจากโทสะแน่นอน. เพราะปราศจากโมหะแน่นอน.
เพราะหมดกิเลสแน่นอน. เพราะดาเนินสู่ทางเป็นที่ดาเนินไปผู้เดียว. เพราะตรัสรู้พร้อมเฉพาะพระปัจเจก
สัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยมผู้เดียว.
ธรรมดาแรดมีนอเดียวเท่านั้น ไม่มีนอที่สองฉันใด พระปัจเจกสัมพุทธเจ้านั้นก็ฉันนั้นเหมือนกัน
8
เหมือนกับนอแรดนั้น เช่นเดียวกับนอแรดนั้น มีส่วนเปรียบด้วยนอแรดนั้น, ของเค็มจัดเรียกว่าเหมือนเกลือ
ของขมจัดเรียกว่าเหมือนของขม ของหวานจัดเรียกว่าเหมือนน้าหวาน ของร้อนจัดเรียกว่าเหมือนไฟ ของ
เย็นจัดเรียกว่าเหมือนหิมะ ลาน้าใหญ่เรียกว่าเหมือนทะเล พระสาวกผู้บรรลุมหาอภิญญาพละ เรียกว่า
เหมือนพระศาสดา ฉันใด พระปัจเจกสัมพุทธเจ้านั้นก็ฉันนั้นเหมือนกัน ท่านเหมือนนอแรด เช่นกับนอแรด
มีส่วนเปรียบด้วยนอแรด ผู้เดียว ไม่มีเพื่อน หลุดพ้นกิเลสเครื่องผูกพัน เที่ยวไป คืออยู่ เป็นอยู่ เป็นไปอยู่
คุ้มครองอยู่ ไปอยู่ ให้ไปอยู่ในโลกโดยชอบ เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าผู้เดียวเที่ยวไปเหมือนนอแรด.
[๘๓] พระอานนทเถระ ผู้เป็นมุนีชาวแคว้นวิเทหะ น้อมกายลง ทูลถามพระตถาคตผู้ประทับอยู่ ณ พระเช
ตวันมหาวิหารว่า ข้าแต่พระธีรเจ้า ได้ทราบว่า พระปัจเจกพุทธเจ้ามีอยู่ พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็น
นักปราชญ์ อุบัติขึ้นเพราะเหตุอะไร
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ในนครสาวัตถี ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์อยู่ในที่ลับเร้น
อยู่ เกิดความปริวิตกแห่งใจขึ้นอย่างนี้ ว่า ความปรารถนาและอภินีหารของพระพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมปรากฏ
ของพระสาวกทั้งหลายก็ปรากฏเหมือนอย่างนั้น แต่ของพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลายยังไม่ปรากฏ ถ้า
กระไรเราพึงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วทูลถาม. ท่านพระอานนท์นั้นจึงออกจากที่เร้น ทูลถามถึง
เรื่องราวนั้นโดยลาดับ.
ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสปุพพโยคาวจรสูตร แก่ท่านพระอานนท์นั้นว่า
ดูก่อนอานนท์ อานิสงส์ ๕ ประการเหล่านี้ คือย่อมทาผู้หยั่งลงในความเพียรอันมีในก่อน ให้
พลันบรรลุพระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ ถ้ายังไม่ให้บรรลุพระอรหัตผลในปัจจุบัน เมื่อเป็นเนั้น ย่อมให้บรรลุ
พระอรหัตผลในเวลาจะตาย ๑ ถ้าไม่เป็นอย่างนั้น จะเป็นเทวบุตรบรรลุพระอรหัตผล ๑ ถ้าไม่อย่างนั้น จะ
เป็นขิปปาภิญญา ตรัสรู้ได้เร็ว ในเมื่ออยู่ต่อพระพักตร์พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๑ ถ้าไม่เป็นอย่างนั้น จะ เป็น
พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าในกาลสุดท้ายภายหลัง ๑
ครั้นตรัสอย่างนี้ แล้ว จึงตรัสต่อไปอีกว่า
ดูก่อนอานนท์ ธรรมดาว่าพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยอภินีหาร หยั่งลง
ในความเพียรอันมีในก่อน เพราะฉะนั้น ความปรารถนาและอภินีหารของพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าและสาวก
ของพระพุทธเจ้าทั้งมวล จึงจาปรารถนา.
ท่านพระอานนท์กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความปรารถนาของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
ย่อมเป็นไปนานเพียงไร.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนอานนท์ ความปรารถนาของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย โดย
กาหนดอย่างต่าย่อมเป็นไป ๔ อสงไขยแสนกัป โดยกาหนดอย่างกลางย่อมเป็นไป ๘ อสงไขยแสนกัป โดย
กาหนดอย่างสูงย่อมเป็นไป ๑๖ อสงไขยแสนกัป.
ก็ความแตกต่างกันเหล่านี้ พึงทราบโดยอานาจแห่งพระพุทธเจ้าผู้เป็นปัญญาธิกะยิ่งด้วยปัญญา
สัทธาธิกะยิ่งด้วยศรัทธา และวิริยาธิกะยิ่งด้วยความเพียร. จริงอยู่ พระพุทธเจ้าผู้เป็นปัญญาธิกะ มีศรัทธา
9
อ่อน มีปัญญากล้าแข็ง. พระพุทธเจ้าผู้เป็นสัทธาธิกะ มีปัญญาปานกลาง มีศรัทธากล้าแข็ง.พระพุทธเจ้าผู้
เป็นวิริยาธิกะ มีศรัทธาและปัญญาอ่อน มีความเพียรกล้าแข็ง.
จริงอยู่ อภินีหารนี้ ย่อมสาเร็จเพราะประชุมธรรม ๘ ประการไว้ได้ คือความเป็นมนุษย์ ๑ ความ
ถึงพร้อมด้วยเพศชาย ๑ เหตุ ๑ การได้พบพระศาสดา ๑ การบรรพชา ๑ ความถึงพร้อมด้วยคุณ ๑ การ
กระทาอันยิ่ง ๑ ความเป็นผู้มีฉันทะ ๑. (คาว่า อภินีหาร นี้ เป็นชื่อของความปรารถนาเดิมเริ่มแรก.)
ถามว่า ก็ความปรารถนาของพระปัจเจกสัมพุทธเจ้า ย่อมเป็นไปนานเพียงไร?
ตอบว่า ความปรารถนาของพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมเป็นไป ๒ อสงไขยแสนกัป ไม่
อาจต่ากว่านั้น พึงทราบเหตุในความปรารถนานั้นโดยนัยดังกล่าวไว้ในเบื้องต้นนั่นแหละ ก็ว่าโดยกาลแม้มี
ประมาณเท่านี้ ผู้ปรารถนาความเป็นพระปัจเจกสัมพุทธเจ้า ก็จาต้อง ปรารถนาสมบัติ ๕ ประการกระทา
อภินีหาร.
จริงอยู่ พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าเหล่านั้น มีเหตุแห่งอภินีหารเหล่านี้ คือความเป็นมนุษย์ ๑ ความ
ถึงพร้อมด้วยเพศชาย ๑ การได้เห็นท่านผู้ปราศจากอาสวะ ๑ การกระทาอันยิ่งใหญ่ ๑ ความเป็นผู้มีฉันทะ
๑
เมื่อเป็นเช่นนั้น ขอถามว่า ความปรารถนาของพระสาวกทั้งหลายเป็นไปตลอดกาลมีประมาณ
เท่าไร?
ตอบว่า ความปรารถนาของพระอัครสาวกเป็นไป ๑ อสงไขยแสนกัป ของพระอสีติมหาสาวก
เป็นไปแสนกัปเท่านั้น. ความปรารถนาของพระพุทธบิดา พระพุทธมารดา พระพุทธอุปัฏฐากและพระพุทธ
บุตร ก็แสนกัปเหมือนกัน เพราะเหตุนั้นจึงไม่อาจต่ากว่านั้น เหตุในความปรารถนานั้นมีนัยดังกล่าวแล้ว
เหมือนกัน. (แต่พระสาวกเหล่านี้ ทุกองค์มีอภินีหารเฉพาะสองข้อเท่านั้น คือ อธิการ การกระทาอันยิ่ง และ
ฉันทตา ความเป็นผู้มีฉันทะที่จะทา.)
พระพุทธเจ้าทั้งหลายบาเพ็ญบารมีทั้งหลายตลอดกาลซึ่งมีประเภทตามที่กล่าวแล้ว ด้วยความ
ปรารถนานี้ และด้วยอภินีหารนี้ อย่างนี้ แล้ว เมื่อจะเกิดขึ้นในโลก ย่อมเกิดขึ้นในสกุลกษัตริย์หรือสกุล
พราหมณ์.
พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมเกิดขึ้นในสกุลกษัตริย์ สกุลพราหมณ์หรือสกุลคหบดี สกุลใด
สกุลหนึ่ง.
ส่วนพระอัครสาวกย่อมเกิดขึ้นเฉพาะในสกุลกษัตริย์และสกุลพราหมณ์ เหมือนอย่าง
พระพุทธเจ้า.
พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ไม่เกิดขึ้นในสังวัฏฏกัปคือกัปเสื่อม ย่อมเกิดขึ้นในวิวัฏฏกัปคือกัปเจริญ.
พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายก็เหมือนกัน.
อนึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายไม่เกิดขึ้นในกาลที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายบังเกิดขึ้น.
พระพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง และยังให้ผู้อื่นรู้ได้ด้วย. พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสรู้
10
เฉพาะตนเองแต่ไม่ยังให้ผู้อื่นรู้. พระปัจเจกพุทธเจ้าย่อมแทงตลอดอรรถรสเท่านั้น ไม่แทงตลอดธรรมรส.
เพราะพระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้นไม่อาจยกโลกุตรธรรมขึ้นสู่บัญญัติแล้วแสดง. พระปัจเจกพุทธเจ้า
เหล่านั้นมีการตรัสรู้ธรรม เหมือนคนใบ้เห็นความฝัน และเหมือนพรานป่าลิ้มรสกับข้าวในเมืองฉะนั้น. ท่าน
บรรลุประเภทแห่งความแตกฉานในอิทธิฤทธิ์และสมาบัติทั้งปวง เป็นผู้ต่ากว่าพระพุทธเจ้า สูงกว่าพระสาวก
โดยคุณวิเศษ. ให้คนอื่นบวชไม่ได้ แต่ให้ศึกษาอภิสมาจาริกวัตรได้ กระทาอุโบสถด้วยอุเทศนี้ ว่า พึงทาการ
ขัดเกลาจิต ไม่พึงถึงอวสานคือจบ หรือกระทาอุโบสถโดยเพียงกล่าวว่า วันนี้ เป็นวันอุโบสถ และเมื่อจะทา
อุโบสถย่อมประชุมกันทาที่รัตนมาฬกะโรงแก้ว ณ ควงต้นไม้สวรรค์ บนภูเขาคันธมาทน์แล.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสบอกความปรารถนาและอภินีหารอันบริบูรณ์ด้วยอาการทั้งปวงของพระ
ปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย แก่ท่านพระอานนท์ ด้วยประการอย่างนี้ แล้ว บัดนี้ เพื่อจะตรัสบอกพระปัจเจกพุทธ
เจ้านั้นๆ ผู้เป็นไปพร้อมด้วยความปรารถนานี้ และด้วยอภินีหารนี้ จึงได้ตรัสขัคควิสาณสูตรนี้ โดยนัยมีอาทิว่า
วางอาชญาในสัตว์ทั้งปวงดังนี้ . นี้ เป็นเหตุเกิดแห่งขัคควิสาณสูตรด้วยอานาจการถาม โดยไม่พิเศษก่อน.
บัดนี้ จะได้กล่าวการเกิดขึ้นแห่ง ขัคควิสาณสูตร โดยพิเศษ. ในข้อนั้น พึงทราบการเกิดขึ้นแห่ง
คาถานี้ อย่างนี้ ก่อน
[๙๑] (พระปัจเจกพุทธเจ้าองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลยกโทษในสัตว์ทุกจาพวก ไม่เบียดเบียนสัตว์หนึ่ง
สัตว์ใดในบรรดาสัตว์เหล่านั้น ก็ไม่ต้องการบุตร(แล้ว) จะพึงต้องการสหายจากไหนเล่า พึงเที่ยวไปผู้
เดียวเหมือนนอแรด
ได้ยินว่า พระปัจเจกพุทธเจ้าองค์นี้ หยั่งลงสู่ภูมิปัจเจกโพธิสัตว์บาเพ็ญบารมีอยู่สองอสงไขยแสน
กัป บวชในศาสนาของ พระผู้มีพระภาคเจ้ากัสสปะ เป็นผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร บาเพ็ญคตปัจจาคตวัตรให้
บริบูรณ์ ได้กระทาสมณธรรมแล้ว. เขาว่า ขึ้นชื่อว่าผู้ไม่บาเพ็ญวัตรให้บริบูรณ์อย่างนี้ แล้วบรรลุพระปัจเจก
โพธิญาณ ย่อมไม่มี.
พระปัจเจกโพธิสัตว์นี้ บวชในศาสนาของ พระผู้มีพระภาคเจ้ากัสสป เป็นผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร
บาเพ็ญคตปัจจาคตวัตรนี้ อยู่สองหมื่นปี กระทากาละแล้วบังเกิดขึ้นในกามาวจรเทวโลก. จุติจากนั้นแล้วได้
ถือปฏิสนธิในพระครรภ์ของพระอัครมเหสีของพระเจ้าพาราณสี. สตรีทั้งหลายผู้ฉลาดย่อมรู้การตั้งครรภ์ได้
ในวันนั้นเอง.
ก็พระอัครมเหสีนั้นเป็นสตรีคนหนึ่งบรรดาสตรีเหล่านั้น เพราะฉะนั้น พระอัครมเหสีแม้นี้ ก็
กราบทูลการตั้งครรภ์นั้นแด่พระราชา. ข้อที่เมื่อสัตว์ผู้มีบุญเกิดขึ้นในครรภ์ มาตุคามย่อมได้การบริหาร
ครรภ์นั้น เป็นของธรรมดา. เพราะฉะนั้น พระราชาจึงได้ประทานการบริหารครรภ์แก่พระอัครมเหสีนั้น.
จาเดิมแต่นั้น พระนางไม่ได้กลืนกินอะไรๆ ที่ร้อนจัด เย็นจัด เปรี้ยวจัด เค็มจัด เผ็ดจัดและขม
จัด. เพราะเมื่อมารดากลืนกินของที่ร้อนจัด สัตว์ที่เกิดในครรภ์ย่อมเป็นเหมือนอยู่ในโลหกุมภี เมื่อกลืนกิน
ของเย็นจัด ย่อมเป็นเหมือนอยู่ในโลกันตนรก เมื่อบริโภคของเปรี้ยวจัด เค็มจัด เผ็ดจัด ขมจัด อวัยวะของ
11
ทารกย่อมมีเวทนากล้า เหมือนถูกผ่าด้วยมีดแล้วราดด้วยของเปรี้ยวเป็นต้น.
ผู้บริหารครรภ์ทั้งหลายย่อมห้ามพระนางจากการเดินมาก ยืนมาก นั่งมากและนอนมาก ด้วย
หวังใจว่า ทารกที่อยู่ในครรภ์อย่าได้มีความลาบากเพราะการเคลื่อนไหว. พระนางได้การเดินเป็นต้นบนภาค
พื้นที่ลาดด้วยเครื่องอันนุ่มโดยพอประมาณ ย่อมได้เสวยข้าวน้าที่เป็นสัปปายะ อร่อย สมบูรณ์ด้วยสีและกลิ่น
เป็นต้น ผู้บริหารครรภ์กาหนดให้พระนางเดิน ให้ประทับนั่งและให้ออกไป.
พระนางอันเขาบริหารอยู่อย่างนี้ ในเวลาพระครรภ์แก่ เสด็จเข้าเรือนประสูติ ในเวลาใกล้รุ่ง
ประสูติพระโอรสผู้เช่นกับก้อนมโนศิลาที่เคล้าด้วยน้ามันที่หุงแล้ว ประกอบด้วยธัญญลักษณะและบุญ
ลักษณะ.
ในวันที่ ๕ จากวันนั้น พระญาติทั้งหลายจึงแสดงพระโอรสนั่นผู้ตกแต่ง ประดับประดาแล้วแด่
พระราชา. พระราชาทรงดีพระทัย ให้บารุงด้วยแม่นม ๖๖ นาง. พระราชโอรสนั้นเจริญด้วยสมบัติทั้งปวง ไม่
นานนักก็ทรงบรรลุความเป็นผู้รู้เดียงสา.
พระราชาทรงอภิเษกพระโอรสนั้นผู้มีพระชนม์ ๑๖ พรรษาด้วยราชสมบัติ และให้บารุงบาเรอ
ด้วยนางฟ้อนต่างๆ.
พระราชโอรสผู้อภิเษกแล้ว ทรงพระนามว่าพระเจ้าพรหมทัตโดยพระนาม ครองราชสมบัติใน
สองหมื่นนครในสกลชมพูทวีป.
ได้ยินว่า ในชมพูทวีป เมื่อก่อนได้มีนครอยู่แปดหมื่นสี่พันนคร นครเหล่านั้นเสื่อมไปเหลืออยู่หก
หมื่นนคร แต่นั้นเสื่อมไปเหลืออยู่สี่หมื่นนคร ก็ในเวลาเสื่อมหมดมีเหลืออยู่สองหมื่นนคร. ก็พระเจ้า
พรหมทัตนี้ อุบัติขึ้นในเวลาเสื่อมหมด เพราะเหตุนั้น พระเจ้าพรหมทัตจึงได้มีสองหมื่นนคร มีปราสาทสอง
หมื่นองค์ มีพลช้างสองหมื่นเชือก มีพลม้าสองหมื่นตัว มีพลรถสองหมื่นคัน มีพลเดินเท้าสองหมื่นคน มีสตรี
สองหมื่นนางคือนางในและหญิงฟ้อน มีอามาตย์สองหมื่นคน.
พระเจ้าพรหมทัตนั้นทรงครองมหาราชสมบัติอยู่นั่นแล ทรงกระทากสิณบริกรรม ทรงทา
อภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘ ให้บังเกิดแล้ว. ก็เพราะเหตุว่าพระราชาผู้อภิเษกแล้ว ต้องประทับนั่งในศาลเป็น
ประจา ฉะนั้น วันหนึ่งเวลาเช้าตรู่ เสวยพระกระยาหารเช้าแล้ว ประทับนั่งในที่วินิจฉัย.
พวกคนได้กระทาเสียงดังลั่นเอ็ดอึงในที่นั้น.
พระองค์ทรงดาริว่า เสียงนี้ เป็นอุปกิเลสแห่งสมาบัติ จึงเสด็จขึ้นสู่พื้นปราสาทประทับนั่งด้วยหวัง
ว่าจะเข้าสมาบัติ ก็ไม่อาจเข้าได้ สมาบัติเสื่อมไปเพราะความสับสนในตอนเป็นพระราชา.
ลาดับนั้น จึงทรงดาริว่า ราชสมบัติประเสริฐหรือสมณธรรมประเสริฐ. แต่นั้น ทรงทราบว่า
ความสุขในราชสมบัตินิดหน่อย มีโทษมาก แต่ความสุขในสมณธรรมไพบูลย์ มีอานิสงส์มิใช่น้อย และบุรุษ
ชั้นสูงเสพแล้ว.
จึงทรงสั่งอามาตย์คนหนึ่งว่า เธอจงปกครองราชสมบัตินี้ โดยธรรมโดยสม่าเสมอ อย่า
ครอบครองโดยไม่เป็นธรรม ดังนี้ แล้วทรงมอบสมบัติทั้งปวงให้แก่อามาตย์นั้น แล้วเสด็จขึ้นปราสาท ทรง
12
ยับยั้งอยู่ด้วยสุขในสมาบัติ ใครๆ จะเข้าไปเฝ้าไม่ได้ ยกเว้นแต่ผู้จะถวายน้าสรงพระพักตร์และไม้ชาระฟัน
กับคนผู้จะนาพระกระยาหารไปถวายเป็นต้น.
ลาดับนั้น เมื่อเวลาล่วงไปประมาณกึ่งเดือน พระมเหสีตรัสถามว่า พระราชาไม่ปรากฏในที่
ไหนๆ ในการเสด็จไปอุทยาน การทอดพระเนตรกาลังพลและการฟ้อนเป็นต้น พระราชาเสด็จไปไหน.
อามาตย์ทั้งหลายจึงกราบทูลเนื้ อความนั้นแด่พระมเหสี.
พระนางทรงให้ส่งข่าวแก่อามาตย์ (ผู้รับมอบราชสมบัติ) ว่า เมื่อท่านรับมอบราชสมบัติ แม้เรา
ก็เป็นอันท่านรับมอบด้วย ท่านจงมาสาเร็จการอยู่ร่วมกับเรา. อามาตย์นั้นปิดหูทั้งสองข้างเสีย แล้วห้ามว่า
คานี้ ไม่น่าฟัง. พระนางจึงให้ส่งข่าวไปอีก ๒-๓ ครั้ง ให้คุกคามเขาผู้ไม่ปรารถนาว่า ถ้าท่านไม่ทา เราจะปลด
ท่านแม้จากตาแหน่ง จะให้ปลงแม้ชีวิตท่าน. อามาตย์นั้นกลัวคิดว่า ธรรมดามาตุคามเป็นผู้ตัดสินใจได้เด็ด
เดี่ยว บางครั้งจะให้กระทาแม้อย่างที่ตรัสนั้น.
วันหนึ่งไปที่ลับสาเร็จการอยู่ร่วมกันบนพระที่สิริไสยากับพระนาง. พระนางเป็นหญิงมีบุญ มี
สัมผัสสบาย. อามาตย์นั้นกาหนัดแล้วด้วยความกาหนัดในสัมผัสของพระนาง ทั้งระแวงทั้งสงสัยนั่นแหละก็
ได้ไปในที่นั้นเนืองๆ ต่อมาหมดความระแวงสงสัย เริ่มเข้าไปโดยลาดับดุจเจ้าของเรือนของตน.
ลาดับนั้น คนของพระราชาได้กราบทูลเรื่องราวนั้นแก่พระราชา. พระราชาไม่ทรงเชื่อ. จึงพากัน
กราบทูลแม้ครั้งที่สอง แม้ครั้งที่สาม.
ลาดับนั้น พระราชาทรงแอบไป ได้ทรงเห็นด้วยพระองค์เอง จึงรับสั่งให้ประชุมอามาตย์ทั้ง
หมดแล้วแจ้งให้ทราบ. อามาตย์เหล่านั้นกราบทูลว่า อามาตย์ผู้นี้ ผิดต่อพระราชา ควรตัดมือ ควรตัดเท้า
ดังนี้ แล้ว ชี้กรรมกรณ์ การลงโทษทางกายทั้งหมดจนกระทั่งถึงการเสียบหลาว.
พระราชาตรัสว่า ในการฆ่า การจองจาและการทุบตีผู้นี้ การเบียดเบียนก็จะพึงเกิดขึ้นแก่เรา ใน
การปลงชีวิต ปาณาติบาตก็จะพึงเกิด ในการริบทรัพย์ อทินนาทานก็จะพึงเกิดขึ้น ไม่ควรทากรรมเห็นปานนี้
พวกท่านจงขับไล่อามาตย์ผู้นี้ ออกไปเสียจากอาณาจักรของเรา.
อามาตย์ทั้งหลายได้กระทาเขาให้เป็นคนไม่มีเขตแดน. เขาจึงพาเอาทรัพย์และบุตรของตนที่
พอจะนาเอาไปได้ ไปยังเขตแดนของพระราชาอื่น.
พระราชาในเขตแดนนั้นได้ทรงทราบเข้าจึงตรัสถามว่า ท่านมาทาไม? อามาตย์นั้นจึงกราบทูล
ว่า ข้าแต่สมมติเทพ ข้าพระองค์ปรารถนาจะคอยรับใช้พระองค์. พระราชานั้นจึงรับเขาไว้.
พอล่วงไป ๒-๓ วัน อามาตย์ได้ความคุ้นเคยแล้วได้กราบทูลคานี้ กะพระราชานั้นว่า ข้าแต่
มหาราชเจ้า ข้าพระองค์เห็นน้าผึ้งไม่มีตัวอ่อน คนผู้จะเคี้ยวกินน้าผึ้งนั้นก็ไม่มี. พระราชาทรงดาริว่า อะไรนี่
คนที่จะประสงค์จะเย้ยจึงจะกล่าว จึงไม่ทรงเชื่อฟัง. อามาตย์นั้นได้ช่องจึงได้กราบทูลพรรณนาให้ดียิ่งขึ้นไป
อีก. พระราชาตรัสถามว่า นี้ อะไร? อามาตย์นั้นกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ ราชสมบัติในเมืองพาราณสี
พระเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า ท่านประสงค์จะนาเราไปฆ่าให้ตายหรือ.
อามาตย์นั้นกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ พระองค์อย่าได้ตรัสอย่างนั้น ถ้าพระองค์ไม่ทรงเชื่อ
13
ขอพระองค์จงส่งคนไป.
พระราชาจึงทรงส่งคนทั้งหลายไป. คนเหล่านั้นไปถึงแล้วจึงขุดซุ้มประตูแล้วโผล่ขึ้นในตาหนักที่
บรรทมของพระราชา.
พระราชาทรงเห็นแล้วตรัสถามว่า พวกท่านพากันมาเพื่ออะไร? คนเหล่านั้นกราบทูลว่า พวกข้า
พระองค์เป็นโจร พระเจ้าข้า. พระราชาได้ให้ทรัพย์แก่คนเหล่านั้นแล้วตรัสสอนว่า พวกท่านอย่าได้กระทา
อย่างนี้ อีกแล้วปล่อยตัวไป. คนเหล่านั้นจึงมากราบทูลให้พระราชานั้นทรงทราบ.
พระราชานั้นทรงทดลองอย่างนั้นแหละครั้งที่สองอีก ทรงทราบว่า พระราชาทรงมีศีล จึงคุม
กองทัพมีองค์ ๔ เข้าประชิดนครหนึ่งในระหว่างแดน แล้วให้ส่งข่าวแก่อามาตย์ในนครนั้นว่า ท่านจะให้นคร
แก่เราหรือว่าจะรบ.
อามาตย์นั้นจึงให้คนกราบทูลเนื้ อความนั้นแก่พระเจ้าพรหมทัตว่า ขอพระองค์ผู้สมมติเทพจงสั่ง
มาว่า จะรบหรือจะให้นคร.
พระราชาทรงส่งข่าวไปว่า ไม่จาต้องรบ ท่านจงให้นครแล้วจงมาในนครพาราณสีนี้ .
อามาตย์นั้นได้กระทาตามรับสั่งอย่างนั้น ฝ่ายพระราชาที่เป็นข้าศึกยึดนครนั้นได้แล้ว ทรงส่งทูต
ทั้งหลายไปแม้ในนครที่เหลือเหมือนอย่างนั้นแหละ อามาตย์แม้เหล่านั้นก็กราบทูลแก่พระเจ้าพรหมทัต
อย่างนั้นเหมือนกัน อันพระเจ้าพรหมทัตนั้นตรัสว่า ไม่จาต้องรบ พึงมา ณ ที่นี้ จึงพากันมายังเมืองพาราณ
สี.
ลาดับนั้น อามาตย์ทั้งหลายจึงกราบทูลพระเจ้าพรหมทัตว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า พวกข้าพระองค์
จักรบกับพระราชานั้น. พระราชาทรงห้ามว่าปาณาติบาตจักมีแก่เรา.
อามาตย์ทั้งหลายกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า พวกข้าพระองค์จักจับเป็นพระราชานั้น แล้ว
นามาในที่นี้ ทีเดียว ทาให้พระราชาทรงยินยอมด้วยอุบายต่างๆ แล้วกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์
จงเสด็จมา ดังนี้ แล้วเริ่มจะไป.
พระราชาตรัสว่า ถ้าท่านทั้งหลายจะไม่กระทาสัตว์ให้ตาย ด้วยการประหารและปล้น เราก็จะไป.
อามาตย์ทั้งหลายกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ พวกข้าพระองค์จะไม่ทา พวกข้าพระองค์จะแสดง
ภัยแล้วให้หนีไป ดังนี้ แล้วจึงคุมจตุรงคินีเสนา ใส่ดวงประทีปในหม้อแล้วไปในตอนกลางคืน. วันนั้น
พระราชาที่เป็นข้าศึกยึดนครในที่ใกล้เมืองพาราณสีได้แล้ว ทรงดาริว่าบัดนี้ จะมีอะไร จึงให้ปลดเครื่องผูก
สอดในตอนกลางคืน เป็นผู้ประมาท จึงก้าวลงสู่ความหลับพร้อมกับหมู่พล.
ลาดับนั้น อามาตย์ทั้งหลายได้พาพระเจ้าพรหมทัตไปถึงค่ายของพระราชาผู้เป็นข้าศึก จึงให้นา
ดวงประทีปออกจากหม้อทุกหม้อ ทาให้โชติช่วงเป็นอันเดียวกัน แล้วกระทาการโห่ร้อง. อามาตย์ของ
พระราชาที่เป็นข้าศึก เห็นหมู่พลมากมายก็กลัว จึงเข้าไปเฝ้าพระราชาของตนแล้วได้กล่าวเสียงดังลั่นว่า ขอ
พระองค์จงลุกขึ้นเคี้ยวกินน้าผึ้งที่ไม่มีตัวอ่อนเถิด. แม้ครั้งที่สอง แม้ครั้งที่สามก็ได้กระทาเหมือนอย่างนั้น.
พระราชาผู้เป็นข้าศึกทรงตื่นขึ้นเพราะเสียงนั้น ถึงความกลัวหวาดสะดุ้ง. เสียงโห่ร้องตั้งร้อยลั่น
14
ไปแล้ว. พระราชานั้นทรงดาริว่า เราเชื่อคาของคนอื่นจึงตกไปอยู่ในเงื้อมมือของศัตรู ทรงบ่นถึงเรื่องนั้นๆ
ไปตลอดทั้งคืน ในวันรุ่งขึ้นทรงดาริว่า พระราชาทรงตั้งอยู่ในธรรม คงไม่ทาการขัดขวาง เราจะไปให้
พระองค์อดโทษ จึงเข้าไปเฝ้าพระราชา คุกเข่าลงแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า ขอพระองค์จงอดโทษผิด
ของหม่อมฉัน.
พระราชาทรงโอวาทพระราชาที่เป็นข้าศึกนั้นตรัสว่า จงลุกขึ้นเถิด หม่อมฉันอดโทษแก่พระองค์.
พระราชาข้าศึกนั้น เมื่อพระราชาสักว่า ตรัสอย่างนั้นเท่านั้น ก็ได้ถึงความโล่งพระทัยอย่างยิ่ง ได้ราชสมบัติ
ในชนบทใกล้เคียงพระเจ้าพาราณสีนั่นเอง พระราชาทั้งสองนั้นได้เป็นพระสหายกันและกัน.
ลาดับนั้น พระเจ้าพรหมทัตทอดพระเนตรเสนาทั้งสองฝ่ายรื่นเริง บันเทิงยืนร่วมกันได้ จึงทรง
ดาริว่า เพราะเราผู้เดียวเท่านั้นตามรักษาจิตหยาดโลหิตสักเท่าแมลงวันตัวเล็กๆ ดื่มได้ จึงไม่เกิดขึ้นในหมู่
มหาชนนี้ โอ สาธุ โอ ดีแล้ว! สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงมีความสุข อย่าได้มีเวรกัน อย่าเบียดเบียนกัน แล้วทรง
ทาเมตตาฌานให้เกิดขึ้น ทรงทาเมตตาฌานนั้นนั่นแหละให้เป็นบาท พิจารณาสังขารทั้งหลาย กระทาให้
แจ้งปัจเจกโพธิญาณ บรรลุความเป็นพระสยัมภูแล้ว.
อามาตย์ทั้งหลายหมอบกราบลงแล้ว กราบทูลพระเจ้าพรหมทัตผู้มีความสุขด้วยสุขในมรรคและ
ผล ผู้ประทับนั่งอยู่บนคอช้างว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า การที่จะเสด็จไป พึงทาสักการะแก่หมู่พลผู้ชนะ พึงให้
เสบียงคือภัตแก่หมู่พลผู้แพ้.
พระเจ้าพรหมทัตนั้นตรัสว่า นี่แน่ะพนาย เราไม่ได้เป็นพระราชา เราชื่อว่าพระปัจเจกสัมพุทธ
เจ้า.
อามาตย์ทั้งหลายกราบทูลว่า พระองค์ผู้ประเสริฐตรัสอะไร พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย
ย่อมไม่เป็นผู้เช่นนี้ .
พระราชาตรัสว่า พนายทั้งหลาย พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นเช่นไร.
อามาตย์ทั้งหลายกราบทูลว่า ธรรมดาพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าเป็นผู้มีผมและหนวดยาวสองนิ้ ว
ประกอบด้วยบริขาร ๘.
พระราชาจึงเอาพระหัตถ์ขวาลูบพระเศียร. ทันใดนั้นเพศคฤหัสถ์อันตรธานหายไป เพศบรรพชิต
ปรากฏขึ้น. พระองค์มีพระเกสาและพระมัสสุประมาณสองนิ้ ว ประกอบด้วยบริขาร ๘ เป็นเช่นกับพระเถระมี
พรรษาหนึ่งร้อย. พระราชาทรงเข้าจตุตถฌานเหาะจากคอช้างขึ้นสู่เวหาส ประทับนั่งบนดอกปทุม.
อามาตย์ทั้งหลายถวายบังคมแล้วทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อะไรเป็นกรรมฐาน พระองค์
บรรลุได้อย่างไร?
เราปล่อยวางอาชญานั้นในสัตว์ทั้งมวล โดยไม่ให้อาชญาเป็นไปในสัตว์เหล่านั้น และโดยนาเข้า
ไปซึ่งประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์อื่น ด้วยเมตตาอันเป็นฝ่ายตรงข้ามกับอาชญานั้น และเพราะเป็นผู้ปล่อยวาง
อาชญาเสียแล้ว จึงไม่เบียดเบียนโดยประการที่พวกสัตว์ผู้ที่ยังไม่วางอาชญาเบียดเบียนสัตว์ทั้งหลายด้วย
ท่อนไม้ ศาสตรา ฝ่ามือหรือก้อนดิน อาศัยเมตตากรรมฐานนี้ แม้ข้อหนึ่งบรรดาพรหมวิหาร ๔ เหล่านั้น เห็น
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf
(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf

More Related Content

Similar to (๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf

Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80Rose Banioki
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Wataustin Austin
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔Tongsamut vorasan
 
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
บาลี 69 80
บาลี 69 80บาลี 69 80
บาลี 69 80Rose Banioki
 
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf
๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf
๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
๑๘ มหานิทานสูตร มจร.pdf
๑๘ มหานิทานสูตร มจร.pdf๑๘ มหานิทานสูตร มจร.pdf
๑๘ มหานิทานสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงChinnakorn Pawannay
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 

Similar to (๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf (20)

Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
บาลี 37 80
บาลี 37 80บาลี 37 80
บาลี 37 80
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
 
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
 
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
(๑๕) มหากัจจายนเถราปทาน มจร.pdf
 
บาลี 69 80
บาลี 69 80บาลี 69 80
บาลี 69 80
 
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
 
๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf
๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf
๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf
 
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
 
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
 
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
 
๑๘ มหานิทานสูตร มจร.pdf
๑๘ มหานิทานสูตร มจร.pdf๑๘ มหานิทานสูตร มจร.pdf
๑๘ มหานิทานสูตร มจร.pdf
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

(๒) ปัจเจกพุทธาปทาน มจร.pdf

  • 1. 1 พระประวัติในอดีตชาติของพระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวก ตอนที่ ๒ ปัจเจกพุทธาปทาน พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๒ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ ๒. ปัจเจกพุทธาปทาน ประวัติในอดีตชาติของพระปัจเจกพุทธเจ้า เกริ่นนา พระอานนท์ ทูลถามพระตถาคตผู้ประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหารว่า ข้าแต่พระธีรเจ้า ได้ ทราบว่า พระปัจเจกพุทธเจ้ามีอยู่ พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้น อุบัติขึ้นเพราะเหตุอะไร (ต่อไปนี้ ขอให้ท่านทั้งหลายจงฟังประวัติในอดีตชาติของพระปัจเจกพุทธเจ้า) [๘๓] พระอานนทเถระ ผู้เป็นมุนีชาวแคว้นวิเทหะ น้อมกายลง ทูลถามพระตถาคตผู้ประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหารว่า ข้าแต่พระธีรเจ้า ได้ทราบว่า พระปัจเจกพุทธเจ้ามีอยู่ พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็นนักปราชญ์ อุบัติขึ้นเพราะเหตุอะไร [๘๔] ลาดับนั้น พระสัพพัญญูผู้ประเสริฐ ผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ ได้ตรัสกับพระอานนท์ผู้เจริญ ด้วยพระสุรเสียงที่ไพเราะว่า ธีรชนเหล่าใดได้สั่งสมกุศลสมภารไว้ในพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ ยังไม่ได้ความ หลุดพ้นจากกิเลสในศาสนาของพระชินเจ้าทั้งหลาย [๘๕] เพราะมีความสลดใจนั้นแลเป็นตัวนา ธีรชนเหล่านั้นผู้มีปัญญาแก่กล้าดี ถึงจะเว้นจาก พระพุทธเจ้า (เว้นจากพระพุทธเจ้า ในที่นี้ หมายถึงเว้นจากคากล่าวสอนและคาพร่าสอนของพระพุทธเจ้า) ก็ย่อมบรรลุปัจเจกโพธิญาณได้ แม้ด้วยอารมณ์เพียงนิดหน่อย [๘๖] ในโลกทั้งปวง (โลกทั้งปวง ในที่นี้ หมายถึงโลกทั้ง ๓ คือมนุษยโลก เทวโลก และพรหมโลก) ยกเว้นเราเสียแล้ว ไม่มีใครเสมอกับพระปัจเจกพุทธเจ้าได้เลย เราจักบอกคุณเพียงสังเขปนี้ ของพระปัจเจก พุทธเจ้า ผู้เป็นมหามุนีเหล่านั้นอย่างชัดเจน [๘๗] เธอทุกรูปเมื่อปรารถนาพระนิพพานอันเป็นโอสถวิเศษ มีใจผ่องใสดีแล้ว ก็จงตั้งใจฟัง ถ้อยคาที่ไพเราะ ดุจน้าผึ้งหยาดน้อยๆ (เกี่ยวกับประวัติ) ของพระปัจเจกพุทธเจ้า ผู้เป็นมหาฤๅษี ผู้ตรัสรู้ได้ เองเถิด [๘๘] ประวัติในอดีต การพยากรณ์ โทษ เหตุปราศจากความกาหนัดอันใด ของพระปัจเจกพุทธ เจ้าผู้อุบัติขึ้นแต่ละองค์ๆ และพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายได้บรรลุพระโพธิญาณด้วยเหตุอันใด
  • 2. 2 [๘๙] พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายมีการกาหนดหมาย ในวัตถุที่น่ารักใคร่ (วัตถุที่น่าใคร่ ในที่นี้ หมายถึงวัตถุกามและกิเลสกาม) ว่าปราศจากความน่ารักใคร่ มีจิตคลายกาหนัดในโลกที่มีสภาวะน่า กาหนัด ละกิเลสที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ชนะทิฏฐิ (ทิฏฐิ ในที่นี้ หมายถึงทิฏฐิ ๖๒) ที่เป็นเหตุให้ดิ้นรนแล้ว ได้ บรรลุพระโพธิญาณเพราะเหตุอันนั้นนั่นเอง [๙๐] บุคคลยกโทษในสัตว์ทุกจาพวก ไม่เบียดเบียนสัตว์หนึ่งสัตว์ใดในบรรดาสัตว์เหล่านั้น มีจิต เมตตา หวังประโยชน์เกื้อกูล จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๙๑] (พระปัจเจกพุทธเจ้าองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลยกโทษในสัตว์ทุกจาพวก ไม่เบียดเบียนสัตว์ หนึ่งสัตว์ใดในบรรดาสัตว์เหล่านั้น ก็ไม่ต้องการบุตร(แล้ว) จะพึงต้องการสหายจากไหนเล่า พึงเที่ยวไปผู้ เดียวเหมือนนอแรด [๙๒] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ความรักย่อมมีแก่ผู้มีความเกี่ยวข้อง ทุกข์นี้ ย่อม เป็นไปตามความรัก บุคคลเมื่อเพ่งเห็นโทษอันเกิดจากความรัก จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๙๓] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลเมื่ออนุเคราะห์มิตร สหายผู้ใจดี มีใจ ผูกพัน ย่อมทาประโยชน์ให้เสื่อมประโยชน์ไปได้ บุคคลเมื่อเพ่งเห็นภัยในความเชยชิด จึงประพฤติอยู่ผู้เดียว เหมือนนอแรด [๙๔] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) กอไผ่กว้างใหญ่เกาะเกี่ยวกันไว้ฉันใด ความ ห่วงใยในบุตรและทาระ ก็กว้างใหญ่เกาะเกี่ยวกันไว้ฉันนั้น บุคคลเมื่อไม่เกี่ยวข้องเหมือนหน่อไผ่ จึงประพฤติ อยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๙๕] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) เนื้ อในป่า มิได้ถูกผูกมัดไว้ย่อมเที่ยวหาอาหารได้ ตามความพอใจฉันใด วิญญูชนเมื่อเพ่งเห็นธรรมที่ให้ถึงความเสรี จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๙๖] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ในท่ามกลางสหาย ย่อมมีการปรึกษากันในเรื่อง ที่อยู่ เรื่องการดารงตน เรื่องการไป เรื่องการเที่ยวจาริก บุคคลเมื่อเพ่งการบวชที่ให้ถึงความเสรี (การบวชที่ ให้ถึงความเสรี ในที่นี้ หมายถึงเจริญวิปัสสนาแล้วบรรลุปัจเจกโพธิญาณ) ที่พวกคนพาลไม่มุ่งหวัง จึง ประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๙๗] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ในท่ามกลางสหายย่อมมีการเล่น มีความยินดี และในบุตรก็ย่อมมีความรักอันไพบูลย์ บุคคลเมื่อรังเกียจความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รัก จึงประพฤติอยู่ผู้ เดียวเหมือนนอแรด [๙๘] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งเปล่งอุทานว่า) พระปัจเจกพุทธเจ้าแผ่เมตตาไปทั้ง ๔ ทิศ ไม่ขัดเคือง ยินดีด้วยปัจจัยตามมีตามได้ ครอบงาอันตรายทั้งหลายและไม่หวาดเสียว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียว เหมือนนอแรด [๙๙] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) แม้บรรพชิตพวกหนึ่งและคฤหัสถ์ที่กาลังครอง เรือน ก็สงเคราะห์ยาก บุคคลพึงเป็นผู้ขวนขวายน้อยทั้งในผู้อื่นและในบุตร จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอ แรด
  • 3. 3 [๑๐๐] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) พระปัจเจกพุทธเจ้าผู้กล้าหาญ ปลงเครื่องหมาย คฤหัสถ์แล้ว ตัดเครื่องผูกพันของคฤหัสถ์แล้ว เหมือนต้นทองหลางที่ใบร่วงหล่นแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียว เหมือนนอแรด [๑๐๑] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ถ้าบุคคลพึงได้สหายผู้มีปัญญารักษาตน เที่ยว ไปด้วยกัน เป็นสาธุวิหารี เป็นนักปราชญ์ ครอบงาอันตรายทั้งปวงได้แล้ว พึงมีใจแช่มชื่น มีสติ เที่ยวไปกับ สหายนั้นเถิด [๑๐๒] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ถ้าบุคคลไม่พึงได้สหายผู้มีปัญญารักษาตน เที่ยวไปด้วยกัน เป็นสาธุวิหารี เป็นนักปราชญ์ ก็พึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเถิด เหมือนพระราชาทรงละทิ้งแคว้น ที่ทรงชนะแล้ว ทรงประพฤติอยู่พระองค์เดียว เหมือนช้างมาตังคะละทิ้งโขลงอยู่ตัวเดียวในป่า ฉะนั้น [๑๐๓] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) เราสรรเสริญสหายสัมปทาโดยแท้ บุคคลควร คบหาสหายผู้ประเสริฐสุด (หรือ) ผู้เสมอกัน ถ้าบุคคลไม่ได้สหายเหล่านี้ พึงเป็นผู้บริโภคปัจจัยอันไม่มีโทษ จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๐๔] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลเห็นกาไลทอง ๒ วง อันสุกปลั่ง ที่ ช่างทองทาสาเร็จอย่างดี กระทบกันอยู่ที่ข้อมือแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๐๕] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งเปล่งอุทานว่า) ด้วยอาการอย่างนี้ การกล่าววาจา หรือ ความเกี่ยวข้องกับเพื่อน พึงมีแก่เรา บุคคลเมื่อเพ่งเห็นภัยนี้ ต่อไป จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๐๖] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) เพราะกามทั้งหลาย (กามทั้งหลาย หมายถึง กาม ๒ อย่าง คือ วัตถุกามและกิเลสกาม วัตถุกาม ได้แก่ วัตถุภายนอกที่มองเห็นได้มีรูปสวยๆ งามๆ เป็น ต้น กิเลสกาม ได้แก่ ความปรารถนาแห่งกิเลสมีราคะเป็นต้น) สวยงาม มีรสอร่อย น่ารื่นเริงใจ ยั่วยวนจิต ด้วยอารมณ์หลายรูปแบบ บุคคลเห็นโทษในกามคุณแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๐๗] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) คาว่า กาม นี้ เป็นอันตราย เป็นดุจฝี เป็น อุปัททวะ เป็นโรค เป็นดุจลูกศร เป็นภัย (คาว่า กาม ชื่อว่าเป็นอันตราย เพราะนามาซึ่งความฉิบหาย ชื่อว่า เป็นดุจฝี เพราะหลั่งกิเลสออกมา ชื่อว่าเป็นอุปัททวะ เพราะรบกวน ชื่อว่าเป็นโรค เพราะปล้นเอาความไม่มี โรคไป ชื่อว่าเป็นดุจลูกศร เพราะเสียดแทงจิตใจและถอนยาก ชื่อว่าเป็นภัย เพราะนามาซึ่งภัยในภพนี้ และ ภพหน้า) บุคคลเห็นภัยในกามคุณแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๐๘] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลพึงครอบงาภัยทั้งปวงแม้เหล่านี้ คือ ความหนาว ความร้อน ความหิว ความกระหาย ลม แดด เหลือบ และสัตว์เลื้อยคลาน จึงประพฤติอยู่ผู้เดียว เหมือนนอแรด [๑๐๙] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) พระปัจเจกพุทธเจ้าละทิ้งหมู่ มีขันธ์เกิดดีแล้ว มี ดอกบัว (คือธรรม) เป็นผู้ยิ่งใหญ่อยู่ในป่าตามความชอบใจได้ เหมือนนาคะละทิ้งโขลงแล้วอยู่ในป่าได้ตาม ความชอบใจ จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๑๐] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลใคร่ครวญถ้อยคาของพระปัจเจกพุทธเจ้า ผู้เป็นเผ่าพันธุ์แห่งพระอาทิตย์ว่า บุคคลสัมผัสวิมุตติใด ซึ่งเกิดขึ้นตามสมัย (หมายถึง สามยิกวิมุตติ ความ
  • 4. 4 หลุดพ้นเฉพาะสมัยที่จิตแน่วแน่) วิมุตตินั้น เป็นไปไม่ได้สาหรับบุคคลผู้ยินดีการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ดังนี้ แล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๑๑] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ประพฤติล่วงทิฎฐิอันเป็น เสี้ยนหนาม (ทิฏฐิอันเป็นเสี้ยนหนาม ในที่นี้ หมายถึงทิฏฐิ ๖๒) ถึงนิยาม (ถึงนิยาม ในที่นี้ หมายถึงบรรลุ โสดาปัตติมรรค) ได้เฉพาะมรรคแล้ว (ได้มรรคแล้ว หมายถึงได้มรรคที่เหลือ (คือ สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค)) เป็นผู้มีญาณอันเกิดขึ้นแล้ว ไม่ต้องให้ผู้อื่นแนะนา จึงประพฤติอยู่ผู้เดียว เหมือนนอแรด [๑๑๒] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) เป็นผู้ไม่โลภ ไม่ หลอกลวง ไม่กระหาย ไม่มีความลบหลู่ กาจัดสภาวะ (กิเลสดุจน้าย้อม) และโมหะได้แล้ว เป็นผู้ไม่มี ความหวังในโลกทั้งปวง จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๑๓] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลพึงละเว้นสหายชั่ว ผู้ไม่เห็นประโยชน์ ผู้ ตั้งอยู่ในธรรมที่ผิด ไม่พึงคบผู้ขวนขวาย และผู้ประมาทด้วยตนเอง จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๑๔] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลพึงคบมิตรผู้ได้ศึกษามาก (ศึกษามาก หมายถึงศึกษา ๒ อย่าง คือ ศึกษาในปริยัติอันมั่นคงคือพระไตรปิฎก และศึกษาในปฏิเวธอันเป็นเครื่องรู้ แจ้งมรรค ผล วิชชา และอภิญญา) ทรงธรรม ผู้ยิ่งใหญ่ มีปฏิภาณ รู้จักประโยชน์แล้ว พึงกาจัดความสงสัย ได้ จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๑๕] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า ไม่ชื่นชมการเล่น ความ ยินดีและความสุขในโลก ไม่ใส่ใจ งดเว้นจากฐานะแห่งการประดับตกแต่ง พูดคาจริง จึงประพฤติอยู่ผู้เดียว เหมือนนอแรด [๑๑๖] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ละทิ้งบุตร ภรรยา บิดา มารดา ทรัพย์ ธัญชาติ พวกพ้อง และกามตามส่วนแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๑๗] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) กามนี้ เป็นเครื่องข้อง มีความสุขน้อย ในกามนี้ มีความยินดีน้อย มีทุกข์มาก ผู้มีปัญญารู้ว่า กามนี้ เป็นดุจขอเหล็กแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๑๘] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ทาลายสังโยชน์แล้ว เหมือนสัตว์นาทาลายข่าย และเหมือนไฟไหม้เชื้อมอดหมดไปไม่กลับมา จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอ แรด [๑๑๙] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ภิกษุเป็นผู้ไม่สอดส่ายจักษุ และไม่เป็นผู้มีเท้า อยู่ไม่สุข คุ้มครองอินทรีย์ (อินทรีย์ หมายถึงอินทรีย์ ๖ (คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ)) รักษาใจได้แล้ว ไม่ ชุ่มด้วยกิเลส ไฟกิเลสมิได้เผา จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๒๐] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ปลงเครื่องหมายคฤหัสถ์ แล้ว ครองผ้ากาสาวะออกบวช เหมือนต้นทองหลางมีใบทึบ จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
  • 5. 5 [๑๒๑] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ไม่ทาความยินดีในรส ไม่ โลเล ไม่ต้องเลี้ยงคนอื่น เที่ยวบิณฑบาตไปตามลาดับตรอก มีใจไม่ผูกพันในตระกูลต่างๆ จึงประพฤติอยู่ผู้ เดียวเหมือนนอแรด [๑๒๒] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ละเครื่องกั้นทางใจ ๕ ประการ (เครื่องกั้นทางใจ ๕ ประการ ในที่นี้ หมายถึงนิวรณ์ ๕) ขจัดอุปกิเลส (อุปกิเลส หมายถึงอกุศล ธรรมที่เข้าไปเบียดเบียนจิต (มี ๑๖ คือ อภิชฌาวิสมโลภะ พยาบาท โกธะ อุปนาหะ มักขะ ปลาสะ อิสสา มัจฉริยะ มายา สาเถยยะ ถัมภะ สารัมภะ มานะ อติมานะ มทะ ปมาทะ)) แห่งจิตทั้งปวงได้แล้ว ไม่อิงอาศัย เครื่องอาศัยคือทิฏฐิ ตัดความรักและความชังได้แล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๒๓] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ละสุข และทุกข์ โสมนัส โทมนัส ก่อนๆ ได้แล้ว ได้อุเบกขาและสมถะอันสะอาดแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๒๔] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ตั้งความเพียรเพื่อบรรลุ ประโยชน์อย่างยิ่ง มีจิตไม่ย่อหย่อน ไม่ประพฤติเกียจคร้าน มีความบากบั่นมั่นคง เข้าถึงเรี่ยวแรงและกาลัง แล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๒๕] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ผู้ไม่ละการหลีกเร้น (การหลีกเร้น ในที่นี้ หมายถึงกายวิเวก สงัดกาย) และฌาน (ฌาน ในที่นี้ หมายถึงจิตตวิเวก สงัดจิต) ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรมเป็นนิตย์ พิจารณาเห็นโทษในภพแล้ว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๒๖] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) เมื่อปรารถนาความสิ้น ตัณหา ไม่ประมาท ไม่โง่เขลา คงแก่เรียน มีสติ ผู้มีสังขตธรรม ผู้แน่นอน มีความมุ่งมั่น จึงประพฤติอยู่ผู้ เดียวเหมือนนอแรด [๑๒๗] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ไม่สะดุ้งในเพราะเสียง เหมือนราชสีห์ ไม่ติดข่ายเหมือนลม ไม่เปียกน้าเหมือนบัว จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๒๘] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) พญาสีหราชมีเขี้ยวเป็นกาลัง ข่มขี่ครอบงาเนื้ อ ทั้งหลายเที่ยวไป ฉันใด พระปัจเจกพุทธเจ้าก็มีปัญญาเป็นกาลัง ครอบงาบุคคลทั้งหลายด้วยปัญญา ใช้สอย เสนาสนะอันสงัด จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๒๙] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) เสพอาศัยเมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา อันเป็นวิมุตติตามกาล สัตว์โลกทั้งปวงมิได้เกลียดชัง จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอ แรด [๑๓๐] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) (พระปัจเจกพุทธเจ้า) ละราคะ โทสะ และโมหะ ทาลายสังโยชน์ได้เสีย ไม่สะดุ้งในเวลาสิ้นชีวิต จึงประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด [๑๓๑] (พระปัจเจกพุทธเจ้าอีกองค์หนึ่งกล่าวว่า) ทุกวันนี้ มิตรทั้งหลายมีประโยชน์เป็นเหตุ จง คบและเสพด้วย มิตรที่ไม่มุ่งประโยชน์หาได้ยาก มนุษย์ทั้งหลายมีปัญญามุ่งประโยชน์ตน ไม่สะอาด (ไม่ สะอาด ในที่นี้ หมายถึงประกอบด้วยการกระทาทางกาย วาจา และใจ ในทางไม่ดี) พระปัจเจกพุทธเจ้า จึง ประพฤติอยู่ผู้เดียวเหมือนนอแรด
  • 6. 6 [๑๓๒] พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย (พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายกล่าวคาถาเฉพาะคาถาที่ ๙๑- ๑๓๑ ตั้งแต่คาถาที่ ๑๓๒ นี้ เป็นต้นไป พระผู้มีพระภาคตรัสเล่าคุณของพระปัจเจกพุทธเจ้าให้พระอานนท เถระฟังต่อ) มีศีลบริสุทธิ์ (ด้วยปาริสุทธิศีล ๔) มีปัญญาหมดจดดี มีจิตตั้งมั่น หมั่นประกอบธรรมเป็น เครื่องตื่น เห็นแจ้ง(ไตรลักษณ์) เห็นธรรมวิเศษ (เห็นธรรมวิเศษ หมายถึงมีปกติเห็นกุศลธรรม ๑๐ สัจ จธรรม ๔ หรือโลกุตตรธรรม ๙ (คือ มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑) โดยวิเศษ) รู้อยู่โดยพิเศษซึ่งอริยธรรมที่ ประกอบด้วยองค์มรรคและโพชฌงค์ [๑๓๓] ธีรชนเหล่าใดเจริญสุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ และอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ยังไม่บรรลุ ความเป็นสาวกในศาสนาพระชินเจ้า ธีรชนเหล่านั้นย่อมเป็นพระสยัมภูปัจเจกชินเจ้า [๑๓๔] พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายมีธรรมยิ่งใหญ่ มีธรรมกายมาก (มีธรรมกายมาก ในที่นี้ หมายถึงมีกายคือสภาวธรรมมาก) มีจิตเป็นอิสระ ข้ามห้วงแห่งทุกข์ทั้งมวลได้แล้ว มีจิตเบิกบาน มีปกติเห็น ประโยชน์อย่างยิ่ง เหมือนราชสีห์ เหมือนนอแรด [๑๓๕] พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านี้ มีอินทรีย์สงบแล้ว มีจิตสงบแล้ว มีจิตเป็นสมาธิ ประพฤติตอบ แทน(ด้วยความเอ็นดูและความกรุณา) ในเหล่าสัตว์ที่อยู่ตามชายแดน เหมือนดวงประทีปส่องสว่างอยู่ใน โลกนี้ และในโลกหน้า เกื้อกูลสัตว์โลกเป็นนิตย์ [๑๓๖] พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านี้ เป็นผู้สูงสุดในหมู่ชน ละเครื่องกั้นทั้งปวงได้แล้ว เป็นดวง ประทีปของโลก มีรัศมีเช่นกับประกายแสงแห่งทองแท่ง เป็นผู้สมควรรับทักษิณาอย่างดีของชาวโลกอย่าง แน่นอน พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านี้ เป็นผู้แนบแน่นอยู่เป็นนิตย์ (แนบแน่นอยู่เป็นนิตย์ ในที่นี้ หมายถึงอิ่ม หนาบริบูรณ์เป็นนิตย์ แม้ต้องอดอาหารถึง ๗ วัน ก็บริบูรณ์ อยู่ได้ด้วยอานาจสมาบัติ) [๑๓๗] ถ้อยคาที่พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายกล่าวไว้ดีแล้ว ย่อมแผ่ไปในโลกพร้อมทั้งเทวโลก ชน พาลเหล่าใดได้ฟังแล้ว ไม่ใส่ใจถึงคาที่พระปัจเจกพุทธเจ้ากล่าวไว้ดีแล้วอย่างนั้น ชนพาลเหล่านั้นย่อมแล่น ไปในกองทุกข์ซ้าแล้วซ้าอีก [๑๓๘] ถ้อยคาที่พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายกล่าวไว้ดีแล้ว เป็นถ้อยคาไพเราะ ดุจน้าผึ้งหยาด น้อยๆ ไหลหยดลงฉะนั้น ชนเหล่าใดได้ฟังแล้วปฏิบัติตามอย่างนั้น ชนเหล่านั้น เป็นผู้เห็นสัจจะ มีปัญญา [๑๓๙] คาถาที่พระปัจเจกพุทธเจ้ากล่าวไว้แล้ว เป็นคาถาที่โอฬาร ถ้อยคาเหล่านั้นเป็นคาที่พระ ศากยสีหะผู้สูงสุดในนรชน เสด็จออกผนวชประกาศไว้แล้วเพื่อให้เวไนยสัตว์ได้รู้ธรรม [๑๔๐] ถ้อยคาเหล่านี้ ที่พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้นกล่าวไว้แล้วเพื่ออนุเคราะห์สัตว์โลก ซึ่งพระสยัมภูผู้สีหะ(นามา) ประกาศไว้เพื่อเพิ่มพูนความสลดสังเวช ความไม่คลุกคลี และปัญญา ปัจเจกพุทธาปทาน จบ ---------------------------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค
  • 7. 7 ปัจเจกพุทธาปทาน พรรณนาปัจเจกพุทธาปทาน พระอานนท์เถระเมื่อจะสังคายนาอปทาน ต่อจากพุทธาปทานนั้นต่อไป อันท่านพระมหากัสสป เถระถามว่า นี่แน่ะท่านอาวุโสอานนท์ ปัจเจกพุทธาปทาน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติ ณ ที่ไหน จึง กล่าวว่า ลาดับนี้ ขอท่านทั้งหลายจงฟังปัจเจกพุทธาปทาน ดังนี้ . ดูก่อนอานนท์ผู้เจริญ พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าเหล่าใด กระทาบุญญาธิการไว้ คือกระทาบุญ สมภารไว้ ในพระพุทธเจ้าปางก่อนทั้งหลาย คือในอดีตพุทธเจ้าทั้งหลายปางก่อน ยังไม่ได้ความหลุดพ้นใน ศาสนาของพระชินเจ้า คือยังไม่บรรลุพระนิพพาน พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าเหล่านั้นทั้งหมดเป็นนักปราชญ์ กระทาบุคคลผู้หนึ่งให้เป็นประธานโดยมุขคือความสังเวช จึงได้เป็นพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าในโลกนี้ . ผู้มี ปัญญากล้าแข็งดี คือมีปัญญากล้าแข็งด้วยดี. แม้เว้นจากพระพุทธเจ้าทั้งหลาย คือแม้เว้นจากโอวาทานุสาสนี ของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมบรรลุคือย่อมรู้แจ้งปัจเจกสัมโพธิ คือโพธิเฉพาะผู้เดียว ได้แก่โพธิอันต่อเนื่อง (รอง) จากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ด้วยอารมณ์แม้นิดหน่อย คือแม้มีประมาณน้อย. ในโลกทั้งปวงคือในไตรโลกทั้งสิ้น เว้นเรา (คือพระพุทธเจ้า) คือละเว้นเราเสีย บุคคลผู้เสมอคือ แม้นเหมือนพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมไม่มี. เราจักกล่าว ท่านทั้งปวงผู้ปรารถนา คืออยากได้พระนิพพาน คือเภสัช ได้แก่โอสถอันยอดเยี่ยม คือเว้นสิ่งที่ยิ่งกว่า มีจิตผ่องใส คือมีใจใสสะอาด จงฟัง. (คาพยากรณ์สืบๆ กันมา คือเฉพาะองค์หนึ่งๆ เหล่าใดอันเป็นอปทานของพระปัจเจกสัมพุทธเจ้า ๑๐๐ องค์ มีอาทิ คือ พระอริฏฐะ พระอุปริฏฐะ พระตคร สิขี พระยสัสสี พระสุทัสสนะ พระปิยทัสสี พระคันธาระ พระปิณโฑละ พระอุปาสภะ พระนิถะ พระตถะ พระ สุตวะ พระภาวิตัตตะ พระสุมภะ พระสุภะ พระเมถุละ พระอัฏฐมะ พระสุเมธะ พระอนีฆะ พระสุทาฐะ พระ หิงคุ พระหิงคะ พระทเวชาลินะ พระอัฏฐกะ พระโกสละ พระสุพาหุ พระอุปเนมิสะ พระเนมิสะ พระสันตจิต ตะ พระสัจจะ พระตถะ พระวิรชะ พระปัณฑิตะ พระกาละ พระอุปกาละ พระวิชิตะ พระชิตะ พระอังคะ พระ ปังคะ พระคุตติชชิตะ พระปัสสี พระชหี พระอุปธิ พระทุกขมูละ พระอปราชิตะ พระสรภังคะ พระโลมหังสะ พระอุจจังคมายะ พระอสิตะ พระอนาสวะ พระมโนมยะ พระมานัจฉิทะ พระพันธุมะ พระตทาธิมุตตะ พระวิ มละ พระเกตุมะ พระโกตุมพรังคะ พระมาตังคะ พระอริยะ พระอัจจุตะ พระอัจจุตคามี พระพยามกะ พระสุ มังคละ และพระทิพพิละ) พระปัจเจกพุทธเจ้านั้น ชื่อว่า ผู้เดียว เพราะการบรรพชา. เพราะอรรถว่าไม่มีเพื่อน. เพราะอรรถ ว่าละตัณหา. เพราะปราศจากราคะแน่นอน. เพราะปราศจากโทสะแน่นอน. เพราะปราศจากโมหะแน่นอน. เพราะหมดกิเลสแน่นอน. เพราะดาเนินสู่ทางเป็นที่ดาเนินไปผู้เดียว. เพราะตรัสรู้พร้อมเฉพาะพระปัจเจก สัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยมผู้เดียว. ธรรมดาแรดมีนอเดียวเท่านั้น ไม่มีนอที่สองฉันใด พระปัจเจกสัมพุทธเจ้านั้นก็ฉันนั้นเหมือนกัน
  • 8. 8 เหมือนกับนอแรดนั้น เช่นเดียวกับนอแรดนั้น มีส่วนเปรียบด้วยนอแรดนั้น, ของเค็มจัดเรียกว่าเหมือนเกลือ ของขมจัดเรียกว่าเหมือนของขม ของหวานจัดเรียกว่าเหมือนน้าหวาน ของร้อนจัดเรียกว่าเหมือนไฟ ของ เย็นจัดเรียกว่าเหมือนหิมะ ลาน้าใหญ่เรียกว่าเหมือนทะเล พระสาวกผู้บรรลุมหาอภิญญาพละ เรียกว่า เหมือนพระศาสดา ฉันใด พระปัจเจกสัมพุทธเจ้านั้นก็ฉันนั้นเหมือนกัน ท่านเหมือนนอแรด เช่นกับนอแรด มีส่วนเปรียบด้วยนอแรด ผู้เดียว ไม่มีเพื่อน หลุดพ้นกิเลสเครื่องผูกพัน เที่ยวไป คืออยู่ เป็นอยู่ เป็นไปอยู่ คุ้มครองอยู่ ไปอยู่ ให้ไปอยู่ในโลกโดยชอบ เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าผู้เดียวเที่ยวไปเหมือนนอแรด. [๘๓] พระอานนทเถระ ผู้เป็นมุนีชาวแคว้นวิเทหะ น้อมกายลง ทูลถามพระตถาคตผู้ประทับอยู่ ณ พระเช ตวันมหาวิหารว่า ข้าแต่พระธีรเจ้า ได้ทราบว่า พระปัจเจกพุทธเจ้ามีอยู่ พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้เป็น นักปราชญ์ อุบัติขึ้นเพราะเหตุอะไร สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ในนครสาวัตถี ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์อยู่ในที่ลับเร้น อยู่ เกิดความปริวิตกแห่งใจขึ้นอย่างนี้ ว่า ความปรารถนาและอภินีหารของพระพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมปรากฏ ของพระสาวกทั้งหลายก็ปรากฏเหมือนอย่างนั้น แต่ของพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลายยังไม่ปรากฏ ถ้า กระไรเราพึงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วทูลถาม. ท่านพระอานนท์นั้นจึงออกจากที่เร้น ทูลถามถึง เรื่องราวนั้นโดยลาดับ. ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสปุพพโยคาวจรสูตร แก่ท่านพระอานนท์นั้นว่า ดูก่อนอานนท์ อานิสงส์ ๕ ประการเหล่านี้ คือย่อมทาผู้หยั่งลงในความเพียรอันมีในก่อน ให้ พลันบรรลุพระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ ถ้ายังไม่ให้บรรลุพระอรหัตผลในปัจจุบัน เมื่อเป็นเนั้น ย่อมให้บรรลุ พระอรหัตผลในเวลาจะตาย ๑ ถ้าไม่เป็นอย่างนั้น จะเป็นเทวบุตรบรรลุพระอรหัตผล ๑ ถ้าไม่อย่างนั้น จะ เป็นขิปปาภิญญา ตรัสรู้ได้เร็ว ในเมื่ออยู่ต่อพระพักตร์พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๑ ถ้าไม่เป็นอย่างนั้น จะ เป็น พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าในกาลสุดท้ายภายหลัง ๑ ครั้นตรัสอย่างนี้ แล้ว จึงตรัสต่อไปอีกว่า ดูก่อนอานนท์ ธรรมดาว่าพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยอภินีหาร หยั่งลง ในความเพียรอันมีในก่อน เพราะฉะนั้น ความปรารถนาและอภินีหารของพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าและสาวก ของพระพุทธเจ้าทั้งมวล จึงจาปรารถนา. ท่านพระอานนท์กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความปรารถนาของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมเป็นไปนานเพียงไร. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนอานนท์ ความปรารถนาของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย โดย กาหนดอย่างต่าย่อมเป็นไป ๔ อสงไขยแสนกัป โดยกาหนดอย่างกลางย่อมเป็นไป ๘ อสงไขยแสนกัป โดย กาหนดอย่างสูงย่อมเป็นไป ๑๖ อสงไขยแสนกัป. ก็ความแตกต่างกันเหล่านี้ พึงทราบโดยอานาจแห่งพระพุทธเจ้าผู้เป็นปัญญาธิกะยิ่งด้วยปัญญา สัทธาธิกะยิ่งด้วยศรัทธา และวิริยาธิกะยิ่งด้วยความเพียร. จริงอยู่ พระพุทธเจ้าผู้เป็นปัญญาธิกะ มีศรัทธา
  • 9. 9 อ่อน มีปัญญากล้าแข็ง. พระพุทธเจ้าผู้เป็นสัทธาธิกะ มีปัญญาปานกลาง มีศรัทธากล้าแข็ง.พระพุทธเจ้าผู้ เป็นวิริยาธิกะ มีศรัทธาและปัญญาอ่อน มีความเพียรกล้าแข็ง. จริงอยู่ อภินีหารนี้ ย่อมสาเร็จเพราะประชุมธรรม ๘ ประการไว้ได้ คือความเป็นมนุษย์ ๑ ความ ถึงพร้อมด้วยเพศชาย ๑ เหตุ ๑ การได้พบพระศาสดา ๑ การบรรพชา ๑ ความถึงพร้อมด้วยคุณ ๑ การ กระทาอันยิ่ง ๑ ความเป็นผู้มีฉันทะ ๑. (คาว่า อภินีหาร นี้ เป็นชื่อของความปรารถนาเดิมเริ่มแรก.) ถามว่า ก็ความปรารถนาของพระปัจเจกสัมพุทธเจ้า ย่อมเป็นไปนานเพียงไร? ตอบว่า ความปรารถนาของพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมเป็นไป ๒ อสงไขยแสนกัป ไม่ อาจต่ากว่านั้น พึงทราบเหตุในความปรารถนานั้นโดยนัยดังกล่าวไว้ในเบื้องต้นนั่นแหละ ก็ว่าโดยกาลแม้มี ประมาณเท่านี้ ผู้ปรารถนาความเป็นพระปัจเจกสัมพุทธเจ้า ก็จาต้อง ปรารถนาสมบัติ ๕ ประการกระทา อภินีหาร. จริงอยู่ พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าเหล่านั้น มีเหตุแห่งอภินีหารเหล่านี้ คือความเป็นมนุษย์ ๑ ความ ถึงพร้อมด้วยเพศชาย ๑ การได้เห็นท่านผู้ปราศจากอาสวะ ๑ การกระทาอันยิ่งใหญ่ ๑ ความเป็นผู้มีฉันทะ ๑ เมื่อเป็นเช่นนั้น ขอถามว่า ความปรารถนาของพระสาวกทั้งหลายเป็นไปตลอดกาลมีประมาณ เท่าไร? ตอบว่า ความปรารถนาของพระอัครสาวกเป็นไป ๑ อสงไขยแสนกัป ของพระอสีติมหาสาวก เป็นไปแสนกัปเท่านั้น. ความปรารถนาของพระพุทธบิดา พระพุทธมารดา พระพุทธอุปัฏฐากและพระพุทธ บุตร ก็แสนกัปเหมือนกัน เพราะเหตุนั้นจึงไม่อาจต่ากว่านั้น เหตุในความปรารถนานั้นมีนัยดังกล่าวแล้ว เหมือนกัน. (แต่พระสาวกเหล่านี้ ทุกองค์มีอภินีหารเฉพาะสองข้อเท่านั้น คือ อธิการ การกระทาอันยิ่ง และ ฉันทตา ความเป็นผู้มีฉันทะที่จะทา.) พระพุทธเจ้าทั้งหลายบาเพ็ญบารมีทั้งหลายตลอดกาลซึ่งมีประเภทตามที่กล่าวแล้ว ด้วยความ ปรารถนานี้ และด้วยอภินีหารนี้ อย่างนี้ แล้ว เมื่อจะเกิดขึ้นในโลก ย่อมเกิดขึ้นในสกุลกษัตริย์หรือสกุล พราหมณ์. พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมเกิดขึ้นในสกุลกษัตริย์ สกุลพราหมณ์หรือสกุลคหบดี สกุลใด สกุลหนึ่ง. ส่วนพระอัครสาวกย่อมเกิดขึ้นเฉพาะในสกุลกษัตริย์และสกุลพราหมณ์ เหมือนอย่าง พระพุทธเจ้า. พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ไม่เกิดขึ้นในสังวัฏฏกัปคือกัปเสื่อม ย่อมเกิดขึ้นในวิวัฏฏกัปคือกัปเจริญ. พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายก็เหมือนกัน. อนึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายไม่เกิดขึ้นในกาลที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายบังเกิดขึ้น. พระพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง และยังให้ผู้อื่นรู้ได้ด้วย. พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสรู้
  • 10. 10 เฉพาะตนเองแต่ไม่ยังให้ผู้อื่นรู้. พระปัจเจกพุทธเจ้าย่อมแทงตลอดอรรถรสเท่านั้น ไม่แทงตลอดธรรมรส. เพราะพระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้นไม่อาจยกโลกุตรธรรมขึ้นสู่บัญญัติแล้วแสดง. พระปัจเจกพุทธเจ้า เหล่านั้นมีการตรัสรู้ธรรม เหมือนคนใบ้เห็นความฝัน และเหมือนพรานป่าลิ้มรสกับข้าวในเมืองฉะนั้น. ท่าน บรรลุประเภทแห่งความแตกฉานในอิทธิฤทธิ์และสมาบัติทั้งปวง เป็นผู้ต่ากว่าพระพุทธเจ้า สูงกว่าพระสาวก โดยคุณวิเศษ. ให้คนอื่นบวชไม่ได้ แต่ให้ศึกษาอภิสมาจาริกวัตรได้ กระทาอุโบสถด้วยอุเทศนี้ ว่า พึงทาการ ขัดเกลาจิต ไม่พึงถึงอวสานคือจบ หรือกระทาอุโบสถโดยเพียงกล่าวว่า วันนี้ เป็นวันอุโบสถ และเมื่อจะทา อุโบสถย่อมประชุมกันทาที่รัตนมาฬกะโรงแก้ว ณ ควงต้นไม้สวรรค์ บนภูเขาคันธมาทน์แล. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสบอกความปรารถนาและอภินีหารอันบริบูรณ์ด้วยอาการทั้งปวงของพระ ปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย แก่ท่านพระอานนท์ ด้วยประการอย่างนี้ แล้ว บัดนี้ เพื่อจะตรัสบอกพระปัจเจกพุทธ เจ้านั้นๆ ผู้เป็นไปพร้อมด้วยความปรารถนานี้ และด้วยอภินีหารนี้ จึงได้ตรัสขัคควิสาณสูตรนี้ โดยนัยมีอาทิว่า วางอาชญาในสัตว์ทั้งปวงดังนี้ . นี้ เป็นเหตุเกิดแห่งขัคควิสาณสูตรด้วยอานาจการถาม โดยไม่พิเศษก่อน. บัดนี้ จะได้กล่าวการเกิดขึ้นแห่ง ขัคควิสาณสูตร โดยพิเศษ. ในข้อนั้น พึงทราบการเกิดขึ้นแห่ง คาถานี้ อย่างนี้ ก่อน [๙๑] (พระปัจเจกพุทธเจ้าองค์หนึ่งกล่าวว่า) บุคคลยกโทษในสัตว์ทุกจาพวก ไม่เบียดเบียนสัตว์หนึ่ง สัตว์ใดในบรรดาสัตว์เหล่านั้น ก็ไม่ต้องการบุตร(แล้ว) จะพึงต้องการสหายจากไหนเล่า พึงเที่ยวไปผู้ เดียวเหมือนนอแรด ได้ยินว่า พระปัจเจกพุทธเจ้าองค์นี้ หยั่งลงสู่ภูมิปัจเจกโพธิสัตว์บาเพ็ญบารมีอยู่สองอสงไขยแสน กัป บวชในศาสนาของ พระผู้มีพระภาคเจ้ากัสสปะ เป็นผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร บาเพ็ญคตปัจจาคตวัตรให้ บริบูรณ์ ได้กระทาสมณธรรมแล้ว. เขาว่า ขึ้นชื่อว่าผู้ไม่บาเพ็ญวัตรให้บริบูรณ์อย่างนี้ แล้วบรรลุพระปัจเจก โพธิญาณ ย่อมไม่มี. พระปัจเจกโพธิสัตว์นี้ บวชในศาสนาของ พระผู้มีพระภาคเจ้ากัสสป เป็นผู้ถืออยู่ป่าเป็นวัตร บาเพ็ญคตปัจจาคตวัตรนี้ อยู่สองหมื่นปี กระทากาละแล้วบังเกิดขึ้นในกามาวจรเทวโลก. จุติจากนั้นแล้วได้ ถือปฏิสนธิในพระครรภ์ของพระอัครมเหสีของพระเจ้าพาราณสี. สตรีทั้งหลายผู้ฉลาดย่อมรู้การตั้งครรภ์ได้ ในวันนั้นเอง. ก็พระอัครมเหสีนั้นเป็นสตรีคนหนึ่งบรรดาสตรีเหล่านั้น เพราะฉะนั้น พระอัครมเหสีแม้นี้ ก็ กราบทูลการตั้งครรภ์นั้นแด่พระราชา. ข้อที่เมื่อสัตว์ผู้มีบุญเกิดขึ้นในครรภ์ มาตุคามย่อมได้การบริหาร ครรภ์นั้น เป็นของธรรมดา. เพราะฉะนั้น พระราชาจึงได้ประทานการบริหารครรภ์แก่พระอัครมเหสีนั้น. จาเดิมแต่นั้น พระนางไม่ได้กลืนกินอะไรๆ ที่ร้อนจัด เย็นจัด เปรี้ยวจัด เค็มจัด เผ็ดจัดและขม จัด. เพราะเมื่อมารดากลืนกินของที่ร้อนจัด สัตว์ที่เกิดในครรภ์ย่อมเป็นเหมือนอยู่ในโลหกุมภี เมื่อกลืนกิน ของเย็นจัด ย่อมเป็นเหมือนอยู่ในโลกันตนรก เมื่อบริโภคของเปรี้ยวจัด เค็มจัด เผ็ดจัด ขมจัด อวัยวะของ
  • 11. 11 ทารกย่อมมีเวทนากล้า เหมือนถูกผ่าด้วยมีดแล้วราดด้วยของเปรี้ยวเป็นต้น. ผู้บริหารครรภ์ทั้งหลายย่อมห้ามพระนางจากการเดินมาก ยืนมาก นั่งมากและนอนมาก ด้วย หวังใจว่า ทารกที่อยู่ในครรภ์อย่าได้มีความลาบากเพราะการเคลื่อนไหว. พระนางได้การเดินเป็นต้นบนภาค พื้นที่ลาดด้วยเครื่องอันนุ่มโดยพอประมาณ ย่อมได้เสวยข้าวน้าที่เป็นสัปปายะ อร่อย สมบูรณ์ด้วยสีและกลิ่น เป็นต้น ผู้บริหารครรภ์กาหนดให้พระนางเดิน ให้ประทับนั่งและให้ออกไป. พระนางอันเขาบริหารอยู่อย่างนี้ ในเวลาพระครรภ์แก่ เสด็จเข้าเรือนประสูติ ในเวลาใกล้รุ่ง ประสูติพระโอรสผู้เช่นกับก้อนมโนศิลาที่เคล้าด้วยน้ามันที่หุงแล้ว ประกอบด้วยธัญญลักษณะและบุญ ลักษณะ. ในวันที่ ๕ จากวันนั้น พระญาติทั้งหลายจึงแสดงพระโอรสนั่นผู้ตกแต่ง ประดับประดาแล้วแด่ พระราชา. พระราชาทรงดีพระทัย ให้บารุงด้วยแม่นม ๖๖ นาง. พระราชโอรสนั้นเจริญด้วยสมบัติทั้งปวง ไม่ นานนักก็ทรงบรรลุความเป็นผู้รู้เดียงสา. พระราชาทรงอภิเษกพระโอรสนั้นผู้มีพระชนม์ ๑๖ พรรษาด้วยราชสมบัติ และให้บารุงบาเรอ ด้วยนางฟ้อนต่างๆ. พระราชโอรสผู้อภิเษกแล้ว ทรงพระนามว่าพระเจ้าพรหมทัตโดยพระนาม ครองราชสมบัติใน สองหมื่นนครในสกลชมพูทวีป. ได้ยินว่า ในชมพูทวีป เมื่อก่อนได้มีนครอยู่แปดหมื่นสี่พันนคร นครเหล่านั้นเสื่อมไปเหลืออยู่หก หมื่นนคร แต่นั้นเสื่อมไปเหลืออยู่สี่หมื่นนคร ก็ในเวลาเสื่อมหมดมีเหลืออยู่สองหมื่นนคร. ก็พระเจ้า พรหมทัตนี้ อุบัติขึ้นในเวลาเสื่อมหมด เพราะเหตุนั้น พระเจ้าพรหมทัตจึงได้มีสองหมื่นนคร มีปราสาทสอง หมื่นองค์ มีพลช้างสองหมื่นเชือก มีพลม้าสองหมื่นตัว มีพลรถสองหมื่นคัน มีพลเดินเท้าสองหมื่นคน มีสตรี สองหมื่นนางคือนางในและหญิงฟ้อน มีอามาตย์สองหมื่นคน. พระเจ้าพรหมทัตนั้นทรงครองมหาราชสมบัติอยู่นั่นแล ทรงกระทากสิณบริกรรม ทรงทา อภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘ ให้บังเกิดแล้ว. ก็เพราะเหตุว่าพระราชาผู้อภิเษกแล้ว ต้องประทับนั่งในศาลเป็น ประจา ฉะนั้น วันหนึ่งเวลาเช้าตรู่ เสวยพระกระยาหารเช้าแล้ว ประทับนั่งในที่วินิจฉัย. พวกคนได้กระทาเสียงดังลั่นเอ็ดอึงในที่นั้น. พระองค์ทรงดาริว่า เสียงนี้ เป็นอุปกิเลสแห่งสมาบัติ จึงเสด็จขึ้นสู่พื้นปราสาทประทับนั่งด้วยหวัง ว่าจะเข้าสมาบัติ ก็ไม่อาจเข้าได้ สมาบัติเสื่อมไปเพราะความสับสนในตอนเป็นพระราชา. ลาดับนั้น จึงทรงดาริว่า ราชสมบัติประเสริฐหรือสมณธรรมประเสริฐ. แต่นั้น ทรงทราบว่า ความสุขในราชสมบัตินิดหน่อย มีโทษมาก แต่ความสุขในสมณธรรมไพบูลย์ มีอานิสงส์มิใช่น้อย และบุรุษ ชั้นสูงเสพแล้ว. จึงทรงสั่งอามาตย์คนหนึ่งว่า เธอจงปกครองราชสมบัตินี้ โดยธรรมโดยสม่าเสมอ อย่า ครอบครองโดยไม่เป็นธรรม ดังนี้ แล้วทรงมอบสมบัติทั้งปวงให้แก่อามาตย์นั้น แล้วเสด็จขึ้นปราสาท ทรง
  • 12. 12 ยับยั้งอยู่ด้วยสุขในสมาบัติ ใครๆ จะเข้าไปเฝ้าไม่ได้ ยกเว้นแต่ผู้จะถวายน้าสรงพระพักตร์และไม้ชาระฟัน กับคนผู้จะนาพระกระยาหารไปถวายเป็นต้น. ลาดับนั้น เมื่อเวลาล่วงไปประมาณกึ่งเดือน พระมเหสีตรัสถามว่า พระราชาไม่ปรากฏในที่ ไหนๆ ในการเสด็จไปอุทยาน การทอดพระเนตรกาลังพลและการฟ้อนเป็นต้น พระราชาเสด็จไปไหน. อามาตย์ทั้งหลายจึงกราบทูลเนื้ อความนั้นแด่พระมเหสี. พระนางทรงให้ส่งข่าวแก่อามาตย์ (ผู้รับมอบราชสมบัติ) ว่า เมื่อท่านรับมอบราชสมบัติ แม้เรา ก็เป็นอันท่านรับมอบด้วย ท่านจงมาสาเร็จการอยู่ร่วมกับเรา. อามาตย์นั้นปิดหูทั้งสองข้างเสีย แล้วห้ามว่า คานี้ ไม่น่าฟัง. พระนางจึงให้ส่งข่าวไปอีก ๒-๓ ครั้ง ให้คุกคามเขาผู้ไม่ปรารถนาว่า ถ้าท่านไม่ทา เราจะปลด ท่านแม้จากตาแหน่ง จะให้ปลงแม้ชีวิตท่าน. อามาตย์นั้นกลัวคิดว่า ธรรมดามาตุคามเป็นผู้ตัดสินใจได้เด็ด เดี่ยว บางครั้งจะให้กระทาแม้อย่างที่ตรัสนั้น. วันหนึ่งไปที่ลับสาเร็จการอยู่ร่วมกันบนพระที่สิริไสยากับพระนาง. พระนางเป็นหญิงมีบุญ มี สัมผัสสบาย. อามาตย์นั้นกาหนัดแล้วด้วยความกาหนัดในสัมผัสของพระนาง ทั้งระแวงทั้งสงสัยนั่นแหละก็ ได้ไปในที่นั้นเนืองๆ ต่อมาหมดความระแวงสงสัย เริ่มเข้าไปโดยลาดับดุจเจ้าของเรือนของตน. ลาดับนั้น คนของพระราชาได้กราบทูลเรื่องราวนั้นแก่พระราชา. พระราชาไม่ทรงเชื่อ. จึงพากัน กราบทูลแม้ครั้งที่สอง แม้ครั้งที่สาม. ลาดับนั้น พระราชาทรงแอบไป ได้ทรงเห็นด้วยพระองค์เอง จึงรับสั่งให้ประชุมอามาตย์ทั้ง หมดแล้วแจ้งให้ทราบ. อามาตย์เหล่านั้นกราบทูลว่า อามาตย์ผู้นี้ ผิดต่อพระราชา ควรตัดมือ ควรตัดเท้า ดังนี้ แล้ว ชี้กรรมกรณ์ การลงโทษทางกายทั้งหมดจนกระทั่งถึงการเสียบหลาว. พระราชาตรัสว่า ในการฆ่า การจองจาและการทุบตีผู้นี้ การเบียดเบียนก็จะพึงเกิดขึ้นแก่เรา ใน การปลงชีวิต ปาณาติบาตก็จะพึงเกิด ในการริบทรัพย์ อทินนาทานก็จะพึงเกิดขึ้น ไม่ควรทากรรมเห็นปานนี้ พวกท่านจงขับไล่อามาตย์ผู้นี้ ออกไปเสียจากอาณาจักรของเรา. อามาตย์ทั้งหลายได้กระทาเขาให้เป็นคนไม่มีเขตแดน. เขาจึงพาเอาทรัพย์และบุตรของตนที่ พอจะนาเอาไปได้ ไปยังเขตแดนของพระราชาอื่น. พระราชาในเขตแดนนั้นได้ทรงทราบเข้าจึงตรัสถามว่า ท่านมาทาไม? อามาตย์นั้นจึงกราบทูล ว่า ข้าแต่สมมติเทพ ข้าพระองค์ปรารถนาจะคอยรับใช้พระองค์. พระราชานั้นจึงรับเขาไว้. พอล่วงไป ๒-๓ วัน อามาตย์ได้ความคุ้นเคยแล้วได้กราบทูลคานี้ กะพระราชานั้นว่า ข้าแต่ มหาราชเจ้า ข้าพระองค์เห็นน้าผึ้งไม่มีตัวอ่อน คนผู้จะเคี้ยวกินน้าผึ้งนั้นก็ไม่มี. พระราชาทรงดาริว่า อะไรนี่ คนที่จะประสงค์จะเย้ยจึงจะกล่าว จึงไม่ทรงเชื่อฟัง. อามาตย์นั้นได้ช่องจึงได้กราบทูลพรรณนาให้ดียิ่งขึ้นไป อีก. พระราชาตรัสถามว่า นี้ อะไร? อามาตย์นั้นกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ ราชสมบัติในเมืองพาราณสี พระเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า ท่านประสงค์จะนาเราไปฆ่าให้ตายหรือ. อามาตย์นั้นกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ พระองค์อย่าได้ตรัสอย่างนั้น ถ้าพระองค์ไม่ทรงเชื่อ
  • 13. 13 ขอพระองค์จงส่งคนไป. พระราชาจึงทรงส่งคนทั้งหลายไป. คนเหล่านั้นไปถึงแล้วจึงขุดซุ้มประตูแล้วโผล่ขึ้นในตาหนักที่ บรรทมของพระราชา. พระราชาทรงเห็นแล้วตรัสถามว่า พวกท่านพากันมาเพื่ออะไร? คนเหล่านั้นกราบทูลว่า พวกข้า พระองค์เป็นโจร พระเจ้าข้า. พระราชาได้ให้ทรัพย์แก่คนเหล่านั้นแล้วตรัสสอนว่า พวกท่านอย่าได้กระทา อย่างนี้ อีกแล้วปล่อยตัวไป. คนเหล่านั้นจึงมากราบทูลให้พระราชานั้นทรงทราบ. พระราชานั้นทรงทดลองอย่างนั้นแหละครั้งที่สองอีก ทรงทราบว่า พระราชาทรงมีศีล จึงคุม กองทัพมีองค์ ๔ เข้าประชิดนครหนึ่งในระหว่างแดน แล้วให้ส่งข่าวแก่อามาตย์ในนครนั้นว่า ท่านจะให้นคร แก่เราหรือว่าจะรบ. อามาตย์นั้นจึงให้คนกราบทูลเนื้ อความนั้นแก่พระเจ้าพรหมทัตว่า ขอพระองค์ผู้สมมติเทพจงสั่ง มาว่า จะรบหรือจะให้นคร. พระราชาทรงส่งข่าวไปว่า ไม่จาต้องรบ ท่านจงให้นครแล้วจงมาในนครพาราณสีนี้ . อามาตย์นั้นได้กระทาตามรับสั่งอย่างนั้น ฝ่ายพระราชาที่เป็นข้าศึกยึดนครนั้นได้แล้ว ทรงส่งทูต ทั้งหลายไปแม้ในนครที่เหลือเหมือนอย่างนั้นแหละ อามาตย์แม้เหล่านั้นก็กราบทูลแก่พระเจ้าพรหมทัต อย่างนั้นเหมือนกัน อันพระเจ้าพรหมทัตนั้นตรัสว่า ไม่จาต้องรบ พึงมา ณ ที่นี้ จึงพากันมายังเมืองพาราณ สี. ลาดับนั้น อามาตย์ทั้งหลายจึงกราบทูลพระเจ้าพรหมทัตว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า พวกข้าพระองค์ จักรบกับพระราชานั้น. พระราชาทรงห้ามว่าปาณาติบาตจักมีแก่เรา. อามาตย์ทั้งหลายกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า พวกข้าพระองค์จักจับเป็นพระราชานั้น แล้ว นามาในที่นี้ ทีเดียว ทาให้พระราชาทรงยินยอมด้วยอุบายต่างๆ แล้วกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ จงเสด็จมา ดังนี้ แล้วเริ่มจะไป. พระราชาตรัสว่า ถ้าท่านทั้งหลายจะไม่กระทาสัตว์ให้ตาย ด้วยการประหารและปล้น เราก็จะไป. อามาตย์ทั้งหลายกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ พวกข้าพระองค์จะไม่ทา พวกข้าพระองค์จะแสดง ภัยแล้วให้หนีไป ดังนี้ แล้วจึงคุมจตุรงคินีเสนา ใส่ดวงประทีปในหม้อแล้วไปในตอนกลางคืน. วันนั้น พระราชาที่เป็นข้าศึกยึดนครในที่ใกล้เมืองพาราณสีได้แล้ว ทรงดาริว่าบัดนี้ จะมีอะไร จึงให้ปลดเครื่องผูก สอดในตอนกลางคืน เป็นผู้ประมาท จึงก้าวลงสู่ความหลับพร้อมกับหมู่พล. ลาดับนั้น อามาตย์ทั้งหลายได้พาพระเจ้าพรหมทัตไปถึงค่ายของพระราชาผู้เป็นข้าศึก จึงให้นา ดวงประทีปออกจากหม้อทุกหม้อ ทาให้โชติช่วงเป็นอันเดียวกัน แล้วกระทาการโห่ร้อง. อามาตย์ของ พระราชาที่เป็นข้าศึก เห็นหมู่พลมากมายก็กลัว จึงเข้าไปเฝ้าพระราชาของตนแล้วได้กล่าวเสียงดังลั่นว่า ขอ พระองค์จงลุกขึ้นเคี้ยวกินน้าผึ้งที่ไม่มีตัวอ่อนเถิด. แม้ครั้งที่สอง แม้ครั้งที่สามก็ได้กระทาเหมือนอย่างนั้น. พระราชาผู้เป็นข้าศึกทรงตื่นขึ้นเพราะเสียงนั้น ถึงความกลัวหวาดสะดุ้ง. เสียงโห่ร้องตั้งร้อยลั่น
  • 14. 14 ไปแล้ว. พระราชานั้นทรงดาริว่า เราเชื่อคาของคนอื่นจึงตกไปอยู่ในเงื้อมมือของศัตรู ทรงบ่นถึงเรื่องนั้นๆ ไปตลอดทั้งคืน ในวันรุ่งขึ้นทรงดาริว่า พระราชาทรงตั้งอยู่ในธรรม คงไม่ทาการขัดขวาง เราจะไปให้ พระองค์อดโทษ จึงเข้าไปเฝ้าพระราชา คุกเข่าลงแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า ขอพระองค์จงอดโทษผิด ของหม่อมฉัน. พระราชาทรงโอวาทพระราชาที่เป็นข้าศึกนั้นตรัสว่า จงลุกขึ้นเถิด หม่อมฉันอดโทษแก่พระองค์. พระราชาข้าศึกนั้น เมื่อพระราชาสักว่า ตรัสอย่างนั้นเท่านั้น ก็ได้ถึงความโล่งพระทัยอย่างยิ่ง ได้ราชสมบัติ ในชนบทใกล้เคียงพระเจ้าพาราณสีนั่นเอง พระราชาทั้งสองนั้นได้เป็นพระสหายกันและกัน. ลาดับนั้น พระเจ้าพรหมทัตทอดพระเนตรเสนาทั้งสองฝ่ายรื่นเริง บันเทิงยืนร่วมกันได้ จึงทรง ดาริว่า เพราะเราผู้เดียวเท่านั้นตามรักษาจิตหยาดโลหิตสักเท่าแมลงวันตัวเล็กๆ ดื่มได้ จึงไม่เกิดขึ้นในหมู่ มหาชนนี้ โอ สาธุ โอ ดีแล้ว! สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงมีความสุข อย่าได้มีเวรกัน อย่าเบียดเบียนกัน แล้วทรง ทาเมตตาฌานให้เกิดขึ้น ทรงทาเมตตาฌานนั้นนั่นแหละให้เป็นบาท พิจารณาสังขารทั้งหลาย กระทาให้ แจ้งปัจเจกโพธิญาณ บรรลุความเป็นพระสยัมภูแล้ว. อามาตย์ทั้งหลายหมอบกราบลงแล้ว กราบทูลพระเจ้าพรหมทัตผู้มีความสุขด้วยสุขในมรรคและ ผล ผู้ประทับนั่งอยู่บนคอช้างว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า การที่จะเสด็จไป พึงทาสักการะแก่หมู่พลผู้ชนะ พึงให้ เสบียงคือภัตแก่หมู่พลผู้แพ้. พระเจ้าพรหมทัตนั้นตรัสว่า นี่แน่ะพนาย เราไม่ได้เป็นพระราชา เราชื่อว่าพระปัจเจกสัมพุทธ เจ้า. อามาตย์ทั้งหลายกราบทูลว่า พระองค์ผู้ประเสริฐตรัสอะไร พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมไม่เป็นผู้เช่นนี้ . พระราชาตรัสว่า พนายทั้งหลาย พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นเช่นไร. อามาตย์ทั้งหลายกราบทูลว่า ธรรมดาพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าเป็นผู้มีผมและหนวดยาวสองนิ้ ว ประกอบด้วยบริขาร ๘. พระราชาจึงเอาพระหัตถ์ขวาลูบพระเศียร. ทันใดนั้นเพศคฤหัสถ์อันตรธานหายไป เพศบรรพชิต ปรากฏขึ้น. พระองค์มีพระเกสาและพระมัสสุประมาณสองนิ้ ว ประกอบด้วยบริขาร ๘ เป็นเช่นกับพระเถระมี พรรษาหนึ่งร้อย. พระราชาทรงเข้าจตุตถฌานเหาะจากคอช้างขึ้นสู่เวหาส ประทับนั่งบนดอกปทุม. อามาตย์ทั้งหลายถวายบังคมแล้วทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อะไรเป็นกรรมฐาน พระองค์ บรรลุได้อย่างไร? เราปล่อยวางอาชญานั้นในสัตว์ทั้งมวล โดยไม่ให้อาชญาเป็นไปในสัตว์เหล่านั้น และโดยนาเข้า ไปซึ่งประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์อื่น ด้วยเมตตาอันเป็นฝ่ายตรงข้ามกับอาชญานั้น และเพราะเป็นผู้ปล่อยวาง อาชญาเสียแล้ว จึงไม่เบียดเบียนโดยประการที่พวกสัตว์ผู้ที่ยังไม่วางอาชญาเบียดเบียนสัตว์ทั้งหลายด้วย ท่อนไม้ ศาสตรา ฝ่ามือหรือก้อนดิน อาศัยเมตตากรรมฐานนี้ แม้ข้อหนึ่งบรรดาพรหมวิหาร ๔ เหล่านั้น เห็น