SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
ความสำคัญของการวิจัย ( ในชั้นเรียน ) กับการประกันคุณภาพการศึกษา คณะกรรมการบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ   มหาวิทยาลัยเนชั่น
หลายเหตุผลที่อาจารย์ต้องผลิตผลงานวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],หมายเหตุ :  ข้อ  1.  ไม่ทำ  –  ในอดีตไม่ส่งผลต่อตัวอาจารย์ แต่จะส่งผลต่อคณะในข้อ  2   ข้อ  2.  ไม่ทำ  –  ส่งผลต่อคะแนน  QA   ของคณะและมหาวิทยาลัย
ข้อแตกต่างระหว่างงานวิจัยเชิงวิชาการกับงานวิจัยในชั้นเรียน ประเด็น Academic Research Classroom Research 1.  เป้าหมายของการวิจัย ได้องค์ความรู้ที่สามารถสรุปอ้างอิงไปสู่กลุ่มประชากรได้ ได้องค์ความรู้ที่จะนำมาปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนางานที่กำลังปฏิบัติอยู่ ไม่สามารถอ้างอิงไปใช้กับกลุ่มอื่นได้ 2.  วิธีการกำหนดประเด็นปัญหาหรือคำถามวิจัย ตรวจเอกสาร ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประเด็นปัญหาที่พบในปัจจุบัน 3.  วิธีการตรวจเอกสาร ทำอย่างกว้างขวาง ชัดเจน และเป็นแหล่งปฐมภูมิ การตรวจเอกสารไม่เข้มข้นมากนัก อนุโลมให้ใช้ข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิ 4.  ระเบียบวิธีวิจัย ยึดแบบแผนการวิจัย มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน มีการควบคุมตัวแปรอย่างเข้มงวดและใช้ระยะเวลายาวนาน ใช้การวิจัยเชิงปริมาณมากกว่า ไม่เน้นแบบแผนวิจัยมากนัก ใช้ระยะเวลาสั้น ไม่เข้มงวดในการควบคุมตัวแปร ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพมากกว่าเชิงปริมาณ 5.  การสุ่มตัวอย่าง   เน้นการสุ่มชนิดที่คำนึงถึงความน่าจะเป็น เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากร ไม่เน้นการสุ่มตัวอย่าง กลุ่มที่ศึกษาคือนักศึกษาหรือผู้ที่เกี่ยวข้องที่ปฏิบัติงานด้วย
ข้อแตกต่างระหว่างงานวิจัยเชิงวิชาการกับงานวิจัยในชั้นเรียน ประเด็น Academic Research Classroom Research 6.  กระบวนการวัดผล ประเมินผล และมีการวัดก่อนการทดลอง ระหว่างการทดลอง และหลังการทดลอง วัดตามแบบปกติหรือใช้แบบทดสอบมาตรฐาน 7.  การวิเคราะห์ข้อมูล มีการใช้อนุมานสถิติ เมื่อมีการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยมีการทดสอบความมีนัยสำคัญ เช่น มีการใช้  t-test,  F-test  เป็นต้น เนื่องจากกลุ่มที่ศึกษาคือประชากรเป้าหมาย ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง จึงใช้สถิติเชิงบรรยาย เช่น การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นต้น 8.  ผลการวิจัย มีความกว้างขวาง และครอบคลุม อ้างอิงไปใช้กับกลุ่มอื่นได้ เฉพาะที่ เฉพาะเรื่อง ไม่สามารถอ้างอิงไปใช้กับกลุ่มอื่นได้ 9.  การนำผลไปใช้ ผลการวิจัยอาจไม่ได้นำไปใช้ปฏิบัติจริง แต่อาจนำไปตีพิมพ์เผยแพร่เป็นบทความวิจัย หรือบทความทางวิชาการ สามารถนำผลไปใช้แก้ปัญหาเฉพาะกลุ่ม และตรวจสอบผลที่เกิดขึ้น ไม่เน้นการตีพิมพ์เผยแพร่เป็นบทความทางวิชาการ 10.  ระยะเวลาในการศึกษา ใช้ระยะเวลานานเป็นภาคเรียนหรือปีการศึกษา หรือมากกว่านั้น ทำเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน ใช้ระยะเวลาสั้น ๆ ตามหัวข้อหรือประเด็นที่ศึกษา
Research Plan Framework OUTCOMES RESEARCH PLAN  PROCESS ENABLERS Self Awareness Processes Technology Leadership Productivity Quality Societal Capacity Individual Capacity Team Capacity Organizational Capacity Vision  Mission Action Plan Follow-up & Assessment Apply Workload Practice
ตัวบ่งชี้คุณภาพด้านการวิจัยของ สกอ . องค์ประกอบที่  4  การวิจัย ตัวบ่งชี้ที่  4.1:  ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ที่  4.2:  ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ที่  4.3:  เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย
ตัวบ่งชี้คุณภาพด้านการวิจัยของ สมศ . มาตรฐานด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ที่  5:  งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ที่  6:  งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ที่  7:  ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ
ระดับคุณภาพงานวิจัยที่ตีพิมพ์ ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย ๐ . ๑๒๕ มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ๐ . ๒๕ มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฎในฐานข้อมูล  TCI  ๐ . ๕๐ มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของสมศ . ๐ . ๗๕ มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร  SJR   (SCImago Journal Rank:  www.scimagojr.com )  โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ ๓ หรือ ๔   (Q3  หรือ  Q4)   ในปีล่าสุด ใน  subject category   ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของสมศ .   ๑ . ๐๐ มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร  SJR (SCImago Journal Rank:  www.scimagojr.com )  โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ใน ควอไทล์ที่ ๑ หรือ ๒   (Q1  หรือ  Q2)   ในปีล่าสุด ใน  subject category   ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล  ISI
ตัวบ่งชี้คุณภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของ สกอ . ตัวบ่งชี้ที่  2.6  เกณฑ์ที่  3 :  ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนหรือจากการทำวิจัย ตัวบ่งชี้ที่  2.6  เกณฑ์ที่  5 :  มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัย หรือจากกระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ที่  2.7  เกณฑ์ที่  4 :  มีระบบและกลไกการส่งเสริมให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ ตัวบ่งชี้ที่  5.1  เกณฑ์ที่  3-5 :  มีการบูรณาการ /  ประเมินผล /  นำผลประเมินไปปรับปรุง งานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย
ตัวบ่งชี้คุณภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของ สกอ . ตัวบ่งชี้ที่  7.2  เกณฑ์ที่  1 :  มีการกำหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบันอย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย ตัวบ่งชี้ที่  7.2  เกณฑ์ที่  2 :  กำหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัยอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ  1 ตัวบ่งชี้ที่  7.2  เกณฑ์ที่  3-5 :  มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /  มีการรวบรวมความรู้ /  มีการนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง ตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ  1
ตัวบ่งชี้คุณภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของ สมศ . ตัวบ่งชี้ที่  3:  ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่  ตัวบ่งชี้ที่  8:  การนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย ๐ . ๒๕ มีการตีพิมพ์และเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ๐ . ๕๐ มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ  (Proceeding)  ที่ได้รับการยอมรับในสาขา ๐ . ๗๕ มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ  ( Proceeding)  หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูล  TCI  หรือวารสารวิชาการระดับชาติที่ได้รับการยอมรับในสาขา ๑ . ๐๐ มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ได้รับการยอมรับในสาขา หรือในระดับสากล  เช่น  ISI  หรือ  Scopus
การประชุมทางวิชาการระดับชาติ  ( National Conference) http://ecber.kku.ac.th/
การประชุมทางวิชาการระดับชาติ  ( National Conference) http://www.huso.kku.ac.th/thai/NCHS4th/
การประชุมทางวิชาการระดับชาติและนานาชาติ  ( National/ International Conference) http://www.nccit.net/
การประชุมทางวิชาการระดับชาติ  ( National Conference) http://www.mgts.lpru.ac.th/conference2012/
การประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ  ( International Conference) www.icbir.org
วารสารที่มีชื่อปรากฏอยู่ในบัญชีรายชื่อวารสารระดับชาติและนานาชาติ  ที่ สกอ .  กำหนด  ( http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/index.html)
ข้อพิจารณาในการจัดทำแผนงานด้านการทำวิจัยของสาขาวิชา /  คณะ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แนวทางการวางแผนในการกระจายภารงานของอาจารย์ในคณะ 1. งานบริหาร  4. การบริการวิชาการ  2. การผลิตผลงานทางวิชาการ  5. การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม  ภาระงานอื่น  :  3. การพัฒนานักศึกษา  6. งานอื่นๆ ที่มอบหมาย ลำดับ สอน วิจัย งานบริหาร ภาระงานอื่น ,[object Object],30 (5  วิชา ) 4 - 6 2.  อาจารย์เน้นวิจัย 18 (3  วิชา ) 12 - 10 3.  อาจารย์เน้นภาระงานอื่น 18 (3  วิชา ) 4 - 18 ……………………… .. ……… . ……… . ……… .. ……… . 9.  ผู้ช่วยอธิการ /  หัวหน้าสาขา 18 (3  วิชา ) 4 15 3 10.  คณบดี 12 (2  วิชา ) 4 21 3
แผนงานด้านการทำวิจัย คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพและเทคโนโลยี  ( ปีการศึกษา  2554)
สรุปผลการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพ สกอ .  และ สมศ .  ปี  ’ 54
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],บทส่งท้าย
[object Object],[object Object],[object Object],บทส่งท้าย
ขอบคุณครับ...

More Related Content

What's hot

การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2
การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2
การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2Chalermpon Dondee
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลwasan
 
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้sitharukkhiansiri
 
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้sitharukkhiansiri
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันNirut Uthatip
 
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้sitharukkhiansiri
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)krupornpana55
 
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance ExcellenceEdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance ExcellenceSajee Sirikrai
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในMr-Dusit Kreachai
 
๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียนsitharukkhiansiri
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนWipha Dekthai
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนNU
 

What's hot (19)

การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2
การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2
การมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ2
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
 
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
๔.๔ การนำผลการประเมินไปใช้
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
 
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
 
คู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐานคู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐาน
 
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance ExcellenceEdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNtคู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
 

Similar to classroom research submit

ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูSarawut Rajchakit
 
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556Jaturapad Pratoom
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56Drnine Nan
 
การวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคม
การวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคมการวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคม
การวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคมDrDanai Thienphut
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1Pimpisut Plodprong
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...thanaetch
 
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfบรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfwidsanusak srisuk
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 

Similar to classroom research submit (20)

17
1717
17
 
Kp iappliedart
Kp iappliedartKp iappliedart
Kp iappliedart
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
 
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
 
การวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคม
การวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคมการวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคม
การวิจัยและพัฒนา:R&D สร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคม
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...
 
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfบรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
31.111+ข้..
31.111+ข้..31.111+ข้..
31.111+ข้..
 
31.111+ข้..
31.111+ข้..31.111+ข้..
31.111+ข้..
 

More from burin rujjanapan

Peer visit with SECI Model
Peer visit with SECI ModelPeer visit with SECI Model
Peer visit with SECI Modelburin rujjanapan
 
advertising & public relation on social media
advertising & public relation on social mediaadvertising & public relation on social media
advertising & public relation on social mediaburin rujjanapan
 
Introduction of nation university 2013
Introduction of nation university 2013Introduction of nation university 2013
Introduction of nation university 2013burin rujjanapan
 
signup facebook and use it for tourism
signup facebook and use it for tourismsignup facebook and use it for tourism
signup facebook and use it for tourismburin rujjanapan
 
Moodle19 on class server for NTU students
Moodle19 on class server for NTU studentsMoodle19 on class server for NTU students
Moodle19 on class server for NTU studentsburin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19burin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16burin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12burin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11burin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10burin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9burin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8burin rujjanapan
 

More from burin rujjanapan (20)

Peer visit with SECI Model
Peer visit with SECI ModelPeer visit with SECI Model
Peer visit with SECI Model
 
advertising & public relation on social media
advertising & public relation on social mediaadvertising & public relation on social media
advertising & public relation on social media
 
Train edoc 25561203
Train edoc 25561203Train edoc 25561203
Train edoc 25561203
 
Introduction of nation university 2013
Introduction of nation university 2013Introduction of nation university 2013
Introduction of nation university 2013
 
22 Facebook tips
22 Facebook tips22 Facebook tips
22 Facebook tips
 
how to compose blog
how to compose bloghow to compose blog
how to compose blog
 
how to use youtube.com
how to use youtube.comhow to use youtube.com
how to use youtube.com
 
how to use blogger
how to use bloggerhow to use blogger
how to use blogger
 
signup facebook and use it for tourism
signup facebook and use it for tourismsignup facebook and use it for tourism
signup facebook and use it for tourism
 
Facebook signup v.560628
Facebook signup v.560628Facebook signup v.560628
Facebook signup v.560628
 
Moodle19 on class server for NTU students
Moodle19 on class server for NTU studentsMoodle19 on class server for NTU students
Moodle19 on class server for NTU students
 
Fb cover
Fb coverFb cover
Fb cover
 
Fb cover sample
Fb cover sampleFb cover sample
Fb cover sample
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
 

classroom research submit

  • 1. ความสำคัญของการวิจัย ( ในชั้นเรียน ) กับการประกันคุณภาพการศึกษา คณะกรรมการบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเนชั่น
  • 2.
  • 3. ข้อแตกต่างระหว่างงานวิจัยเชิงวิชาการกับงานวิจัยในชั้นเรียน ประเด็น Academic Research Classroom Research 1. เป้าหมายของการวิจัย ได้องค์ความรู้ที่สามารถสรุปอ้างอิงไปสู่กลุ่มประชากรได้ ได้องค์ความรู้ที่จะนำมาปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนางานที่กำลังปฏิบัติอยู่ ไม่สามารถอ้างอิงไปใช้กับกลุ่มอื่นได้ 2. วิธีการกำหนดประเด็นปัญหาหรือคำถามวิจัย ตรวจเอกสาร ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประเด็นปัญหาที่พบในปัจจุบัน 3. วิธีการตรวจเอกสาร ทำอย่างกว้างขวาง ชัดเจน และเป็นแหล่งปฐมภูมิ การตรวจเอกสารไม่เข้มข้นมากนัก อนุโลมให้ใช้ข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิ 4. ระเบียบวิธีวิจัย ยึดแบบแผนการวิจัย มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน มีการควบคุมตัวแปรอย่างเข้มงวดและใช้ระยะเวลายาวนาน ใช้การวิจัยเชิงปริมาณมากกว่า ไม่เน้นแบบแผนวิจัยมากนัก ใช้ระยะเวลาสั้น ไม่เข้มงวดในการควบคุมตัวแปร ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพมากกว่าเชิงปริมาณ 5. การสุ่มตัวอย่าง เน้นการสุ่มชนิดที่คำนึงถึงความน่าจะเป็น เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากร ไม่เน้นการสุ่มตัวอย่าง กลุ่มที่ศึกษาคือนักศึกษาหรือผู้ที่เกี่ยวข้องที่ปฏิบัติงานด้วย
  • 4. ข้อแตกต่างระหว่างงานวิจัยเชิงวิชาการกับงานวิจัยในชั้นเรียน ประเด็น Academic Research Classroom Research 6. กระบวนการวัดผล ประเมินผล และมีการวัดก่อนการทดลอง ระหว่างการทดลอง และหลังการทดลอง วัดตามแบบปกติหรือใช้แบบทดสอบมาตรฐาน 7. การวิเคราะห์ข้อมูล มีการใช้อนุมานสถิติ เมื่อมีการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยมีการทดสอบความมีนัยสำคัญ เช่น มีการใช้ t-test, F-test เป็นต้น เนื่องจากกลุ่มที่ศึกษาคือประชากรเป้าหมาย ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง จึงใช้สถิติเชิงบรรยาย เช่น การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นต้น 8. ผลการวิจัย มีความกว้างขวาง และครอบคลุม อ้างอิงไปใช้กับกลุ่มอื่นได้ เฉพาะที่ เฉพาะเรื่อง ไม่สามารถอ้างอิงไปใช้กับกลุ่มอื่นได้ 9. การนำผลไปใช้ ผลการวิจัยอาจไม่ได้นำไปใช้ปฏิบัติจริง แต่อาจนำไปตีพิมพ์เผยแพร่เป็นบทความวิจัย หรือบทความทางวิชาการ สามารถนำผลไปใช้แก้ปัญหาเฉพาะกลุ่ม และตรวจสอบผลที่เกิดขึ้น ไม่เน้นการตีพิมพ์เผยแพร่เป็นบทความทางวิชาการ 10. ระยะเวลาในการศึกษา ใช้ระยะเวลานานเป็นภาคเรียนหรือปีการศึกษา หรือมากกว่านั้น ทำเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน ใช้ระยะเวลาสั้น ๆ ตามหัวข้อหรือประเด็นที่ศึกษา
  • 5. Research Plan Framework OUTCOMES RESEARCH PLAN PROCESS ENABLERS Self Awareness Processes Technology Leadership Productivity Quality Societal Capacity Individual Capacity Team Capacity Organizational Capacity Vision Mission Action Plan Follow-up & Assessment Apply Workload Practice
  • 6. ตัวบ่งชี้คุณภาพด้านการวิจัยของ สกอ . องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่งชี้ที่ 4.1: ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.2: ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.3: เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย
  • 7. ตัวบ่งชี้คุณภาพด้านการวิจัยของ สมศ . มาตรฐานด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ที่ 5: งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ที่ 6: งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ที่ 7: ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ
  • 8. ระดับคุณภาพงานวิจัยที่ตีพิมพ์ ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย ๐ . ๑๒๕ มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ๐ . ๒๕ มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI ๐ . ๕๐ มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของสมศ . ๐ . ๗๕ มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com ) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ ๓ หรือ ๔ (Q3 หรือ Q4) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของสมศ . ๑ . ๐๐ มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com ) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ใน ควอไทล์ที่ ๑ หรือ ๒ (Q1 หรือ Q2) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI
  • 9. ตัวบ่งชี้คุณภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของ สกอ . ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 เกณฑ์ที่ 3 : ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนหรือจากการทำวิจัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 เกณฑ์ที่ 5 : มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัย หรือจากกระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 เกณฑ์ที่ 4 : มีระบบและกลไกการส่งเสริมให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 เกณฑ์ที่ 3-5 : มีการบูรณาการ / ประเมินผล / นำผลประเมินไปปรับปรุง งานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย
  • 10. ตัวบ่งชี้คุณภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของ สกอ . ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 เกณฑ์ที่ 1 : มีการกำหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบันอย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 เกณฑ์ที่ 2 : กำหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัยอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1 ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 เกณฑ์ที่ 3-5 : มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / มีการรวบรวมความรู้ / มีการนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง ตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1
  • 11. ตัวบ่งชี้คุณภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของ สมศ . ตัวบ่งชี้ที่ 3: ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ตัวบ่งชี้ที่ 8: การนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย ๐ . ๒๕ มีการตีพิมพ์และเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ๐ . ๕๐ มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceeding) ที่ได้รับการยอมรับในสาขา ๐ . ๗๕ มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ( Proceeding) หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI หรือวารสารวิชาการระดับชาติที่ได้รับการยอมรับในสาขา ๑ . ๐๐ มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ได้รับการยอมรับในสาขา หรือในระดับสากล เช่น ISI หรือ Scopus
  • 13. การประชุมทางวิชาการระดับชาติ ( National Conference) http://www.huso.kku.ac.th/thai/NCHS4th/
  • 15. การประชุมทางวิชาการระดับชาติ ( National Conference) http://www.mgts.lpru.ac.th/conference2012/
  • 18.
  • 19.
  • 22.
  • 23.