SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
สัปดาห์ที่ 7
มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
• พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๘ ให้คุรุสภามีวัตถุประสงค์ ดังนี้
• (๑)กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต กากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของ
วิชาชีพรวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพ
• (๒) กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ
• มาตรา ๙ ให้คุรุสภามีอานาจหน้าที่ ดังนี้
• (๑) กาหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
• (๑๑) ออกข้อบังคับของคุรุสภาว่าด้วย
• (จ) จรรยาบรรณของวิชาชีพ และการประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
• (ฉ)มาตรฐานวิชาชีพ
ปัจจุบัน คุรุสภาได้มีการกาหนดมาตรฐานวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาจานวน ๔ กลุ่มวิชาชีพ คือ ผู้
ประกอบวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์และขณะนี้อยู่ในระหว่างการดาเนินงานพัฒนา
มาตรฐานวิชาชีพ
๘
(
)
มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ
มีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือ
คุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้
๑. ภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู
๒. การพัฒนาหลักสูตร
๓. การจัดการเรียนรู้
๔. จิตวิทยาสาหรับครู
๕. การวัดและประเมินผลการศึกษา
๖. การบริหารจัดการในห้องเรียน
๗. การวิจัยทางการศึกษา
๘. นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
๙. ความเป็ นครู
ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตร
ปริญญาทางการศึกษาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๑ ปี และผ่าน
เกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด ดังต่อไปนี้
๑. การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน
๒. การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชา
เฉพาะ
มาตรฐานความรู้ สาระความรู้ สมรรถนะ
๑. ภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู ๑. ภาษาไทยสาหรับครู
๒. ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่นๆสาหรับครู
๓. เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับครู
๑. สามารถใช้ทักษะในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน
ภาษาไทย เพื่อการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้อง
๒. สามารถใช้ทักษะในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน
ภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศอื่น ๆ เพื่อการสื่อความหมาย
ได้อย่างถูกต้อง
๓. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน
๒. การพัฒนาหลักสูตร ๑. ปรัชญา แนวคิดทฤษฎีการศึกษา
๒. ประวัติความเป็ นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย
๓. วิสัยทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาไทย
๔. ทฤษฎีหลักสูตร
๕. การพัฒนาหลักสูตร
๖. มาตรฐานและมาตรฐานช่วงชั้นของหลัสูตร
๗. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
๘. ปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร
๑. สามารถวิเคราะห์หลักสูตร
๒. สามารถปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรได้อย่างหลากหลาย
๓. สามารถประเมินหลักสูตรได้ทั้งก่อนและหลังการใช้หลักสูตร
๔. สามารถจัดทาหลักสูตร
๓. การจัดการเรียนรู้ ๑. ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
๒. รูปแบบการเรียนรู้และการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน
๓. การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
๔. การบูรณาการเนื้อหาในกลุ่มสาระ การเรียนรู้
๑. สามารถนาประมวลรายวิชามาจัดทาแผนการเรียนรู้รายภาค
และตลอดภาค
๒. สามารถออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
๓. สามารถเลือกใช้ พัฒนา และ สร้างสื่ออุปกรณ์ที่ส่งเสริมการ
มาตรฐานความรู้ สาระความรู้ สมรรถนะ
๕. การวัดและประเมินผลการศึกษา ๑. หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินผลทางการศึกษา
๒. การสร้างและการใช้เครื่องมือวัดผล และประเมินผลการศึกษา
๓. การประเมินตามสภาพจริง
๔. การประเมินจากแฟ้ มสะสมงาน
๕. การประเมินภาคปฏิบัติ
๖. การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
๑. สามารถวัดและประเมินผลได้ ตามสภาพความเป็ นจริง
๒. สามารถนาผลการประเมินไปใช้ ในการปรับปรุงการจัดการ
เรียนรู้และหลักสูตร
๖. การบริหารจัดการในห้องเรียน ๑. ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ
๒. ภาวะผู้นาทางการศึกษา
๓. การคิดอย่างเป็ นระบบ
๔. การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร
๕. มนุษยสัมพันธ์ในองค์กร
๖. การติดต่อสื่อสารในองค์กร
๗. การบริหารจัดการชั้นเรียน
๘. การประกันคุณภาพการศึกษา
๙. การทางานเป็ นทีม
๑๐. การจัดทาโครงงานทางวิชาการ
๑๑. การจัดโครงการฝึกอาชีพ
๑. มีภาวะผู้นา
๒. สามารถบริหารจัดการในชั้นเรียน
๓. สามารถสื่อสารได้อย่างมีคุณภาพ
๔. สามารถในการประสานประโยชน์
๕. สามารถนานวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ในการบริหารจัดการ
พัฒนา
๑๓. การจัดระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการ
๑๔. การศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน
๗. การวิจัยทางการศึกษา ๑. ทฤษฎีการวิจัย
๒. รูปแบบการวิจัย
๓. การออกแบบการวิจัย
๔. กระบวนการวิจัย
๕. สถิติเพื่อการวิจัย
๖. การวิจัยในชั้นเรียน
๗. การฝึกปฏิบัติการวิจัย
๘. การนาเสนอผลงานวิจัย
๙. การค้นคว้า ศึกษางานวิจัย ในการพัฒนา
กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑๐. การใช้กระบวนการวิจัยในการแก้ปัญหา
๑๑. การเสนอโครงการเพื่อทาวิจัย
๑. สามารถนาผลการวิจัยไปใช้ในการจัดการเรียนการ
สอน
๒. สามารถทาวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและ
พัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานความรู้ สาระความรู้ สมรรถนะ
๘. นวัตกรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศทางการศึกษา
๑. แนวคิดทฤษฎี เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาที่ส่งเสริม
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
๒. เทคโนโลยีและสารสนเทศ
๓. การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีและ
สารสนเทศ
๔. แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
๕. การออกแบบ การสร้าง การนาไปใช้การประเมินและการ
ปรับปรุงนวัตกรรม
๑. สามารถเลือกใช้ ออกแบบ สร้าง และปรับปรุงนวัตกรรมเพื่อให้
ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ที่ดี
๒. สามารถพัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ที่ดี
๓. สามารถแสวงหาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมการ
เรียนรู้ ของผู้เรียน
๙. ความเป็ นครู ๑. ความสาคัญของวิชาชีพครู บทบาท หน้าที่ ภาระงาน
ของครู
๒. พัฒนาการของวิชาชีพครู
๓. คุณลักษณะของครูที่ดี
๔. การสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพครู
๕. การเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถภาพความเป็ นครู
๖. การเป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้และ การเป็ นผู้นาทางวิชาการ
๗. เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
๘. จรรยาบรรณของวิชาชีพครู
๙. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
๑. รัก เมตตา และปรารถนาดีต่อผู้เรียน
๒. อดทนและรับผิดชอบ
๓. เป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้และ เป็ นผู้นาทางวิชาการ
๔. มีวิสัยทัศน์
๕. ศรัทธาในวิชาชีพครู
๖. ปฏิบัติตามจรรยาบรรณของ
วิชาชีพครู
มาตรฐานประสบการณ์
วิชาชีพครู
สาระความรู้ สมรรถนะ
๑. การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน ๑. การบูรณาการความรู้ทั้งหมดมาใช้ในการฝึกประสบการณ์
วิชาชีพในสถานศึกษา
๒. ฝึกปฏิบัติการวางแผนการศึกษาผู้เรียน โดยการสังเกต
สัมภาษณ์ รวบรวมข้อมูลและนาเสนอผลการศึกษา
๓. มีส่วนร่วมกับสถานศึกษาในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร
รวมทั้งการนาหลักสูตรไปใช้
๔. ฝึกการจัดทาแผนการเรียนรู้ร่วมกับสถานศึกษา
๕. ฝึกปฏิบัติการดาเนินการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้
โดยเข้าไป มีส่วนร่วมในสถานศึกษา
๖. การจัดทาโครงงานทางวิชาการ
๑. สามารถศึกษาและแยกแยะผู้เรียนได้ตามความแตกต่างของ
ผู้เรียน
๒. สามารถจัดทาแผนการเรียนรู้
๓. สามารถฝึกปฏิบัติการสอน ตั้งแต่การจัดทาแผนการสอน
ปฏิบัติการสอน ประเมินผลและปรับปรุง
๔. สามารถจัดทาโครงงานทางวิชาการ
๒. การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
ในสาขาวิชาเฉพาะ
๑. การบูรณาการความรู้ทั้งหมดมาใช้ในการปฏิบัติการสอนใน
สถานศึกษา
๒. การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็ นสาคัญ
๓. การจัดกระบวนการเรียนรู้
๔. การเลือกใช้ การผลิตสื่อและนวัตกรรมที่สอดคล้องกับการ
จัดการเรียนรู้
๕. การใช้เทคนิคและยุทธวิธีในการจัดการเรียนรู้
๑. สามารถจัดการเรียนรู้ในสาขาวิชาเฉพาะ
๒. สามารถประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้
เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน
๓. สามารถทาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียน
๔. สามารถจัดทารายงานผลการจัดการเรียนรู้และการพัฒนา
ผู้เรียน
• มาตรฐานที่ ๑ ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยู่เสมอ
หมายถึง การศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนาตนเอง การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ และการเข้าร่วมกิจกรรมทาง
วิชาการที่องค์การหรือหน่วยงาน หรือสมาคมจัดขึ้น เช่น การประชุม การอบรม การสัมมนา และการประชุม
ปฏิบัติการ เป็ นต้น ทั้งนี้ต้องมีผลงานหรือรายงานที่ปรากฏชัดเจน
• มาตรฐานที่ ๒ ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคานึงถึงผลที่จะเกิดแก่ผู้เรียน
หมายถึง การเลือกอย่างชาญฉลาด ด้วยความรัก และหวังดีต่อผู้เรียน ดังนั้น ในการเลือกกิจกรรมการเรียนการ
สอนและกิจกรรมอื่น ๆ ครูต้องคานึงถึงประโยชน์ที่จะเกิดแก่ผู้เรียนเป็ นหลัก
• มาตรฐานที่ ๓ มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ
หมายถึง การใช้ความพยายามอย่างเต็มความสามารถของครูที่จะให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ให้มากที่สุด ตาม
ความถนัด ความสนใจ ความต้องการ โดยวิเคราะห์วินิจฉัยปัญหาความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียน ปรับเปลี่ยน
วิธีการสอนที่จะให้ได้ผลดีกว่าเดิม รวมทั้งการส่งเสริม พัฒนาการด้านต่าง ๆ ตามศักยภาพของผู้เรียน
แต่ละคนอย่างเป็ นระบบ
• มาตรฐานที่ ๔ พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง
หมายถึง การเลือกใช้ ปรับปรุง หรือสร้างแผนการสอน บันทึกการสอน หรือเตรียมการสอนใน
ลักษณะอื่น ๆ ที่สามารถนาไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ของ
การเรียนรู้
• มาตรฐานที่ ๕ พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
หมายถึง การประดิษฐ์ คิดค้น ผลิต เลือกใช้ ปรับปรุงเครื่องมืออุปกรณ์ เอกสารสิ่งพิมพ์ เทคนิค
วิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์ของการเรียนรู้
• มาตรฐานที่ ๖ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน
หมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จในการแสวงหาความรู้ ตาม
สภาพความแตกต่างของบุคคลด้วยการปฏิบัติจริง และสรุปความรู้ทั้งหลายได้ด้วยตนเองก่อให้เกิด
ค่านิยมและนิสัยในการปฏิบัติจนเป็ นบุคลิกภาพถาวรติดตัวผู้เรียนตลอดไป
• มาตรฐานที่ ๗ รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ
หมายถึง การรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนที่เกิดจากการปฏิบัติการเรียนการสอนให้ครอบคลุมสาเหตุ
ปัจจัย และ การ ดาเนินงานที่เกี่ยวข้อง โดยครูนาเสนอรายงานการปฏิบัติในรายละเอียด ดังนี้
๑) ปัญหาความต้องการของผู้เรียนที่ต้องได้รับการพัฒนา และเป้ าหมายของการพัฒนาผู้เรียน
๒) เทคนิค วิธีการ หรือนวัตกรรมการเรียนการสอนที่นามาใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน และ
ขั้นตอน วิธีการใช้ เทคนิควิธีการหรือนวัตกรรมนั้น ๆ
๓) ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามวิธีการที่กาหนด ที่เกิดกับผู้เรียน
๔) ข้อเสนอแนะแนวทางใหม่ ๆ ในการปรับปรุงและพัฒนาผู้เรียนให้ได้ผลดียิ่งขึ้น
• มาตรฐานที่ ๘ ปฏิบัติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน
หมายถึง การแสดงออกการประพฤติและปฏิบัติในด้านบุคลิกภาพทั่วไป การแต่งกาย กิริยา วาจา และ
จริยธรรมที่ เหมาะสม กับความเป็ นครูอย่างสม่าเสมอ ที่ทาให้ผู้เรียนเลื่อมใสศรัทธา และถือเป็ น
แบบอย่าง
• มาตรฐานที่ ๙ ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์
หมายถึง การตระหนักถึงความสาคัญ รับฟังความคิดเห็น ยอมรับในความรู้ความสามารถ ให้ความ
ร่วมมือในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ของเพื่อนร่วมงานด้วยความเต็มใจ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายของ
สถานศึกษา และร่วมรับผล ที่เกิดขึ้นจากการกระทานั้น
• มาตรฐานที่ ๑๐ ร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์
หมายถึง การตระหนักถึงความสาคัญ รับฟังความคิดเห็น ยอมรับในความรู้ความสามารถ ของบุคคลอื่น
ในชุมชน และร่วมมือปฏิบัติงานเพื่อพัฒนางานของ สถานศึกษา ให้ชุมชนและสถานศึกษามีการยอมรับซึ่งกัน
และกัน และ ปฏิบัติงานร่วมกันด้วยความเต็มใจ
• มาตรฐานที่ ๑๑ แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา
หมายถึง การค้นหา สังเกต จดจา และรวบรวมข้อมูลข่าวสารตามสถานการณ์ของสังคมทุกด้าน
โดยเฉพาะสารสนเทศเกี่ยวกับวิชาชีพครู สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผล และใช้ข้อมูลประกอบการ
แก้ปัญหา พัฒนาตนเอง พัฒนางาน และพัฒนาสังคมได้อย่างเหมาะสม
• มาตรฐานที่ ๑๒ สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์
หมายถึง การสร้างกิจกรรมการเรียนรู้โดยการนาเอาปัญหาหรือความจาเป็ นในการพัฒนาต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้นในการ เรียนและการจัดกิจกรรมอื่นๆ ในโรงเรียนมากาหนดเป็ นกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อนาไปสู่การ
พัฒนาของผู้เรียนที่ ถาวร เป็ นแนวทางในการแก้ปัญหาของครูอีกแบบหนึ่งที่จะนาเอาวิกฤติต่าง ๆ มาเป็ นโอกาส
ในการพัฒนา ครู จาเป็ นต้องมองมุมต่าง ๆ ของปัญหาแล้วผันมุมของปัญหาไปในทางการพัฒนา กาหนดเป็ น
กิจกรรมในการพัฒนา ของผู้เรียน ครูจึงต้องเป็ นผู้มองมุมบวกในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ กล้าที่จะเผชิญกับ
ปัญหาต่าง ๆ มีสติในการ แก้ปัญหา มิได้ตอบสนองปัญหาต่าง ๆ ด้วยอารมณ์หรือแง่มุมแบบตรงตัว ครู
สามารถมองหักมุมในทุก ๆ โอกาส มองเห็นแนวทางที่นาสู่ผลก้าวหน้าของผู้เรียน
• จรรยาบรรณต่อตนเอง
๑. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และ
วิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
• จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
๒. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็ นสมาชิก
ที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
• จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
๓. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศิษย์และ
ผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า
๔. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์
และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ
๕. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ
๖. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทาตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา
จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์และผู้รับบริการ
๗. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือ
ยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
• จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
๘. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึด
มั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
• จรรยาบรรณต่อสังคม
๙. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็ นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนา
เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของ
ส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
• จรรยาบรรณต่อตนเอง
๑. ครูต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการ
พัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ โดยต้องประพฤติและละเว้นการ
ประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
(๑) ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็ นแบบอย่างที่
ดี
(๒) ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวิตตาม
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย
(๓) ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมาย ให้สาเร็จอย่างมีคุณภาพตาม
เป้ าหมายที่กาหนด
(๔) ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางาน
และสะสมผลงานอย่างสม่าเสมอ
(๕) ค้นคว้า แสวงหา และนาเทคนิคด้านวิชาชีพ ที่พัฒนา
และก้าวหน้าเป็ นที่ยอมรับมาใช้แก่ศิษย์และผู้รับบริการให้
เกิดผลสัมฤทธิ์ที่พึงประสงค์
(๑) เกี่ยวข้องกับอบายมุขหรือเสพสิ่งเสพติดจนขาดสติหรือ
แสดงกิริยาไม่สุภาพเป็นที่น่ารังเกียจในสังคม
(๒) ประพฤติผิดทางชู้สาวหรือมีพฤติกรรมล่วงละเมิดทางเพศ
(๓) ขาดความรับผิดชอบ ความกระตือรือร้น ความเอาใจใส่
จนเกิดความเสียหายในการปฏิบัติงานตามหน้าที่
(๔) ไม่รับรู้หรือไม่แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ในการ จัดการเรียนรู้
และการปฏิบัติหน้าที่
( ) ขัดขวางการพัฒนาองค์การจนเกิดผลเสียหาย
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
(๑) แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวิชาชีพ
(๒) รักษาชื่อเสียงและปกป้ องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
(๓) ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพ ให้สาธารณชนรับรู้
(๔) อุทิศตนเพื่อความก้าวหน้าของวิชาชีพ
(๕) ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตตาม
กฎ ระเบียบ และแบบแผนของทางราชการ
(๖) เลือกใช้หลักวิชาที่ถูกต้อง สร้างสรรค์เทคนิค วิธีการใหม่ ๆ
เพื่อพัฒนาวิชาชีพ
(๗) ใช้องค์ความรู้หลากหลายในการปฏิบัติหน้าที่ และแลกเปลี่ยน
เรียนรู้กับสมาชิกในองค์การ
(๘) เข้าร่วมกิจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพอย่างสร้างสรรค์
(๑) ไม่แสดงความภาคภูมิใจในการประกอบวิชาชีพ
(๒) ดูหมิ่น เหยียดหยาม ให้ร้ายผู้ร่วมประกอบวิชาชีพศาสตร์ใน
วิชาชีพ หรือองค์กรวิชาชีพ
(๓) ประกอบการงานอื่นที่ไม่เหมาะสมกับการเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษา
(๔) ไม่ซื่อสัตย์สุจริต ไม่รับผิดชอบ หรือไม่ปฏิบัติตาม
กฎ ระเบียบ หรือแบบแผนของทางราชการจนก่อให้เกิดความ
เสียหาย
(๕) คัดลอกหรือนาผลงานของผู้อื่นมาเป็ นของตน
(๖) ใช้หลักวิชาการที่ไม่ถูกต้องในการปฏิบัติวิชาชีพ ส่งผลให้ศิษย์
หรือผู้รับบริการเกิดความเสียหาย
(๗) ใช้ความรู้ทางวิชาการ วิชาชีพ หรืออาศัย องค์กรวิชาชีพ
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
๒. ครูต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ โดย
ต้องประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
• จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
๓. ครูต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตาม
บทบาท หน้าที่โดยเสมอหน้า
๔. ครูต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการ
ตาม บทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ
๕. ครูต้องประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ
๖. ครูต้องไม่กระทาตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และ
สังคมของ ศิษย์และผู้รับบริการ
๗. ครูต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับ
ผลประโยชน์ จาก การใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
โดยต้องประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
(๑) ให้คาปรึกษาหรือช่วยเหลือศิษย์และผู้รับบริการด้วยความเมตตา
กรุณาอย่างเต็มกาลังความสามารถและเสมอภาค
(๒) สนับสนุนการดาเนินงานเพื่อปกป้ องสิทธิเด็กเยาวชน และ
ผู้ด้อยโอกาส
(๓) ตั้งใจ เสียสละ และอุทิศตนในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้ศิษย์และ
ผู้รับบริการได้รับการพัฒนาตามความสามารถ ความถนัด และ
ความสนใจของแต่ละบุคคล
(๔) ส่งเสริมให้ศิษย์และผู้รับบริการสามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วย
ตนเองจากสื่อ อุปกรณ์ และ แหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย
(๕) ให้ศิษย์และผู้รับบริการ มีส่วนร่วมวางแผนการเรียนรู้ และเลือก
วิธีการปฏิบัติที่เหมาะสม กับตนเอง
(๖) เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และผู้รับบริการด้วยการรับ
ฟังความคิดเห็น ยกย่อง ชมเชย และให้กาลังใจอย่างกัลยาณมิตร
(๑) ลงโทษศิษย์อย่างไม่เหมาะสม
(๒) ไม่ใส่ใจหรือไม่รับรู้ปัญหาของศิษย์หรือผู้รับบริการจนเกิดผล
เสียหายต่อศิษย์หรือผู้รับบริการ
(๓) ดูหมิ่นเหยียดหยามศิษย์หรือผู้รับบริการ
(๔) เปิ ดเผยความลับของศิษย์หรือผู้รับบริการเป็ นผลให้ได้รับความอับ
อายหรือเสื่อมเสียชื่อเสียง
(๕) จูงใจ โน้มน้าว ยุยงส่งเสริมให้ศิษย์หรือผู้รับบริการปฏิบัติขัดต่อ
ศีลธรรมหรือกฎระเบียบ
(๖) ชักชวนใช้จ้างวานศิษย์หรือผู้รับบริการให้จัดซื้อ จัดหาสิ่งเสพติด
หรือเข้าไปเกี่ยวข้องกับอบายมุข
(๗) เรียกร้องผลตอบแทนจากศิษย์หรือผู้รับบริการในงานตามหน้าที่ที่
ต้องให้บริการ
• จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
. ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
โดยพึงประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
(๑) เสียสละ เอื้ออาทร และให้ความช่วยเหลือผู้ร่วม
ประกอบวิชาชีพ
(๒) มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกันผนึกกาลังใน
การพัฒนาการศึกษา
(๑) ปิ ดบังข้อมูลข่าวสารในการปฏิบัติงาน จนทาให้เกิด
ความเสียหายต่องานหรือผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
(๒) ปฏิเสธความรับผิดชอบ โดยตาหนิ ให้ร้ายผู้อื่นใน
ความบกพร่องที่เกิดขึ้น
(๓) สร้างกลุ่มอิทธิพลภายในองค์การหรือกลั่นแกล้ง ผู้ร่วม
ประกอบวิชาชีพให้เกิดความเสียหาย
(๔) เจตนาให้ข้อมูลเท็จทาให้เกิดความเข้าใจผิดหรือเกิด
ความเสียหายต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
(๕) วิพากษ์ วิจารณ์ผู้ร่วมประกอบวิชาชีพในเรื่องที่
ก่อให้เกิดความเสียหายหรือแตกความสามัคคี
• จรรยาบรรณต่อสังคม
๙. ครูพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็ นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวมและยึดมั่นใน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข โดยพึงประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
(๑) ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
(๒) นาภูมิปัญญาท้องถิ่นและศิลปวัฒนธรรมมาเป็ นปัจจัย
ในการจัดการศึกษาให้เป็ นประโยชน์ต่อส่วนรวม
(๓) จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ศิษย์เกิดการเรียนรู้และสามารถ
ดาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
(๔) เป็ นผู้นาในการวางแผนและดาเนินการเพื่ออนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมพัฒนาเศรษฐกิจ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ
ศิลปวัฒนธรรม
(๑) ไม่ให้ความร่วมมือหรือสนับสนุนกิจกรรมของชุมชนที่
จัดเพื่อประโยชน์ต่อการศึกษาทั้งทางตรงหรือทางอ้อม
(๒) ไม่แสดงความเป็ นผู้นาในการอนุรักษ์หรือพัฒนา
เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาหรือ
สิ่งแวดล้อม
(๓) ไม่ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีในการอนุรักษ์หรือ
พัฒนาสิ่งแวดล้อม
(๔) ปฏิบัติตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อวัฒนธรรมอันดีงามของ
ชุมชนหรือสังคม
•บุคลากรทางการศึกษา
“บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้งผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็ นผู้ทาหน้าที่ให้บริการ
หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัด กระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ
การบริหารการศึกษา และปฏิบัติงานอื่นในหน่วยงาน การศึกษา
• การพัฒนาวิชาชีพครู แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู
ครูเป็ นผู้ที่มีบทบาทสาคัญที่สุดในการจัดการศึกษาการพัฒนาวิชาชีพจึงมีความจาเป็ นและมีความสัมพันธ์ต่อการพัฒนาการศึกษา
ของประเทศ ทั้งนี้เป็ นไปตามหลักการพัฒนาวิชาชีพตามมาตรา ๘๑ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และ
หลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา และการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่าง
ต่อเนื่อง รวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพ ตามมาตรา ๙ และมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ เพื่อเป็ นการ
ยกระดับมาตรฐานวิชาชีพครูให้สูงขึ้น เหมาะสมและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในสภาพปัจจุบัน รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้ประกอบ
วิชาชีพครู ได้พัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์การประกอบวิชาชีพของตนเองให้ก้าวหน้าอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง
การพัฒนาวิชาชีพครู ผู้บริหารจาเป็ นต้องคานึงถึงเหตุผลและความจาเป็ น เพื่อให้การพัฒนาวิชาชีพครูมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อ
การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนและการศึกษษของชาติในที่สุดผู้บริหารควรส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาวิชาชีพครู ตามลาดับดังนี้
๑.การพัฒนาครูให้สามารถปฏิบัติงานปฏิรูปการเรียนรู้ ตามพระราชบัญญัติการศึกษษแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยส่งเสริมให้ครูที่ไม่มีวุฒิทาง
ครูเข้าฝึกอบรมวิชาชีพครู เพื่อให้สามารถขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูได้
๒.การพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติภาพการปฏิบัติงานของครู เป็ นการพัฒนาองค์ความรู้ทางวิชาชีพเพื่อให้ครูสามารถคิดค้น แสวงหาวิธีการ
ใหม่ ที่ได้ผลดีกว่าเดิมมาใช้ในการปฏิบัติงาน ปรับปรุงการปฏิบัติจนเห็นผลงาน คือ คุรภาพผู้เรียนที่สูงขึ้นกว่าเดิม รวมทั้งส่งเสริมให้ครู
ศึกษา วิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน
๓.การพัฒนาความก้าวหน้าของครู เพื่อให้ครูได้รับค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์มีความก้าวหน้าตามความรู้ ความสามารถ โดยการเลื่อนวิทย
ฐานะจากครูปฏิการเป็ นครูชานาญการ ครูเชี่ยวชาญ และครูเชี่ยวชาญพิเศษ โดยให้ครูสามารถประเมินผลการพัฒนางานไปสู่ความเป็ นครู
มืออาชีพได้
• รูปแบบการพัฒนาครู
การพัฒนาครูสามารถดาเนินการได้หลายรูปแบบ เช่น ตามแนวของสภาสถาบันราชภัฏได้กาหนดรูปแบบของการ
พัฒนาครู ดังนี้
๑. การฝึกอบรมในโรงเรียนพัฒนาวิชาชีพครู เน้นการปฏิบัติจริงโดยสถาบันผลิตครูเป็ นหลักสูตรระยะสั้นและระยะยาว
๒. การฝึกอบรมทั้งโรงเรียน ( The Whole School Approach ) เป็ นการฝึกอบรมเพื่อปฏิรูปการเรียนรู้กับ
บุคลากรทั้งโรงเรียน โดยมีลักษณะเป็ นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
๓. การพัฒนาโดยตัวครูเองและพัฒนาเพื่อครูตามเงื่อนไขที่กาหนด ( Peer Group Development ) เป็ นการ
ให้ทุนอุดหนุนในการพัฒนาผลงานโดยผ่านกระบวนการพัฒนาครูแกนนาครูต้นแบบ และครูแห่งชาติ การพัฒนาแนวนี้
ครูต้องเข้าร่วมโครงการพัฒนาครูต้นแบบและครูแห่งชาติโดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องนาความรู้ที่ได้พัฒนาขึ้นไปขยายผล
พัฒนาเพื่อนครูอีกจานวนหนึ่ง เมื่อผ่านการประเมินแล้วจะได้รับการรับรอง
๔. การพัฒนาครูโดยให้ครูพัฒนาตนเอง ( Self Developmentx เป็ นการให้ครูพัฒนางานโดยอิสระแต่จะได้รับ
การคัดเลือกและให้รางวัล เมื่อผลงานได้รับการตัดสินให้ชนะการประกวดแข่งขันแล้ว
• บทบาทของผู้บริหารในการพัฒนาตนเอง
การจัดการศึกษาให้เป็ นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งขาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ ผู้บริหาร
ต้องบริหารแบบสร้างผู้นา เน้นความสาเร็จของการสร้างงาน สร้างคน ให้ผู้ร่วมงานมีโอกาสใช้ความสามารถสูงสุดของตนเอง ใช้วิธีการ
หลากหลายที่ตอบสนองต่อความสามารถ และข้อจากัดของผู้ร่วมงานของแต่ละคนและทุกคนอย่างแท้จริง เป็ นระบบ รงมทั้งขยายผลจาก
กลุ่มผู้รับบริการไปสู่บุคคลอย่างกว้างขาวงและสังคมโดยรวม ผู้บริหารจะดาเนินงานบรรลุผลดังกล่าวข้างต้นได้ ผู้บริหารสามารถใช้เกณฑ์
มาตรฐานวิชาชีพบริหารการศึกษาในการพัฒนาตนเองโดยประเมินการปฏิบัติงานของตนเองตามเกณฑ์แต่ละข้อและพัฒนาให้สูงขึ้นในทุก
มาตรฐาน ก็จะได้ชื่อว่าเป็ นผู้บริหารมืออาชีพเนื่องจากเกณฑ์มาตรฐานแต่ละมาตรฐานมีระดับของความเป็ นวิชาชีพ ๓ ระดับ โดยกาหนด
รายละเอียดระดับคุณภาพ ดังนี้
๑.ระดับความสาเร็จของบุคคลขั้นพื้นฐาน เป็ นการปฏิบัติตามคาแนะนา ข้อบังคับ คาสั่ง และรูปแบบ จนเกดผลสาเร็จตามที่กาหนดไว้ใน
ลักษณะที่ต้อง พึ่งพา
๒.ระดับความสาเร็จของบุคคลขั้นคิดได้ เป็ นการคิดตัดสินใจเอง ควบคุมตนเองจนเกิดความสาเร็จ มีคุณภาพสูง ในลักษณะความสาเร็จที่
เป็ น อิสระ
๓.ระดับความสาเร็จของบุคคลขั้นนาคุณประโยชน์สู่สังคมส่วนร่วม เป็ นการทางานแบบสร้างระบบตัดสินใจเพื่อประโยชน์ร่วมกันทั้งสังคม
พัฒนาสังคมให้เป็ นหนึ่งเดียว และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างถาวร มีลักษณะความสาเร็จที่เป็ นการ ร่วมพัฒนา
• บทบาทของผู้บริหารในการควบคุมมาตรฐานวิชาชีพละจรรยาบรรณครุ
แนวทางเพื่อเตรียมการในการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณครู ผู้บริหารสามารถดาเนินการ ดังนี้
๑. ใช้จรรยาบรรณครุเป็ นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการประเมินครู เพื่อพิจารณาให้คุณให้โทษ เช่น การพิจารณาแต่งตั้ง เลื่อนตาแหน่ง เลื่อน
เงินเดือน ให้รางวัล โดยแจ้งหรือประกาศให้ทุกคนทราบแนวปฏิบัติ
๒. ใช้จรรยาบรรณครูเป็ นเครื่องมือในการบริหารงานด้วยการสอดส่องดูแล และควบคุมความประพฤติและปฏิบัติตนของครู หากพบว่าครูทา
ถูก ทาดี ก็ยกย่องให้กาลังใจ และถ้าพบว่าครูฝ่าฝืนก็ควรตักเตือนและลงโทษตามสมควร
๓. ผู้บริหารควรประเมินครูเป็ นรายบุคคล ว่ามีการประพฤติและปฏิบัติตนตามจรรยาบรรรครูมากน้อยเพียงใด หากพบว่ารายใดหรือกลุ่มใดป
กิบัติดี ปฏิบัติชอบ ก็ควรยกย่องชมเชย ให้รางวัลหากพบว่ามีความบกพร่อง อ่อนด้อยในจรรยาบรรณข้อใด ก้พัฒนาครูในหัวข้อนั้นๆ โดย
เลือกวิธีการและสื่อที่เหมาะสม เช่น ชี้แจง ตักเตือน แนะนา ชักชวนให้ปฏิบัติ พาไปดูตัวอย่างที่ดี ทาให้ดูเป็ นแบบอย่าง เชิญวิทยากรมา
อบรม เป็ นต้น
๔. ให้ครูทุกคนประเมินตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู แล้วกาหนดแนวทางการพัฒนาครูเป็ นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม เพื่อให้ผ่าน
เกณฑ์ข้อที่ยังไม่มีการปฏิบัติ หรือปฏิบัติอยู่ในระดับต่าหรือยกระดับการปฏิบัติงานในข้อที่ปฏิบัติแล้วให้สูงขึ้น
๕. ประเมินการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพครูของครูอยู่เสมอ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ครูมีคุณสมบัติ
ครบถ้วน พร้อมสาหรับการขอรับใบอนุญาตหรือต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
๖. นิเทศ ควบคุม ตรวจสอบ และปรับปรุงการปฏิบัติงานของครูอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้ครูทราบเกี่ยวกับพัฒนาการด้าน
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครู
• การพัฒนาและการส่งเสริมวิชาชีพ
• กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
• ตามาตรา ๕๒ วรรคสอง ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ กาหนดให้รัฐจัดสรร
งบประมาณและจัดตั้งกองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ( รวมถึงผู้บริหาร
การศึกษา ) อย่างเพียงพอ เพื่อให้การพัฒนาเป็ นไปอย่างมีคุณภาพและเป็ นไปอย่างต่อเนื่องได้มาตรฐานที่
เหมาะสมกับการเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพชั้นสูง โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
๑. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาโดยการให้ทุนการศึกษา อบรม ดูงาน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
๒. ส่งเสริมและสนับสุนการศึกษา ค้นคว้า วิจัยรูปแบบและกลยุทธ์ในการพัฒนา
๓. ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมที่สร้างความร่วมมือขององค์กรวิชาชีพ องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้ง
ภาครัฐแลพเอกชนในประเทศและต่างประเทศ
๔. ส่งเสริมและสนับสนุนการแลกเปลี่ยนครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษากับบุคลากรวิชาชีพระหว่าง
หน่วยงานทางการศึกษาและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
๕. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งโครงการพิเศษหรือโครงการเฉพาะเรื่องหรือกิจกรมมอื่นๆ
• กองทุนส่งเสริมครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
• เป็ นกองทุนที่จัดสรรเงินอุดหนุนงานริเริ่มสร้าสรรค์ผลงานดีเด่นละรางวัลเชิดชูเกียรติครู
คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
๑. จัดสรรเงินอุดหนุนเพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานดีเด่น ผลงานริเริ่มสร้างสรรค์ และผลงานที่
สร้างคุรประโยชน์ต่อวงการวิชาชีพ
๒. เป็ นางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ ผู้ที่มีผลงานการศึกษาค้นคว้า วิจัย การสร้างสรรค์
นวัตกรรมและงานต่างๆ ที่เป็ นประโยชน์ในการเรียนการสอนและการศึกษา
๓. เป็ นแหล่งระดมทุนจากายในและภายนอกประเทศ
๔. ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมที่สร้างความร่วมมือของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาองค์กร
วิชาชีพ องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

More Related Content

What's hot

7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูSarawut Rajchakit
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูokTophit Sampootong
 
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู นายจักราวุธ คำทวี
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokTophit Sampootong
 
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยาSure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยาKruthai Kidsdee
 
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยาSure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยาKruthai Kidsdee
 
วิชาชีพครู
วิชาชีพครูวิชาชีพครู
วิชาชีพครูpeeyaporn
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาSurapong Khamjai
 
มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพครูมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพครูpeeyaporn
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานNang Ka Nangnarak
 
งานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการงานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการkeeree samerpark
 

What's hot (19)

7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok
 
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
 
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยาSure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
 
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยาSure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
 
วิชาชีพครู
วิชาชีพครูวิชาชีพครู
วิชาชีพครู
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหา
 
มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพครูมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
งานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการงานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการ
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 

Similar to เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4nattawad147
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4benty2443
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4wanneemayss
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249gam030
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4kanwan0429
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4kanwan0429
 

Similar to เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา (20)

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 

More from Nattaka_Su

สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอก
สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอกสัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอก
สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอกNattaka_Su
 
สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11Nattaka_Su
 
สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายในสัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายในNattaka_Su
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาสัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
สัปดาห์ที่ 5 6
สัปดาห์ที่ 5   6สัปดาห์ที่ 5   6
สัปดาห์ที่ 5 6Nattaka_Su
 
สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4Nattaka_Su
 
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาNattaka_Su
 
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษามาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาNattaka_Su
 

More from Nattaka_Su (9)

สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอก
สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอกสัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอก
สัปดาห์ที่10 การประกันคุณภาพภายนอก
 
สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11
 
สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายในสัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
สัปดาห์ที่9 ประกันภายใน
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาสัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
สัปดาห์ที่ 7 มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
สัปดาห์ที่ 5 6
สัปดาห์ที่ 5   6สัปดาห์ที่ 5   6
สัปดาห์ที่ 5 6
 
สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 4
 
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
 
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษามาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
 

เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา

  • 2. • พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๘ ให้คุรุสภามีวัตถุประสงค์ ดังนี้ • (๑)กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต กากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของ วิชาชีพรวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพ • (๒) กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ • มาตรา ๙ ให้คุรุสภามีอานาจหน้าที่ ดังนี้ • (๑) กาหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ • (๑๑) ออกข้อบังคับของคุรุสภาว่าด้วย • (จ) จรรยาบรรณของวิชาชีพ และการประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ • (ฉ)มาตรฐานวิชาชีพ ปัจจุบัน คุรุสภาได้มีการกาหนดมาตรฐานวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาจานวน ๔ กลุ่มวิชาชีพ คือ ผู้ ประกอบวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์และขณะนี้อยู่ในระหว่างการดาเนินงานพัฒนา มาตรฐานวิชาชีพ
  • 4. มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ มีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือ คุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ ๑. ภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู ๒. การพัฒนาหลักสูตร ๓. การจัดการเรียนรู้ ๔. จิตวิทยาสาหรับครู ๕. การวัดและประเมินผลการศึกษา ๖. การบริหารจัดการในห้องเรียน ๗. การวิจัยทางการศึกษา ๘. นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ๙. ความเป็ นครู ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาทางการศึกษาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๑ ปี และผ่าน เกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด ดังต่อไปนี้ ๑. การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน ๒. การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชา เฉพาะ
  • 5. มาตรฐานความรู้ สาระความรู้ สมรรถนะ ๑. ภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู ๑. ภาษาไทยสาหรับครู ๒. ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่นๆสาหรับครู ๓. เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับครู ๑. สามารถใช้ทักษะในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน ภาษาไทย เพื่อการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้อง ๒. สามารถใช้ทักษะในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน ภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศอื่น ๆ เพื่อการสื่อความหมาย ได้อย่างถูกต้อง ๓. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน ๒. การพัฒนาหลักสูตร ๑. ปรัชญา แนวคิดทฤษฎีการศึกษา ๒. ประวัติความเป็ นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย ๓. วิสัยทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาไทย ๔. ทฤษฎีหลักสูตร ๕. การพัฒนาหลักสูตร ๖. มาตรฐานและมาตรฐานช่วงชั้นของหลัสูตร ๗. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ๘. ปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร ๑. สามารถวิเคราะห์หลักสูตร ๒. สามารถปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรได้อย่างหลากหลาย ๓. สามารถประเมินหลักสูตรได้ทั้งก่อนและหลังการใช้หลักสูตร ๔. สามารถจัดทาหลักสูตร ๓. การจัดการเรียนรู้ ๑. ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน ๒. รูปแบบการเรียนรู้และการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ๓. การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ๔. การบูรณาการเนื้อหาในกลุ่มสาระ การเรียนรู้ ๑. สามารถนาประมวลรายวิชามาจัดทาแผนการเรียนรู้รายภาค และตลอดภาค ๒. สามารถออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ๓. สามารถเลือกใช้ พัฒนา และ สร้างสื่ออุปกรณ์ที่ส่งเสริมการ
  • 6. มาตรฐานความรู้ สาระความรู้ สมรรถนะ ๕. การวัดและประเมินผลการศึกษา ๑. หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินผลทางการศึกษา ๒. การสร้างและการใช้เครื่องมือวัดผล และประเมินผลการศึกษา ๓. การประเมินตามสภาพจริง ๔. การประเมินจากแฟ้ มสะสมงาน ๕. การประเมินภาคปฏิบัติ ๖. การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม ๑. สามารถวัดและประเมินผลได้ ตามสภาพความเป็ นจริง ๒. สามารถนาผลการประเมินไปใช้ ในการปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้และหลักสูตร ๖. การบริหารจัดการในห้องเรียน ๑. ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ ๒. ภาวะผู้นาทางการศึกษา ๓. การคิดอย่างเป็ นระบบ ๔. การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร ๕. มนุษยสัมพันธ์ในองค์กร ๖. การติดต่อสื่อสารในองค์กร ๗. การบริหารจัดการชั้นเรียน ๘. การประกันคุณภาพการศึกษา ๙. การทางานเป็ นทีม ๑๐. การจัดทาโครงงานทางวิชาการ ๑๑. การจัดโครงการฝึกอาชีพ ๑. มีภาวะผู้นา ๒. สามารถบริหารจัดการในชั้นเรียน ๓. สามารถสื่อสารได้อย่างมีคุณภาพ ๔. สามารถในการประสานประโยชน์ ๕. สามารถนานวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ในการบริหารจัดการ
  • 7. พัฒนา ๑๓. การจัดระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการ ๑๔. การศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน ๗. การวิจัยทางการศึกษา ๑. ทฤษฎีการวิจัย ๒. รูปแบบการวิจัย ๓. การออกแบบการวิจัย ๔. กระบวนการวิจัย ๕. สถิติเพื่อการวิจัย ๖. การวิจัยในชั้นเรียน ๗. การฝึกปฏิบัติการวิจัย ๘. การนาเสนอผลงานวิจัย ๙. การค้นคว้า ศึกษางานวิจัย ในการพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๑๐. การใช้กระบวนการวิจัยในการแก้ปัญหา ๑๑. การเสนอโครงการเพื่อทาวิจัย ๑. สามารถนาผลการวิจัยไปใช้ในการจัดการเรียนการ สอน ๒. สามารถทาวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและ พัฒนาผู้เรียน
  • 8. มาตรฐานความรู้ สาระความรู้ สมรรถนะ ๘. นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา ๑. แนวคิดทฤษฎี เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาที่ส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ ๒. เทคโนโลยีและสารสนเทศ ๓. การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีและ สารสนเทศ ๔. แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ ๕. การออกแบบ การสร้าง การนาไปใช้การประเมินและการ ปรับปรุงนวัตกรรม ๑. สามารถเลือกใช้ ออกแบบ สร้าง และปรับปรุงนวัตกรรมเพื่อให้ ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ที่ดี ๒. สามารถพัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ที่ดี ๓. สามารถแสวงหาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมการ เรียนรู้ ของผู้เรียน ๙. ความเป็ นครู ๑. ความสาคัญของวิชาชีพครู บทบาท หน้าที่ ภาระงาน ของครู ๒. พัฒนาการของวิชาชีพครู ๓. คุณลักษณะของครูที่ดี ๔. การสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพครู ๕. การเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถภาพความเป็ นครู ๖. การเป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้และ การเป็ นผู้นาทางวิชาการ ๗. เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ๘. จรรยาบรรณของวิชาชีพครู ๙. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ๑. รัก เมตตา และปรารถนาดีต่อผู้เรียน ๒. อดทนและรับผิดชอบ ๓. เป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้และ เป็ นผู้นาทางวิชาการ ๔. มีวิสัยทัศน์ ๕. ศรัทธาในวิชาชีพครู ๖. ปฏิบัติตามจรรยาบรรณของ วิชาชีพครู
  • 9. มาตรฐานประสบการณ์ วิชาชีพครู สาระความรู้ สมรรถนะ ๑. การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน ๑. การบูรณาการความรู้ทั้งหมดมาใช้ในการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพในสถานศึกษา ๒. ฝึกปฏิบัติการวางแผนการศึกษาผู้เรียน โดยการสังเกต สัมภาษณ์ รวบรวมข้อมูลและนาเสนอผลการศึกษา ๓. มีส่วนร่วมกับสถานศึกษาในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร รวมทั้งการนาหลักสูตรไปใช้ ๔. ฝึกการจัดทาแผนการเรียนรู้ร่วมกับสถานศึกษา ๕. ฝึกปฏิบัติการดาเนินการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ โดยเข้าไป มีส่วนร่วมในสถานศึกษา ๖. การจัดทาโครงงานทางวิชาการ ๑. สามารถศึกษาและแยกแยะผู้เรียนได้ตามความแตกต่างของ ผู้เรียน ๒. สามารถจัดทาแผนการเรียนรู้ ๓. สามารถฝึกปฏิบัติการสอน ตั้งแต่การจัดทาแผนการสอน ปฏิบัติการสอน ประเมินผลและปรับปรุง ๔. สามารถจัดทาโครงงานทางวิชาการ ๒. การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ในสาขาวิชาเฉพาะ ๑. การบูรณาการความรู้ทั้งหมดมาใช้ในการปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษา ๒. การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็ นสาคัญ ๓. การจัดกระบวนการเรียนรู้ ๔. การเลือกใช้ การผลิตสื่อและนวัตกรรมที่สอดคล้องกับการ จัดการเรียนรู้ ๕. การใช้เทคนิคและยุทธวิธีในการจัดการเรียนรู้ ๑. สามารถจัดการเรียนรู้ในสาขาวิชาเฉพาะ ๒. สามารถประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้ เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน ๓. สามารถทาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียน ๔. สามารถจัดทารายงานผลการจัดการเรียนรู้และการพัฒนา ผู้เรียน
  • 10. • มาตรฐานที่ ๑ ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยู่เสมอ หมายถึง การศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนาตนเอง การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ และการเข้าร่วมกิจกรรมทาง วิชาการที่องค์การหรือหน่วยงาน หรือสมาคมจัดขึ้น เช่น การประชุม การอบรม การสัมมนา และการประชุม ปฏิบัติการ เป็ นต้น ทั้งนี้ต้องมีผลงานหรือรายงานที่ปรากฏชัดเจน • มาตรฐานที่ ๒ ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคานึงถึงผลที่จะเกิดแก่ผู้เรียน หมายถึง การเลือกอย่างชาญฉลาด ด้วยความรัก และหวังดีต่อผู้เรียน ดังนั้น ในการเลือกกิจกรรมการเรียนการ สอนและกิจกรรมอื่น ๆ ครูต้องคานึงถึงประโยชน์ที่จะเกิดแก่ผู้เรียนเป็ นหลัก • มาตรฐานที่ ๓ มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ หมายถึง การใช้ความพยายามอย่างเต็มความสามารถของครูที่จะให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ให้มากที่สุด ตาม ความถนัด ความสนใจ ความต้องการ โดยวิเคราะห์วินิจฉัยปัญหาความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียน ปรับเปลี่ยน วิธีการสอนที่จะให้ได้ผลดีกว่าเดิม รวมทั้งการส่งเสริม พัฒนาการด้านต่าง ๆ ตามศักยภาพของผู้เรียน แต่ละคนอย่างเป็ นระบบ
  • 11. • มาตรฐานที่ ๔ พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง หมายถึง การเลือกใช้ ปรับปรุง หรือสร้างแผนการสอน บันทึกการสอน หรือเตรียมการสอนใน ลักษณะอื่น ๆ ที่สามารถนาไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ของ การเรียนรู้ • มาตรฐานที่ ๕ พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ หมายถึง การประดิษฐ์ คิดค้น ผลิต เลือกใช้ ปรับปรุงเครื่องมืออุปกรณ์ เอกสารสิ่งพิมพ์ เทคนิค วิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์ของการเรียนรู้ • มาตรฐานที่ ๖ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน หมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จในการแสวงหาความรู้ ตาม สภาพความแตกต่างของบุคคลด้วยการปฏิบัติจริง และสรุปความรู้ทั้งหลายได้ด้วยตนเองก่อให้เกิด ค่านิยมและนิสัยในการปฏิบัติจนเป็ นบุคลิกภาพถาวรติดตัวผู้เรียนตลอดไป
  • 12. • มาตรฐานที่ ๗ รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ หมายถึง การรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนที่เกิดจากการปฏิบัติการเรียนการสอนให้ครอบคลุมสาเหตุ ปัจจัย และ การ ดาเนินงานที่เกี่ยวข้อง โดยครูนาเสนอรายงานการปฏิบัติในรายละเอียด ดังนี้ ๑) ปัญหาความต้องการของผู้เรียนที่ต้องได้รับการพัฒนา และเป้ าหมายของการพัฒนาผู้เรียน ๒) เทคนิค วิธีการ หรือนวัตกรรมการเรียนการสอนที่นามาใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน และ ขั้นตอน วิธีการใช้ เทคนิควิธีการหรือนวัตกรรมนั้น ๆ ๓) ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามวิธีการที่กาหนด ที่เกิดกับผู้เรียน ๔) ข้อเสนอแนะแนวทางใหม่ ๆ ในการปรับปรุงและพัฒนาผู้เรียนให้ได้ผลดียิ่งขึ้น • มาตรฐานที่ ๘ ปฏิบัติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน หมายถึง การแสดงออกการประพฤติและปฏิบัติในด้านบุคลิกภาพทั่วไป การแต่งกาย กิริยา วาจา และ จริยธรรมที่ เหมาะสม กับความเป็ นครูอย่างสม่าเสมอ ที่ทาให้ผู้เรียนเลื่อมใสศรัทธา และถือเป็ น แบบอย่าง • มาตรฐานที่ ๙ ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ หมายถึง การตระหนักถึงความสาคัญ รับฟังความคิดเห็น ยอมรับในความรู้ความสามารถ ให้ความ ร่วมมือในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ของเพื่อนร่วมงานด้วยความเต็มใจ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายของ สถานศึกษา และร่วมรับผล ที่เกิดขึ้นจากการกระทานั้น
  • 13. • มาตรฐานที่ ๑๐ ร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์ หมายถึง การตระหนักถึงความสาคัญ รับฟังความคิดเห็น ยอมรับในความรู้ความสามารถ ของบุคคลอื่น ในชุมชน และร่วมมือปฏิบัติงานเพื่อพัฒนางานของ สถานศึกษา ให้ชุมชนและสถานศึกษามีการยอมรับซึ่งกัน และกัน และ ปฏิบัติงานร่วมกันด้วยความเต็มใจ • มาตรฐานที่ ๑๑ แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา หมายถึง การค้นหา สังเกต จดจา และรวบรวมข้อมูลข่าวสารตามสถานการณ์ของสังคมทุกด้าน โดยเฉพาะสารสนเทศเกี่ยวกับวิชาชีพครู สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผล และใช้ข้อมูลประกอบการ แก้ปัญหา พัฒนาตนเอง พัฒนางาน และพัฒนาสังคมได้อย่างเหมาะสม • มาตรฐานที่ ๑๒ สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์ หมายถึง การสร้างกิจกรรมการเรียนรู้โดยการนาเอาปัญหาหรือความจาเป็ นในการพัฒนาต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นในการ เรียนและการจัดกิจกรรมอื่นๆ ในโรงเรียนมากาหนดเป็ นกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อนาไปสู่การ พัฒนาของผู้เรียนที่ ถาวร เป็ นแนวทางในการแก้ปัญหาของครูอีกแบบหนึ่งที่จะนาเอาวิกฤติต่าง ๆ มาเป็ นโอกาส ในการพัฒนา ครู จาเป็ นต้องมองมุมต่าง ๆ ของปัญหาแล้วผันมุมของปัญหาไปในทางการพัฒนา กาหนดเป็ น กิจกรรมในการพัฒนา ของผู้เรียน ครูจึงต้องเป็ นผู้มองมุมบวกในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ กล้าที่จะเผชิญกับ ปัญหาต่าง ๆ มีสติในการ แก้ปัญหา มิได้ตอบสนองปัญหาต่าง ๆ ด้วยอารมณ์หรือแง่มุมแบบตรงตัว ครู สามารถมองหักมุมในทุก ๆ โอกาส มองเห็นแนวทางที่นาสู่ผลก้าวหน้าของผู้เรียน
  • 14. • จรรยาบรรณต่อตนเอง ๑. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และ วิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ • จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ๒. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็ นสมาชิก ที่ดีขององค์กรวิชาชีพ • จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ ๓. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศิษย์และ ผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า ๔. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ ๕. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ๖. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทาตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์และผู้รับบริการ ๗. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือ ยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
  • 15. • จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ๘. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึด มั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ • จรรยาบรรณต่อสังคม ๙. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็ นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของ ส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข • จรรยาบรรณต่อตนเอง ๑. ครูต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการ พัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ โดยต้องประพฤติและละเว้นการ ประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
  • 16. พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ (๑) ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็ นแบบอย่างที่ ดี (๒) ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวิตตาม ประเพณีและวัฒนธรรมไทย (๓) ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย ให้สาเร็จอย่างมีคุณภาพตาม เป้ าหมายที่กาหนด (๔) ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และสะสมผลงานอย่างสม่าเสมอ (๕) ค้นคว้า แสวงหา และนาเทคนิคด้านวิชาชีพ ที่พัฒนา และก้าวหน้าเป็ นที่ยอมรับมาใช้แก่ศิษย์และผู้รับบริการให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ที่พึงประสงค์ (๑) เกี่ยวข้องกับอบายมุขหรือเสพสิ่งเสพติดจนขาดสติหรือ แสดงกิริยาไม่สุภาพเป็นที่น่ารังเกียจในสังคม (๒) ประพฤติผิดทางชู้สาวหรือมีพฤติกรรมล่วงละเมิดทางเพศ (๓) ขาดความรับผิดชอบ ความกระตือรือร้น ความเอาใจใส่ จนเกิดความเสียหายในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ (๔) ไม่รับรู้หรือไม่แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ในการ จัดการเรียนรู้ และการปฏิบัติหน้าที่ ( ) ขัดขวางการพัฒนาองค์การจนเกิดผลเสียหาย
  • 17. พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ (๑) แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวิชาชีพ (๒) รักษาชื่อเสียงและปกป้ องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ (๓) ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพ ให้สาธารณชนรับรู้ (๔) อุทิศตนเพื่อความก้าวหน้าของวิชาชีพ (๕) ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตตาม กฎ ระเบียบ และแบบแผนของทางราชการ (๖) เลือกใช้หลักวิชาที่ถูกต้อง สร้างสรรค์เทคนิค วิธีการใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาวิชาชีพ (๗) ใช้องค์ความรู้หลากหลายในการปฏิบัติหน้าที่ และแลกเปลี่ยน เรียนรู้กับสมาชิกในองค์การ (๘) เข้าร่วมกิจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพอย่างสร้างสรรค์ (๑) ไม่แสดงความภาคภูมิใจในการประกอบวิชาชีพ (๒) ดูหมิ่น เหยียดหยาม ให้ร้ายผู้ร่วมประกอบวิชาชีพศาสตร์ใน วิชาชีพ หรือองค์กรวิชาชีพ (๓) ประกอบการงานอื่นที่ไม่เหมาะสมกับการเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพ ทางการศึกษา (๔) ไม่ซื่อสัตย์สุจริต ไม่รับผิดชอบ หรือไม่ปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ หรือแบบแผนของทางราชการจนก่อให้เกิดความ เสียหาย (๕) คัดลอกหรือนาผลงานของผู้อื่นมาเป็ นของตน (๖) ใช้หลักวิชาการที่ไม่ถูกต้องในการปฏิบัติวิชาชีพ ส่งผลให้ศิษย์ หรือผู้รับบริการเกิดความเสียหาย (๗) ใช้ความรู้ทางวิชาการ วิชาชีพ หรืออาศัย องค์กรวิชาชีพ จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ๒. ครูต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ โดย ต้องประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
  • 18. • จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ ๓. ครูต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตาม บทบาท หน้าที่โดยเสมอหน้า ๔. ครูต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตาม บทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ ๕. ครูต้องประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ๖. ครูต้องไม่กระทาตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และ สังคมของ ศิษย์และผู้รับบริการ ๗. ครูต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับ ผลประโยชน์ จาก การใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ โดยต้องประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
  • 19. พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ (๑) ให้คาปรึกษาหรือช่วยเหลือศิษย์และผู้รับบริการด้วยความเมตตา กรุณาอย่างเต็มกาลังความสามารถและเสมอภาค (๒) สนับสนุนการดาเนินงานเพื่อปกป้ องสิทธิเด็กเยาวชน และ ผู้ด้อยโอกาส (๓) ตั้งใจ เสียสละ และอุทิศตนในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้ศิษย์และ ผู้รับบริการได้รับการพัฒนาตามความสามารถ ความถนัด และ ความสนใจของแต่ละบุคคล (๔) ส่งเสริมให้ศิษย์และผู้รับบริการสามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วย ตนเองจากสื่อ อุปกรณ์ และ แหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย (๕) ให้ศิษย์และผู้รับบริการ มีส่วนร่วมวางแผนการเรียนรู้ และเลือก วิธีการปฏิบัติที่เหมาะสม กับตนเอง (๖) เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และผู้รับบริการด้วยการรับ ฟังความคิดเห็น ยกย่อง ชมเชย และให้กาลังใจอย่างกัลยาณมิตร (๑) ลงโทษศิษย์อย่างไม่เหมาะสม (๒) ไม่ใส่ใจหรือไม่รับรู้ปัญหาของศิษย์หรือผู้รับบริการจนเกิดผล เสียหายต่อศิษย์หรือผู้รับบริการ (๓) ดูหมิ่นเหยียดหยามศิษย์หรือผู้รับบริการ (๔) เปิ ดเผยความลับของศิษย์หรือผู้รับบริการเป็ นผลให้ได้รับความอับ อายหรือเสื่อมเสียชื่อเสียง (๕) จูงใจ โน้มน้าว ยุยงส่งเสริมให้ศิษย์หรือผู้รับบริการปฏิบัติขัดต่อ ศีลธรรมหรือกฎระเบียบ (๖) ชักชวนใช้จ้างวานศิษย์หรือผู้รับบริการให้จัดซื้อ จัดหาสิ่งเสพติด หรือเข้าไปเกี่ยวข้องกับอบายมุข (๗) เรียกร้องผลตอบแทนจากศิษย์หรือผู้รับบริการในงานตามหน้าที่ที่ ต้องให้บริการ
  • 20. • จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ . ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ โดยพึงประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ (๑) เสียสละ เอื้ออาทร และให้ความช่วยเหลือผู้ร่วม ประกอบวิชาชีพ (๒) มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกันผนึกกาลังใน การพัฒนาการศึกษา (๑) ปิ ดบังข้อมูลข่าวสารในการปฏิบัติงาน จนทาให้เกิด ความเสียหายต่องานหรือผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ (๒) ปฏิเสธความรับผิดชอบ โดยตาหนิ ให้ร้ายผู้อื่นใน ความบกพร่องที่เกิดขึ้น (๓) สร้างกลุ่มอิทธิพลภายในองค์การหรือกลั่นแกล้ง ผู้ร่วม ประกอบวิชาชีพให้เกิดความเสียหาย (๔) เจตนาให้ข้อมูลเท็จทาให้เกิดความเข้าใจผิดหรือเกิด ความเสียหายต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ (๕) วิพากษ์ วิจารณ์ผู้ร่วมประกอบวิชาชีพในเรื่องที่ ก่อให้เกิดความเสียหายหรือแตกความสามัคคี
  • 21. • จรรยาบรรณต่อสังคม ๙. ครูพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็ นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวมและยึดมั่นใน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข โดยพึงประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ (๑) ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข (๒) นาภูมิปัญญาท้องถิ่นและศิลปวัฒนธรรมมาเป็ นปัจจัย ในการจัดการศึกษาให้เป็ นประโยชน์ต่อส่วนรวม (๓) จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ศิษย์เกิดการเรียนรู้และสามารถ ดาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง (๔) เป็ นผู้นาในการวางแผนและดาเนินการเพื่ออนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมพัฒนาเศรษฐกิจ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ ศิลปวัฒนธรรม (๑) ไม่ให้ความร่วมมือหรือสนับสนุนกิจกรรมของชุมชนที่ จัดเพื่อประโยชน์ต่อการศึกษาทั้งทางตรงหรือทางอ้อม (๒) ไม่แสดงความเป็ นผู้นาในการอนุรักษ์หรือพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาหรือ สิ่งแวดล้อม (๓) ไม่ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีในการอนุรักษ์หรือ พัฒนาสิ่งแวดล้อม (๔) ปฏิบัติตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อวัฒนธรรมอันดีงามของ ชุมชนหรือสังคม
  • 22. •บุคลากรทางการศึกษา “บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้งผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็ นผู้ทาหน้าที่ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัด กระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ การบริหารการศึกษา และปฏิบัติงานอื่นในหน่วยงาน การศึกษา
  • 23. • การพัฒนาวิชาชีพครู แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู ครูเป็ นผู้ที่มีบทบาทสาคัญที่สุดในการจัดการศึกษาการพัฒนาวิชาชีพจึงมีความจาเป็ นและมีความสัมพันธ์ต่อการพัฒนาการศึกษา ของประเทศ ทั้งนี้เป็ นไปตามหลักการพัฒนาวิชาชีพตามมาตรา ๘๑ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และ หลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา และการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพ ตามมาตรา ๙ และมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ เพื่อเป็ นการ ยกระดับมาตรฐานวิชาชีพครูให้สูงขึ้น เหมาะสมและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในสภาพปัจจุบัน รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้ประกอบ วิชาชีพครู ได้พัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์การประกอบวิชาชีพของตนเองให้ก้าวหน้าอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง การพัฒนาวิชาชีพครู ผู้บริหารจาเป็ นต้องคานึงถึงเหตุผลและความจาเป็ น เพื่อให้การพัฒนาวิชาชีพครูมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อ การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนและการศึกษษของชาติในที่สุดผู้บริหารควรส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาวิชาชีพครู ตามลาดับดังนี้ ๑.การพัฒนาครูให้สามารถปฏิบัติงานปฏิรูปการเรียนรู้ ตามพระราชบัญญัติการศึกษษแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยส่งเสริมให้ครูที่ไม่มีวุฒิทาง ครูเข้าฝึกอบรมวิชาชีพครู เพื่อให้สามารถขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูได้ ๒.การพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติภาพการปฏิบัติงานของครู เป็ นการพัฒนาองค์ความรู้ทางวิชาชีพเพื่อให้ครูสามารถคิดค้น แสวงหาวิธีการ ใหม่ ที่ได้ผลดีกว่าเดิมมาใช้ในการปฏิบัติงาน ปรับปรุงการปฏิบัติจนเห็นผลงาน คือ คุรภาพผู้เรียนที่สูงขึ้นกว่าเดิม รวมทั้งส่งเสริมให้ครู ศึกษา วิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน ๓.การพัฒนาความก้าวหน้าของครู เพื่อให้ครูได้รับค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์มีความก้าวหน้าตามความรู้ ความสามารถ โดยการเลื่อนวิทย ฐานะจากครูปฏิการเป็ นครูชานาญการ ครูเชี่ยวชาญ และครูเชี่ยวชาญพิเศษ โดยให้ครูสามารถประเมินผลการพัฒนางานไปสู่ความเป็ นครู มืออาชีพได้
  • 24. • รูปแบบการพัฒนาครู การพัฒนาครูสามารถดาเนินการได้หลายรูปแบบ เช่น ตามแนวของสภาสถาบันราชภัฏได้กาหนดรูปแบบของการ พัฒนาครู ดังนี้ ๑. การฝึกอบรมในโรงเรียนพัฒนาวิชาชีพครู เน้นการปฏิบัติจริงโดยสถาบันผลิตครูเป็ นหลักสูตรระยะสั้นและระยะยาว ๒. การฝึกอบรมทั้งโรงเรียน ( The Whole School Approach ) เป็ นการฝึกอบรมเพื่อปฏิรูปการเรียนรู้กับ บุคลากรทั้งโรงเรียน โดยมีลักษณะเป็ นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ๓. การพัฒนาโดยตัวครูเองและพัฒนาเพื่อครูตามเงื่อนไขที่กาหนด ( Peer Group Development ) เป็ นการ ให้ทุนอุดหนุนในการพัฒนาผลงานโดยผ่านกระบวนการพัฒนาครูแกนนาครูต้นแบบ และครูแห่งชาติ การพัฒนาแนวนี้ ครูต้องเข้าร่วมโครงการพัฒนาครูต้นแบบและครูแห่งชาติโดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องนาความรู้ที่ได้พัฒนาขึ้นไปขยายผล พัฒนาเพื่อนครูอีกจานวนหนึ่ง เมื่อผ่านการประเมินแล้วจะได้รับการรับรอง ๔. การพัฒนาครูโดยให้ครูพัฒนาตนเอง ( Self Developmentx เป็ นการให้ครูพัฒนางานโดยอิสระแต่จะได้รับ การคัดเลือกและให้รางวัล เมื่อผลงานได้รับการตัดสินให้ชนะการประกวดแข่งขันแล้ว
  • 25. • บทบาทของผู้บริหารในการพัฒนาตนเอง การจัดการศึกษาให้เป็ นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งขาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ ผู้บริหาร ต้องบริหารแบบสร้างผู้นา เน้นความสาเร็จของการสร้างงาน สร้างคน ให้ผู้ร่วมงานมีโอกาสใช้ความสามารถสูงสุดของตนเอง ใช้วิธีการ หลากหลายที่ตอบสนองต่อความสามารถ และข้อจากัดของผู้ร่วมงานของแต่ละคนและทุกคนอย่างแท้จริง เป็ นระบบ รงมทั้งขยายผลจาก กลุ่มผู้รับบริการไปสู่บุคคลอย่างกว้างขาวงและสังคมโดยรวม ผู้บริหารจะดาเนินงานบรรลุผลดังกล่าวข้างต้นได้ ผู้บริหารสามารถใช้เกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพบริหารการศึกษาในการพัฒนาตนเองโดยประเมินการปฏิบัติงานของตนเองตามเกณฑ์แต่ละข้อและพัฒนาให้สูงขึ้นในทุก มาตรฐาน ก็จะได้ชื่อว่าเป็ นผู้บริหารมืออาชีพเนื่องจากเกณฑ์มาตรฐานแต่ละมาตรฐานมีระดับของความเป็ นวิชาชีพ ๓ ระดับ โดยกาหนด รายละเอียดระดับคุณภาพ ดังนี้ ๑.ระดับความสาเร็จของบุคคลขั้นพื้นฐาน เป็ นการปฏิบัติตามคาแนะนา ข้อบังคับ คาสั่ง และรูปแบบ จนเกดผลสาเร็จตามที่กาหนดไว้ใน ลักษณะที่ต้อง พึ่งพา ๒.ระดับความสาเร็จของบุคคลขั้นคิดได้ เป็ นการคิดตัดสินใจเอง ควบคุมตนเองจนเกิดความสาเร็จ มีคุณภาพสูง ในลักษณะความสาเร็จที่ เป็ น อิสระ ๓.ระดับความสาเร็จของบุคคลขั้นนาคุณประโยชน์สู่สังคมส่วนร่วม เป็ นการทางานแบบสร้างระบบตัดสินใจเพื่อประโยชน์ร่วมกันทั้งสังคม พัฒนาสังคมให้เป็ นหนึ่งเดียว และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างถาวร มีลักษณะความสาเร็จที่เป็ นการ ร่วมพัฒนา
  • 26. • บทบาทของผู้บริหารในการควบคุมมาตรฐานวิชาชีพละจรรยาบรรณครุ แนวทางเพื่อเตรียมการในการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณครู ผู้บริหารสามารถดาเนินการ ดังนี้ ๑. ใช้จรรยาบรรณครุเป็ นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการประเมินครู เพื่อพิจารณาให้คุณให้โทษ เช่น การพิจารณาแต่งตั้ง เลื่อนตาแหน่ง เลื่อน เงินเดือน ให้รางวัล โดยแจ้งหรือประกาศให้ทุกคนทราบแนวปฏิบัติ ๒. ใช้จรรยาบรรณครูเป็ นเครื่องมือในการบริหารงานด้วยการสอดส่องดูแล และควบคุมความประพฤติและปฏิบัติตนของครู หากพบว่าครูทา ถูก ทาดี ก็ยกย่องให้กาลังใจ และถ้าพบว่าครูฝ่าฝืนก็ควรตักเตือนและลงโทษตามสมควร ๓. ผู้บริหารควรประเมินครูเป็ นรายบุคคล ว่ามีการประพฤติและปฏิบัติตนตามจรรยาบรรรครูมากน้อยเพียงใด หากพบว่ารายใดหรือกลุ่มใดป กิบัติดี ปฏิบัติชอบ ก็ควรยกย่องชมเชย ให้รางวัลหากพบว่ามีความบกพร่อง อ่อนด้อยในจรรยาบรรณข้อใด ก้พัฒนาครูในหัวข้อนั้นๆ โดย เลือกวิธีการและสื่อที่เหมาะสม เช่น ชี้แจง ตักเตือน แนะนา ชักชวนให้ปฏิบัติ พาไปดูตัวอย่างที่ดี ทาให้ดูเป็ นแบบอย่าง เชิญวิทยากรมา อบรม เป็ นต้น ๔. ให้ครูทุกคนประเมินตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู แล้วกาหนดแนวทางการพัฒนาครูเป็ นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม เพื่อให้ผ่าน เกณฑ์ข้อที่ยังไม่มีการปฏิบัติ หรือปฏิบัติอยู่ในระดับต่าหรือยกระดับการปฏิบัติงานในข้อที่ปฏิบัติแล้วให้สูงขึ้น ๕. ประเมินการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพครูของครูอยู่เสมอ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ครูมีคุณสมบัติ ครบถ้วน พร้อมสาหรับการขอรับใบอนุญาตหรือต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ๖. นิเทศ ควบคุม ตรวจสอบ และปรับปรุงการปฏิบัติงานของครูอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้ครูทราบเกี่ยวกับพัฒนาการด้าน ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครู
  • 27. • การพัฒนาและการส่งเสริมวิชาชีพ • กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา • ตามาตรา ๕๒ วรรคสอง ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ กาหนดให้รัฐจัดสรร งบประมาณและจัดตั้งกองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ( รวมถึงผู้บริหาร การศึกษา ) อย่างเพียงพอ เพื่อให้การพัฒนาเป็ นไปอย่างมีคุณภาพและเป็ นไปอย่างต่อเนื่องได้มาตรฐานที่ เหมาะสมกับการเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพชั้นสูง โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาโดยการให้ทุนการศึกษา อบรม ดูงาน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ๒. ส่งเสริมและสนับสุนการศึกษา ค้นคว้า วิจัยรูปแบบและกลยุทธ์ในการพัฒนา ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมที่สร้างความร่วมมือขององค์กรวิชาชีพ องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้ง ภาครัฐแลพเอกชนในประเทศและต่างประเทศ ๔. ส่งเสริมและสนับสนุนการแลกเปลี่ยนครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษากับบุคลากรวิชาชีพระหว่าง หน่วยงานทางการศึกษาและสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ๕. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งโครงการพิเศษหรือโครงการเฉพาะเรื่องหรือกิจกรมมอื่นๆ
  • 28. • กองทุนส่งเสริมครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา • เป็ นกองทุนที่จัดสรรเงินอุดหนุนงานริเริ่มสร้าสรรค์ผลงานดีเด่นละรางวัลเชิดชูเกียรติครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑. จัดสรรเงินอุดหนุนเพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานดีเด่น ผลงานริเริ่มสร้างสรรค์ และผลงานที่ สร้างคุรประโยชน์ต่อวงการวิชาชีพ ๒. เป็ นางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ ผู้ที่มีผลงานการศึกษาค้นคว้า วิจัย การสร้างสรรค์ นวัตกรรมและงานต่างๆ ที่เป็ นประโยชน์ในการเรียนการสอนและการศึกษา ๓. เป็ นแหล่งระดมทุนจากายในและภายนอกประเทศ ๔. ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมที่สร้างความร่วมมือของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาองค์กร วิชาชีพ องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง