SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
บทที่ 6
การกำาหนดราคาได้ประชาชาติดุลยภาพเบื้อง
ต้น
 6.1 รายได้ประชาติ
 6.1 การใช้จ่ายมวลรวม
 6.3 ทฤษฎีการกำาหนดรายได้ประชาชาติ
เบื้องต้น
 6.4 ภาวะเงินเฟ้อและเงินฝืด
1 รายได้ประชาชาติ(National account)
รายได้ประชาชาติเป็นเครื่องมือวัดการเปลี่ยนแปลงภาวะเศรษฐกิจของประเทศ คำาว่ารายได้
ประชาชาติ เป็นคำากลาง ๆ ซึ่งอาจจะหมายถึง อย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
1
าสินค้าและบริการที่ประชาชนทุกคนช่วยกันผลิตในรอบปีท
“ว่า ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (National product)”
2. รายได้ที่ประชาชนทุกคนได้รับใน
รอบปีที่ผ่านมา
“เรียกว่า รายได้ประชาชาติ
(National income)”ยจ่ายที่ประชาชนทุกคนได้จ่ายออกไปในรอบปีที่ผ่านมา
“ยกว่า รายจ่ายประชาชาติ (National expenditures)”
2
2. รูปแบบของรายได้
ประชาชาติ
2,1 ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (Gross
Domestic Product : GDP)ายถึง มูลค่า (value) ของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย (final good
ยในประเทศภายในระยะเวลาหนึ่ง ปกติคิดระยะเวลา 1 ปี
งคำาว่า
ลิตภัณฑ์ (Production)
ลิตภัณฑ์ภายในประเทศ (domestic)
ลิตภัณฑ์เบื้องต้น (gross product)
ภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (Gross National product ; GN
“ยถึง มูลค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย (final goods and
ราคาตลาดที่ประชาชาติที่ผลิตขึ้นด้วยทรัพยากรของประเท
”ลาหนึ่ง
GNP = GDP + รายได้สุทธิจากต่าง
ประเทศ
3
2.3 ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (NET
NATIONAL PRODUCT; NNP)
“ NNP ” หมายถึง มูลค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายซึ่ง
คิดตามราคาตลาดที่
ประชาชาติผลิตขึ้นได้ในระยะเวลาหนึ่ง โดยหักค่า
เสื่อมราคาของทรัพยากรออกแล้ว NNP = GNP – CCA
2.4 รายได้ประชาชาติ (National
Income; NI)
“ว่า NI” หมายถึง มูลค่ารวมของสินค้าและ
บริการที่ประชาชาติผลิตขึ้นได้ในระยะเวลา
หนึ่งโดยหักค่าใช้จ่ายที่กินทุน และภาษีทางอ้อม
ออกออกไป
NI = GNP – –ค่าใช้จ่ายที่กินทุน ภาษีทางอ้อม
หรือ NI = NNP - ภาษีทางอ้อมธุรกิจ
2.5 รายได้ส่วนบุคคล (Personal
Income; PI)
“PI” หมายถึง รายได้ของบุคคลทั้งหมด โดยรวม
ทั้งรายได้ที่เป็นผลตอบแทนของปัจจัยการผลิต
และที่ไม่ได้เป็นผลตอบแทนของปัจจัยการผลิต
แต่เป็นรายได้ที่ตกถึงมือบุคคลจริงๆ
4
2.6 รายได้สุทธิส่วนบุคคล/หรือ รายได้ที่ใช้จ่ายจริง
(DISPOSABLE INCOME; DI)
“ DI” หมายถึง รายได้ส่วนบุคคลที่สามารถนำามาใช้จ่ายซื้อ
สินค้าและบริการได้จริง ๆ
การคำานวณค่ารายได้สุทธิส่วนบุคคล
 DI = PI - ภาษีเงินได้ส่วนบุคคล (personal income
tax)
 เงินได้ที่ใช้จ่ายได้จริง ผู้มีเงินได้ก็สามารถนำาราย
ได้นี้ไปใช้จ่ายในปัจจุบัน (การบริโภค)หรือจ่ายใน
อนาคต (การออม) ก็ได้ตามที่บุคคลแต่ละคนต้องการ
รายได้สุทธิส่วนบุคคลนี้ เป็นตัวบ่งชี้ถึงอำานาจในการ
ซื้อ (purchasing power) ที่แท้จริงของประชาชน
รวมทั้งความสามารถในการออม (Savings: S) ด้วย
2.7 รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อบุคคล (Per
Capita GNP)
เป็นรายได้ถัวเฉลี่ยของบุคคลในประเทศคำานวณ
จากผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) หรือราย
ได้ประชาชาติ (NI) หรือรายได้ส่วนบุคคล (PI) หาร
ด้วยจำานวนประชากร
5
สรุป ความสัมพันธ์ของรายได้ประเภทต่าง ๆทั้ง
6 ชนิด ได้ดังนี้
1. ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP) =
มูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ที่
ผลิตได้ในประเทศตามราคาตลาด
2. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) =
GDP + net foreign
3. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (NNP) = GNP -
ค่าใช้จ่ายที่กินทุน
4. รายได้ประชาชาติ (NI) = NNP - ภาษี
ทางอ้อม
5. รายได้ส่วนบุคคล (PI) = NI - รายได้ที่
บุคคลไม่ได้รับ + เงินโอน
6. รายได้ส่วนบุคคลสุทธิ (DI) = PI - ภาษี
6
3. การคำานวณรายได้ประชาชาติ
เบื้องต้น
การคำานวณรายได้ประชาชาติทำาได้ 3 วิธี
1.วิธีคำานวณด้านผลผลิต (Product Approach)
2.วิธีคำานวณด้านรายได้ (Income Approach)
3. วิธีคำานวณด้านรายจ่าย (Expenditure Approach)
ครงสร้างของระบบเศรษฐกิจประกอบด้วย
* ภาคครัวเรือน
* ภาคธุรกิจ
* ภาครัฐบาล
* ภาคการค้าระหว่างประทศ
ความสัมพันธ์ในรูปกระแสการหมุนเวียน
- การใช้จ่าย
- รายได้
- ผลผลิต
7
3.1 การคำานวณรายได้ประชาชาติเบื้องต้น
 การคำานวณมี 3 ด้าน ดังนี้
 1. ทางด้านผลผลิตรวม (Product approach)
ค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายของสินค้าทุกชนิดที่ประเทศผลิตได้ ใน
าเพิ่ม (value added) ของสินค้าและบริการแต่ละขั้นตอนของกระบว
รคำานวณมูลค่าเพิ่มของแต่ละขั้นตอน
ขั้นตอนมูลค่าขายมูลค่าสินค้าขั้นกลางมูลค่าเพิ่ม
ปลูกข้าว
โรงสี
ขนมจีน
ข้าวเปลือก
ข้าวสาร
ขนมจีน
500
700
1,000
0
500
700 300
200
500
การคำานวณมี 2 วิธี คือ
รวม 2,200 1,200 1,000 = GNP8
(INCOME APPROACH / OR FACTOR PAYMENT
APPROACH)
“ ”คำาว่า รายได้ หมายถึง ผลตอบแทนที่เจ้าของปัจจัยการ
ผลิตทำามาหาได้
 การคำานวณรายได้ประชาชาติทางด้านราย
ได้รวมมีดังนี้
1. ผลตอบแทนแรงงาน (compensation of
employees)
2. รายได้ของกิจการที่ไม่อยู่ในรูปบริษัท
3. รายได้ที่เอกชนได้รับในรูปค่าเช่า
4. เงินออมของนิติบุคคล
5. ภาษีเงินได้นิติบุคคล
6. เงินโอนจากนิติบุคคล
7. รายได้ของรัฐบาลจากทรัพย์สินและการ
ประกอบการ
8. หัก : ดอกเบี้ยหนี้สาธารณะ
9. หัก : ดอกเบี้ยเพื่อการบริโภครายละเอียดอ่านในหนังสือหน้า 6-7
9
3.3 คำานวณทางด้านรายจ่าย
(EXPENDITURE APPROACH)
จ่ายทั้งสิ้นของระบบเศรษฐกิจที่นำามาซื้อสินค้าและบริการในช่วงเวล
. รายจ่ายเพื่อการลงทุน (Investment expenditure: I )
. รายจ่ายภาครัฐบาล (Government expenditure: G)
นวณทางด้านรายจ่ายสามารถแยกออกได้เป็น 4 ประเภท
การส่งออกและการนำาเข้า หมายถึงสินค้าและบริการที่ส่งไปจำาหน่าย
ต่างประเทศ และสินค้าที่สั่งมาจำาหน่ายในประเทศ (Net Export: X-
ยจ่ายเพื่อการบริโภคของภาคเอกชน (Consumption expenditure
เขียนเป็นสมการ
GNP = C + I + G + (X - M)
10
ทั้ง 3 ด้านที่คำานวณ
สรุปได้ดังนี้
 รายจ่ายประชาชาติ = ผลิตภัณฑ์มวลรวม
ประชาชาติ = รายได้ประชาชาติ
สรุปลักษณะพิเศษของข้อมูล GDP or GNP ไม่ว่า
พิจารณาด้าน รายได้หรือรายจ่าย ดังนี้
ละ GNP ต้องมีการระบุช่วงเวลา
และบริการต้องเป็นมูลค่าขั้นสุดท้ายเท่านั้น
GDP หรือ GNP ประเมินจากราคาตลาด หรือ ราคาประจำาปี (curre
คำานวณมี 3 วิธี คือ ด้านการผลิต รายได้ และรายจ่าย
คำานวณได้ เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีต
าของการรวมรวมข้อมูล
1. ปัญหาผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติไม่มีราคา
2. ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
3. ปัญหาการลงบัญชีซำ้าซ้อน
4. ความยุ่งยากในการติดต่อกับต่างประเทศ
11
4. บัญชีรายได้ประชาชาติ (NATIONAL INCOME
ACCOUNT)
บบบัญชีแห่งชาติประกอบด้วย 4 บัญชีและ 1 ตาราง ได้แก่
3. บัญชีดุลการชำาระเงิน (Balance of Payments Account)
4. บัญชีงบดุลแห่งชาติ (National Wealth)
1. บัญชีรายได้ประชาชาติ (National Income Account)
2. บัญชีเศรษฐกิจเงินทุน (Flow of Fund Account)
บระบบบัญชีแห่งชาติที่ประเทศต่าง ๆ ใช้ในปัจจุบันนั้นมีอยู่ 2 ระบบ
บบขององค์การสหประชาชาติ (UN System of National Accounti
บบของสหรัฐอเมริกา (ยูเอส. เอสเอ็นเอ, US SNA)
12
5. การนำารายได้ประชาชาติไปหาอัตราความเจริญ
เติบโตทางเศรษฐกิจ
 1. รายได้ประชาชาติที่แท้จริง
การคำานวณรายได้ ที่ใช้ราคาปัจจุบันมีข้อเสีย คือ
ราคาสินค้าแต่ละปีไม่เท่ากัน
บางปีสูง บางปีตำ่า ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงในมูลค่า
GNP ซึ่งคิดจากราคาปัจจุบันจึงอาจเกิดจากสาเหตุ
อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ.
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในปริมาณผลผลิต
มาจากการเปลี่ยนแปลงในราคาสินค้า
13
การปรับ MONEY GNP ให้เป็น
REAL GNP
 สำาหรับ การปรับผลิตภัณฑ์ประชาชาติตามราคาปัจจุบัน ให้
เป็นราคาคงที่ มีสูตรดังนี้
Real GNP ปีที่ t = Money GNP ปีที่ t X 100
Price index (or GDP deflator)
การคำานวณดัชนีราคาเพื่อนำามาหาค่า Real GNP ได้แก่
GDP deflator ของปีที่ t = GDP ปีที่ t คำานวณจาก
ราคาของปีที่ t x 100
GDP ของปีที่ t คำานวณจากปี
ฐาน
14
การหาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
(GROWTH RATE)
เมื่อคำานวณค่า Real GNP ได้แล้ว เรา
สามารถนำาค่าไปหาอัตราความเจริญ
เติบโตทางเศรษฐกิจได้โดยใช้สูตร
Growth rate = Gt - G0
G0
เมื่อ Gt คือ Real GNP ของปีที่ต้องการหา
อัตราความเจริญเติบโต
G0 คือ Real GNP ของปีฐานที่ใช้เปรียบ
X 100
15
6. ประโยชน์ของการศึกษา
บัญชีประชาชาติ
 1. ใช้ในการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจของ
ประเทศใช้ในการเปรียบเทียบมาตรฐานการครองชีพของประชาชน
ใช้เป็นเครื่องกำาหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
ายได้ประชาชาติแต่ละแบบนำามาศึกษาภาวะเศรษฐกิจ ดังนี้
- GNP วัดความสามารถระดับการผลิตของประเทศ
- NNP วัดอัตราความเจริญเติบโตในระยะยาว
- NI วัดรายได้ที่เกิดจากการผลิตโดยตรง
- DI ใช้คาดคะเนการใช้จ่ายของระบบเศรษฐกิจ
16
6.2 ส่วนประกอบของการต้องการ
ใช้จ่ายมวลรวม
 ช่องว่างมีค่าเป็นบวก (+) ค่า (AG < PG) เกิดปัญหา
เศรษฐกิจตกตำ่า
โดยการใช้จ่ายรวมแสดงด้วย
สมการต่อไปนี้
AE = C + I + G + (X – M)
2 คำาที่ควรทำาความเข้าใจ
ายได้ประชาชาติที่เกิดขึ้นจริง (Actual GNP: AG )
ายได้ประชาชาติ ศักยภาพ (Potential GNP: PG)
 ช่องว่างมีค่าเป็นลบ (-) ค่า (AG > PG)
เกิดปัญหาเงินเฟ้อ
หาก PG ≠
AG
เกิด GNP
Gap
ด้วยเหตุนี้ ระบบเศรษฐกิจจึงต้องหาแนวทางลดช่อง
ว่างโดยมีนักศศ. ชื่อ John Maynard Keynes
เสนอทฤษฎีว่าด้วย การกำาหนดรายได้ประชาชาติ
“ดุลยภาพไว้ในหนังสือ The General Theory of
Employment, Money and Interest”
โดยกล่าวถึง ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้
ประชาชาติดุลยภาพ กับการใช้จ่ายรวมที่มีผลต่อ
การจ้างงานและระดับราคาสินค้า เพื่อนำาไปสู่การ
กำาหนดนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจมหภาค
17
การศึกษาส่วนประกอบของการใช้จ่าย
รวมทั้ง 4 ประเภท
 1. การใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของครัว
เรือน แบ่งออกเป็น
 การบริโภค (C) และ การออม (S)
 การบริโภค
(Consumption: C)
การบริโภคเป็นการกินหรือใช้ทรัพยากรเพื่อสนอง
ความต้องการของคนโดยตรง เมื่อเอาแต่ละคนมา
รวมกัน จะได้ระดับการบริโภครวมของประชาชน
ทั้งประเทศ รายจ่ายรวมเพื่อการบริโภคจะส่งผลก
ระทบต่อรายได้ประชาชาติ ซึ่งสามารถสรุปความ
สัมพันธ์ได้ดังนี้
∆C Αggregate D ∆I
18
∆Y
J.M. KEYNES ได้อธิบายการใช้จ่ายในการ
บริโภคและการออมไว้ดังนี้
 1. ปัจจัยที่เป็นตัวกำาหนดการบริโภค
และการออม 1. รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (DI)
 2. สินทรัพย์หรือสินค้าคงทนที่ผู้บริโภคถือ
ครองอยู่
 3. การคาดการณ์ของผู้บริโภคเกี่ยวกับ ราย
ได้ และราคาสินค้า
 4. สินเชื่อเพื่อการบริโภค เกี่ยวกับอัตรา
ดอกเบี้ย, ระยะเวลาผ่อน
 5. ค่านิยมทางสังคมและจำานวนประชากร
 2. ฟังชันและสมการการบริโภคและ
การออม
 จากการศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์ของปัจจัย
ต่างๆ จะพบว่าปัจจัยโดยตรงคือ รายได้ที่ใช้
จ่ายได้จริง (DI) เป็นปัจจัยสำาคัญในการ
กำาหนดการบริโภคและการออก
 ถ้าหากกำาหนดให้ปัจจัยอื่นๆคงที่ เรา
สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของ
ฟังก์ชันและสมการได้ดังนี้
19
 ความสัมพันธ์ในรูปของฟังก์ชันและ
สมการได้ดังนี้
รูปฟังก์ชัน ได้ดังนี้; C or S = F (Yd)
โดยที่ C คือ..................................
Yd คือ.................................
รูปสมการ ได้ดังนี้; C = a + bYd
…………………..(1)
โดยที่ a คือ ......................................
b คือ ..................หมาย
ถึง....................................................หรืออาจเรียก
ว่า.....................................................................................
(MPC: Marginal Propensity to Consume)
ซึ่งก็คือ
ความชันของเส้นการบริโภค; Slope of C =
∆C / ∆Yd
ดังนั้นค่า b ก็คือ ค่า MPC สามารถคำานวณ
20
 สมมติว่าระบบเศรษฐกิจที่กำาลังพิจารณาเป็น
แบบปิดมี 2 ภาคเศรษฐกิจ
 ภาคครัวเรือน และภาคธุรกิจ จะพบว่า
 รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง เท่ากับ รายได้
ประชาชาติ (DI or Y = Yd) ดังนั้นสมการครัว
เรือนสามารถเขียนได้ดังนี้
สมการครัวเรือน; Yd = C + S
…………………….(2)
แทนค่า C; Yd = a + bYd + S
สมการการออม; S = Yd - a - bYd
S = - a + (1-b)Yd
จากสมการ C and S; จะพบว่า ต่างมีความ
สัมพันธ์กับรายได้และมีทิศทางไปในทาง
เดียวกัน นั่นคือ
ถ้า  Y ∆ C and ∆ S
21
 3. ความโน้มเอียงเฉลี่ย และความโน้มเอียงหน่วยเพิ่ม
ในการบริโภคและการออม 3.1 ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภคและการออม
(ก) ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค (Average
Propensity to Consume: APC)
คำานวณได้ดังนี้; APC = C / Yd
(ข) ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม (Average
Propensity to Save: APS)
คำานวณได้ดังนี้; APS = S / Yd
 ความสัมพันธ์ระหว่าง APC กับ APS คือ
 ค่า APC + APS = 1 กล่าวคือ ถ้า APC
APS
 3.2 ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการบริโภคและการ
ออม
(ก) ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการบริโภค (Marginal
Propensity to Consume: MPC)
คำานวณได้ดังนี้; MPC = ∆C / ∆Yd
(ข) ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการออม (Marginal
Propensity to save: MPS)
คำานวณได้ดังนี้; MPS = ∆S / ∆Yd
 ความสัมพันธ์ระหว่าง MPC กับ MPS คือ
22
(4) ตารางและสมการการบริโภค
และการออม
 สมการกำาหนดให้
C = 100 + 0.75Yd , S =
- 100 + 0.25 Yd
300 325-251.08-0.080.750.25
Y = YDC S APC APS MPSMPC
0 100 - - ---100 A
100
C
-100
S
400300 500
Yd
Yd
C, S Yd = C+S
APS = 0
APC > APS
E
Break- Even pointAPC < APS
Y = C ,S
= 0 23
(5) การเปลี่ยนแปลงการบริโภค 2 กรณี
 5.1 การเปลี่ยนแปลงการบริโภค (Change in
the amount consumed)
 5.2 การเปลี่ยนแปลงเส้นการบริโภค (Shift in
consumption)C
YD
C
Ca
A
YD
C
B
YD1
C1
C
YDYD
Ca
C
Ca1
C1
24
(6) แนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคของเคนส์
 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กับการ
บริโภค สรุปได้ดังนี้าคนไม่มีรายได้ ก็ยังต้องมีการบริโภคที่จำาเป็น สังเกต (Ca > 0)
ารายได้เพิ่มขึ้นส่งผลให้การบริโภคและการออมเพิ่มขึ้น
งเกต (MPC, MPS มีค่า +)
รเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่ายในการบริโภคจะน้อยกว่าของร
กต (ค่า MPC < 1, และ APC ลดลงเมื่อรายได้เพิ่มขึ้น)
รายได้ของครัวเรือนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ C, S
สังเกต (ค่า MPC + MPS =1, หรือ APC + APS =1)
ฤติกรรมการบริโภค คนที่มีรายได้สูง จะมีค่า MPC ตำ่ากว่า
นมีรายได้ตำ่า
25
2. การใช้จ่ายเพื่อการลงทุน (INVESTMENT: I)
การลงทุน (Investment) หมายถึง การใช้จ่าย
โดยมีวัตถุประสงค์สำาคัญคือ ทำาให้เกิดการ
ผลิตสินค้าในอนาคตเพิ่มขึ้น รายจ่ายในการ
ลงทุนประกอบด้วย
รายจ่ายในการก่อสร้าง
รายจ่ายในการซื้อเครื่องมือ เครื่องจักร
ใหม่
และ ส่วนเปลี่ยนแปลงมูลค่าสินค้าคงเหลือการลงทุนก่อให้เกิดผลใน
ทางเศรษฐกิจ ดังนี้
การจ้าง
งาน
การเจริญ
เติบโต
ทาง
26
1. ปัจจัยที่
กำาหนดการลงทุน
1. ระดับรายได้ประชาชาติและการเปลี่ยนแปลง
ระดับรายได้ประชาชาติ (Y)
2. อัตราดอกเบี้ย (Rate of interest: r หรือ i)
3. กำาไรที่คาดว่าจะได้รับ
4. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
5. ราคาสินค้าทุนและค่าบำารุงรักษา
6. อื่น ๆ นโยบายของรัฐบาลและเสถียรภาพ
ทางการเมือง
“วคิดของเคน์ส รายได้เป็นปัจจัยที่กำาหนดการลงทุนโดยตร
ความสัมพันธ์I = f (Y, r, I1……..In)
หรือ
I = F ( Y )
27
2. รูปแบบของการ
ลงทุน
2.1 การลงทุนแบบอิสระ (Autonomous
Investment: Ia) เป็นการลงทุนที่ไม่
เปลี่ยนแปลงตามระดับรายได้
I
a
I =
Ia
O
การลงทุน
Y
สมการลงทุนแบบอิสระ
I = Ia
28
2.2 การลงทุนที่วางแผนไว้
(PLANNED INVESTMENT: IP )
เป็นการลงทุนที่ผันแปรตามระดับรายได้ หรือ
เรียกว่า
การลงทุนโดยจูงใจ (Induced Investment )
Ii =
iY
การลงทุน
Y
สมการการลงทุนแบบชักจูง
Ii = iY
∆ I
∆ Y
โดย i = ∆I / ∆Y = MPI
= Slope ของเส้น
Investment
MPI คือ Marginal
Propensity to Invest)
สมการการลงทุน
รวม
I = Ia + Ii
หรือ I = Ia + iY
29
เส้นการลงทุนรวมของ
ระบบเศรษฐกิจ
I = Ia + iY
∆I
∆Y
Ia
การลงทุน
Y
0 30
(3) การเปลี่ยนแปลงการลงทุนมีอยู่ 2 กรณี
 3.1 การเปลี่ยนแปลงการลงทุน (Change in the
amount invested )
 3.2 การเปลี่ยนแปลงเส้นการลงทุน (Shift in
the investment)I
Y
I=Ia + iY
A
Y
I
B
Y1
I1
I
YY
Ia
I
Ia1
I1
31
5.3 ทฤษฎีการกำาหนดรายได้
ประชาชาติเบื้องต้น ***
รศึกษา GNP ซึ่งก็คือ อุปทานของสินค้าและบริการของประ
(Aggregate Supply: AS)
รศึกษา GNE ซึ่งก็คือ อุปสงค์มวลรวมของสินค้าและบริการ
(Aggregate Demand: AD ) ประกอบด้วย
สมการรายได้ประชาชาติ คือ GNP = C + I + G + (X-M)
หรือ Y = C + I + G + (X-M)
หรือ AS = AD
การบริโภค
(C)
การลงทุน
( I )
การใช้จ่ายของรัฐบาล
(G)
การส่งออกสุทธิ
(X - M)
ษาศึกษาเบื้องต้นใช้ 2 ภาคเศรษฐกิจเรียกว่า ระบบเศรษฐก
32
ข้อกำาหนดที่จำาเป็นของการ
ศึกษาเบื้องต้น
1. ระดับราคาสินค้าทั่วไปและระดับการจ้างงานคงที่
ไม่มีรัฐบาล ดังนั้นรายได้ครัวเรือน YD = Y – T = Y or Y
สมการเงื่อนไข
GNP = C + I
หรือ Y = TAE = C + I
3. ไม่มีการค้าระหว่างประเทศ
ารศึกษาหาดุลยภาพเบื้องต้น 2 วิธี คือ
- ทางด้านรายจ่ายรวม
- ทางด้านการออมเท่ากับการลงทุน
ทั้ง 2 วิธี คำาตอบ
เดียวกัน
33
สมการเงื่อนไข
GNP = C + I
หรือ Y = TAE = C + I
ครื่องมือวิเคราะห์
. สมการคณิตศาสตร์ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์
.1 พิจารณาทางด้านรายจ่าย (TAE)
สมการการบริโภค: เริ่มจากสมการสมมติ
C = 25 + 0.75YD และ Ia = 50 และ Y = YD
34
สมการเงื่อนไข Y = C + I
แทนค่า C, I ลงในสมการเงื่อนไข
Y = 25 + 0.75YD + 50
(1 -0.75)Y = 75
Y = 75 / 0.25 = 300 ล้านบาท
แต่ Y = YD; Y = 25 + 0.75Y + 50
ราะห์โดยตาราง นำาสมการ C มาแทนค่า YD เพื่อหาระดับ
จารณาเริ่มจากสมการที่กำาหนดให้
35
2. การวิเคราะห์โดยการใช้
ตาราง
ข้อมูล สมการการบริโภค C = 25 +
0.75YD
สมการการลงทุน Ia = 50 ล้าน
บาทและ Y = YD
ระดับ Y ระดับ C ระดับ Iระดับ TAE ภาวะ
0
100
200
300
25
100
175
250
50
50
50
50
75
150
225
300
ขยายตัว
ขยายตัว
ขยายตัว
ดุลยภาพ Y = TAE
400 325 50 375 หดตัว
500 400 50 450 หดตัว
600 475 50 525 หดตัว
Y
Y
3. การวิเคราะห์โดยการ
ใช้กราฟ
ข้อมูล สมการการบริโภค C = 25 +
0.75YD
สมการการลงทุน Ia = 50 ล้าน
บาทและ Y = YD
Y = C + I
TAE = C + I
C = 25 + 0.75YD
TAE ( C , I )
YO
450
100
E
300
300
Ia = 50
6.3.2 ระดับรายได้ดุลยภาพพิจารณาจาก
การออมเท่ากับการลงทุน1. โครงสร้างของเศรษฐกิจปิด
รรั่วไหล (Leakages) คือกระแสรายได้ที่ไหลออกจากระบบ
การอัดฉีด (Injection) คือ กระแสอัดฉีดเข้าสู่ระบบ
มการรายได้เท่ากับรายจ่าย ; Y = C + I …………(1)
มการรายได้ของครัวเรือน ; Y = C + S …………(2)
สมการ (1) = (2); C + I = C + S
ดังนั้น I = S
การวิเคราะห์มีเครื่องมือ 3 แบบ เริ่มจาก
1. วิธี
คำานวณ ;
ข้อมูล สมการการบริโภค ;
C = 25 + 0.75YD และ S = -25 + 0.25Y
I = 50 ล้านบาท และ Y = YD
สมการเงื่อนไขการออม; S =
YD - C
แทนค่า C ในสมการ S ; =
YD - 25 + 0.75YD
ดังนั้น S = - 25
+ 0.25Y
สมการเงื่อนไขดุลยภาพ I = S
แทนค่า ; 50 = -25 + 0.25Y
Y = 300 ล้านบาท
2. การวิเคราะห์โดยการใช้ตาราง
ข้อมูล สมการการบริโภค C = 25 + 0.75YD ; S = - 25 +
0.25YD
สมการการลงทุน Ia = 50 ล้านบาทและ I = S
ระดับ Y ระดับ S ระดับ Iระดับ TAE ภาวะ
0
100
200
300
-25
0
25
50
50
50
50
50
75
150
225
300
ขยายตัว
ขยายตัว
ขยายตัว
ดุลยภาพ I = S
400 75 50 375 หดตัว
500 100 50 450 หดตัว
600 125 50 525 หดตัว
Y
Y
3. การวิเคราะห์โดย
การใช้กราฟ
ข้อมูล สมการการบริโภค C = 25 + 0.75YD
สมการการลงทุน Ia = 50 ล้านบาท
และ Y = YD
TAE ( C , I )
YO
S = - 25 + 0.25YD
Ia = 50
I > S (inflationary gap)
S > I (deflationary gap
-25
300100 400 500
6.3.3 การเปลี่ยนแปลงของระดับรายได้
หรือผลผลิตดุลยภาพ
ารวิเคราะห์ทั้ง 2 วิธี เป็นการพิจารณาที่มีข้อสมมติว่า
- ระดับราคาสินค้าคงที่
- ปัจจัยอื่นที่เป็นตัวๆ C, I, G, X, M คงที่
ห้ปัจจัยที่กำาหนด TAE ตัวใดตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลงจะส่งผล
บ ระดับรายได้ดุลยภาพอย่างไร
คราะห์การเปลี่ยนแปลงจะใช้ โครงสร้างของเศรษฐกิจปิด
วแทนของการวิเคราะห์อีก 2 โครงสร้าง
การวิเคราะห์การ
เปลี่ยนแปลง
ข้อมูลที่ใช้ต่อเนื่อง
มการการบริโภค ; C = 25 + 0.75YD
มการการลงทุน ; Ia = 50 ล้านบาท
มีการลงทุนเพิ่มขึ้นอีก Ia = 25 บาท
ดังนั้น การลงทุนใหม่ Ia1 = 50 + 25 = 75 ล้านบาท
รวิเคราะห์หาระดับรายได้ดุลยภาพ
เงื่อนไขสมการ Y = C + I
แทนค่า ; C จะได้ Y = 25 + 0.75Y + 75
= 100 / 0.25 = 400 ล้านบาท
ระดับรายได้เพิ่มขึ้นจาก 300 ล้านเป็น 400 ล้าน
หรือ เพิ่มขึ้นเป็น 4 เท่าของการลงทุนที่เพิ่มขึ้น
2. การวิเคราะห์โดยการ
ใช้ตาราง
ข้อมูล สมการการบริโภค C = 25 +
0.75YD
สมการการลงทุน Ia = 50 ล้าน
บาท และ Y = YD
Y
Y
Y C I TAE ภาวะ∆ I TAE
0 25 50 75 ขยาย25 100
100 100 50 150 ขยาย25 175
200 175 50 225 ขยาย25 250
300 250 50 300 ขยาย25 325
400 325 50 375 ดุลยภาพ25 400
500 400 50 450 หด25 475
600 475 50 525 หด25 550
3. การวิเคราะห์โดยการใช้
กราฟ
ข้อมูล สมการการบริโภค C = 25 +
0.75YD
สมการการลงทุน Ia = 50 ล้าน
บาท และ Y = YD
Y = C + I
TAE = C + I
C = 25 + 0.75YD
TAE ( C , I )
YO
450
100
E
300
300
Ia = 50
TAE1 = C + I1
∆Ia=
25
E1
400
6.3.4 ตัวทวี
(MULTIPLIER: K)
1. ความหมายของ
ตัวทวีัวทวี (Multiplier: K)” หมายถึง ตัวเลขหรือค่าคงที่
ณได้โดยชี้ให้เห็นว่า เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงใน TAE จะส่งผ
ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไปเท่ากับตัวทวีคูณด้วยจำานวนของ
ยนแปลงใน TAE นั้น เขียนเป็นสมการได้ดังนี้
สมการตัวทวี Y = K (∆TAE )
าให้ การลงทุน (∆ I )
สมการตัวทวีคือ K = ∆Y / ∆ I
2. การทำางานของตัวทวี
การวเคราะห์กระบวนการทำางานของตัว K ใช้ตาราง
กข้อมูลเดิมมีการลงทุนเพิ่มขึ้น 25 ล้านบาท ( ∆Ia = 25)
MPC = 0.75 เป็นการลงทุนในอุตสาหกรรมทอผ้า
งวดที่
(∆I = 25)
รายได้
(∆Y)
การบริโภค
(∆ C )
การออม 
(∆S)
1
2
25
18.75
18.75
14.06
6.25
4.69
3 14.06 10.52 3.52
4 10.54 7.90 2.64
งวดที่ 5 - งวดสุดท้าย 31.65 23.75 7.9
รวม 100 75 25
การวิเคราะห์หาค่าตัวทวี (K) โดยวิธี
คณิตศาสตร์
สูตรที่ใช้ Y = K (∆ Ia)
จากข้อมูลในตารางคำานวณหาค่า K
25 ( 1 + MPC + MPC2
+ MPC3
+…….+ MPCN
)
= 25 ( 1 + 0.75 + 0.752
+ 0.753
…..0.75N
)
= 25 [1 / (1 - 0.75)]
= 25 X 4 = 100 ล้านบาท
มขึ้น 100 ล้านบาท หรือ รายได้ เป็น 4 เท่าของการลงท
เท่ากับ 4 ==> (4 x 25 =100)
ข้อสังเกตุค่า K = 1 / (1 – MPC)
or = 1 / MPS
6.4 ภาวะเงินเฟ้อและ
ภาวะเงินฝืด
5.4.1 ภาวะเงินเฟ้อ
นการณ์ทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับภาวะที่ระดับราคาสินค้า
”ารโดยทั่วไปสูงขึ้นเรื่อยๆ อย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง
”ดับราคา (Price Level) หมายถึง ราคาของสินค้าและบริก
มีความจำาเป็นต่อการครองชีพของประชาชน
ราคาเฟ้อ สังเกตได้จาก
“ ”ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index: C
สิ่งที่นำามาพิจารณาเกี่ยวกับภาวะเงินเฟ้อ คือ
(1) ขนาดของเงินเฟ้อ แบ่งเป็น 2 ขนาด
) ภาวะเงินเฟ้ออย่างอ่อน (Mild-Inflation)
.2) ภาวะเงินเฟ้อรุนแรง (Hyper-Inflation)
สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อ พิจารณา 3 ประเภท
งินเฟ้อที่เกิดจากแรงดึงของอุปสงค์ (Demand Pull Inflatio
สาเหตุของการเกิด
AD Price Level Real Income
สาเหตุของการเกิด DEMAND PULL INFLATION
1. การเพิ่มขึ้นของการใช้จ่ายมวลรวม (TAE
or AD)
รเพิ่มของปริมาณเงิน (Money Supply)
3. รายได้จากต่างประเทศ
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอุปสงค์มวลรวม
าวะเงินเฟ้อที่เกิดจากแรงดันทางด้านอุปทาน
Cost Push Inflation )
เกิดขึ้นเนื่องจากต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้ผู้ผลิตต
ลดการผลิตหรือเท่าเดิมแต่จะเพิ่มราคาสินค้าให้สูงขึ้น
เงินเฟ้อที่เกิดจากการตั้งราคาสินค้าของผู้ผลิตสูงเก
k-up Inflation)
นื่องมาจาก ผู้ผลิตตั้งราคาสูงเกินไป ทั้งๆที่ต้นทุนการผลิต
นราคา ซึ่งภาวะเงินเฟ้อนี้เกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้ผลิตมีอำานา
ทางเศรษฐกิจ
ผลกระทบของการเกิดภาวะเงินเฟ้อ
(3.1) กลุ่มประชาชนผู้บริโภค (-)
(3.2) กลุ่มผู้ให้กู้ หรือ เจ้าหนี้ (-)
(3.3) กลุ่มผู้มีรายได้ประจำา (-)
4) การแก้ไขภาวะเงินเฟ้อ
การแก้ไขภาวะเงินเฟ้อที่เกิดจากแรงดึงของอุปสงค์
(ก ) พยายามสนับสนุนการเพิ่มระดับการผลิต
นโยบายการเงิน
- ขายหลักทรัพย์ให้กับประชาชน
- เพิ่มอัตราเงินสดสำารองตามกฎหมาย
- เพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วเงินของธนาคารกลาง
(ค) นโยบายการคลัง
- การเก็บภาษีเพิ่มขึ้น
- ใช้งบประมาณแผ่นดินเกินดุล
5.4.2 ภาวะเงินฝืด (DEFLATION)
คำานิยาม
านการณ์ทางเศรษฐกิจที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปลดลงเ
อเนื่อง หรือ อุปสงค์มวลรวมมีน้อยกว่าอุปทานมวลรวม ในช
วะเงินฝืด ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจจะมีน้อย
อธิบายสาเหตุและผล
AD Price Level Investment
Unemployment Depression period
สาเหตุของการเกิดภาวะเงินฝืด
1. ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินให้
เงินกู้น้อย
2. รัฐบาลใช้งบประมาณเกินดุล
กระทบของภาวะเงินฝืด ตรงข้ามกับเงินเฟ้อ
การแก้ไข ภาวะเงินฝืด
3. การใช้จ่ายมวลรวมของ
ระบบเศรษฐกิจมีน้อย
1. พยายามเพิ่มระดับการผลิตสินค้า
บายการเงิน โดยการลดปริมาณเงิน ตรงข้ามกับเงินเฟ้อ
ายการคลัง โดยการเพิ่มค่าใช้จ่ายรัฐบาล ตรงข้ามกับเงินเฟ

More Related Content

What's hot

Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs productionsavinee
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลาtumetr1
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม khanidthakpt
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์IzmHantha
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์chayanon Atoon
 
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์Pattie Pattie
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2poms0077
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 

What's hot (20)

Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs production
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
Ch12
Ch12Ch12
Ch12
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
 
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน  หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน  หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
 

Viewers also liked

เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)Earn LikeStock
 
มหภาค1
มหภาค1มหภาค1
มหภาค1jimkongkaew
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศthnaporn999
 
ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50
ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50
ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50ex_aim
 
ตอนที่ 6 : เรื่องการบริหารจัดการดี + ส่งท้าย
ตอนที่ 6 : เรื่องการบริหารจัดการดี + ส่งท้ายตอนที่ 6 : เรื่องการบริหารจัดการดี + ส่งท้าย
ตอนที่ 6 : เรื่องการบริหารจัดการดี + ส่งท้ายex_aim
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptapple_clubx
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจPanadda Lmn
 
ตอนที่ 4 : ฐานะการเงินแข็งแกร่ง
ตอนที่ 4 : ฐานะการเงินแข็งแกร่งตอนที่ 4 : ฐานะการเงินแข็งแกร่ง
ตอนที่ 4 : ฐานะการเงินแข็งแกร่งex_aim
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursEarn LikeStock
 
แกะเงื่อนงบการเงิน ดร.ภาพร เอกอรรถพร
แกะเงื่อนงบการเงิน   ดร.ภาพร เอกอรรถพรแกะเงื่อนงบการเงิน   ดร.ภาพร เอกอรรถพร
แกะเงื่อนงบการเงิน ดร.ภาพร เอกอรรถพรtopcat3708
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์ธนิสร ยางคำ
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketinghalato
 

Viewers also liked (17)

Financial Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้น
Financial  Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้นFinancial  Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้น
Financial Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้น
 
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
 
มหภาค1
มหภาค1มหภาค1
มหภาค1
 
Presentc6
Presentc6Presentc6
Presentc6
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50
ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50
ตอนที่ 5: ตัวอย่างหุ้นใน SET 50
 
ตอนที่ 6 : เรื่องการบริหารจัดการดี + ส่งท้าย
ตอนที่ 6 : เรื่องการบริหารจัดการดี + ส่งท้ายตอนที่ 6 : เรื่องการบริหารจัดการดี + ส่งท้าย
ตอนที่ 6 : เรื่องการบริหารจัดการดี + ส่งท้าย
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ
 
ตอนที่ 4 : ฐานะการเงินแข็งแกร่ง
ตอนที่ 4 : ฐานะการเงินแข็งแกร่งตอนที่ 4 : ฐานะการเงินแข็งแกร่ง
ตอนที่ 4 : ฐานะการเงินแข็งแกร่ง
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hours
 
แกะเงื่อนงบการเงิน ดร.ภาพร เอกอรรถพร
แกะเงื่อนงบการเงิน   ดร.ภาพร เอกอรรถพรแกะเงื่อนงบการเงิน   ดร.ภาพร เอกอรรถพร
แกะเงื่อนงบการเงิน ดร.ภาพร เอกอรรถพร
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 

Similar to ศศ

เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6Apple Natthakan
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)Link Standalone
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plustltutortutor
 
9789740335337
97897403353379789740335337
9789740335337CUPress
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐSureeraya Limpaibul
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนtelecentreacademy
 

Similar to ศศ (11)

เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
 
Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
 
B11112008
B11112008B11112008
B11112008
 
9789740335337
97897403353379789740335337
9789740335337
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
 
Ec961
Ec961Ec961
Ec961
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
 

ศศ

  • 1. บทที่ 6 การกำาหนดราคาได้ประชาชาติดุลยภาพเบื้อง ต้น  6.1 รายได้ประชาติ  6.1 การใช้จ่ายมวลรวม  6.3 ทฤษฎีการกำาหนดรายได้ประชาชาติ เบื้องต้น  6.4 ภาวะเงินเฟ้อและเงินฝืด 1 รายได้ประชาชาติ(National account) รายได้ประชาชาติเป็นเครื่องมือวัดการเปลี่ยนแปลงภาวะเศรษฐกิจของประเทศ คำาว่ารายได้ ประชาชาติ เป็นคำากลาง ๆ ซึ่งอาจจะหมายถึง อย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ 1
  • 2. าสินค้าและบริการที่ประชาชนทุกคนช่วยกันผลิตในรอบปีท “ว่า ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (National product)” 2. รายได้ที่ประชาชนทุกคนได้รับใน รอบปีที่ผ่านมา “เรียกว่า รายได้ประชาชาติ (National income)”ยจ่ายที่ประชาชนทุกคนได้จ่ายออกไปในรอบปีที่ผ่านมา “ยกว่า รายจ่ายประชาชาติ (National expenditures)” 2
  • 3. 2. รูปแบบของรายได้ ประชาชาติ 2,1 ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (Gross Domestic Product : GDP)ายถึง มูลค่า (value) ของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย (final good ยในประเทศภายในระยะเวลาหนึ่ง ปกติคิดระยะเวลา 1 ปี งคำาว่า ลิตภัณฑ์ (Production) ลิตภัณฑ์ภายในประเทศ (domestic) ลิตภัณฑ์เบื้องต้น (gross product) ภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (Gross National product ; GN “ยถึง มูลค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย (final goods and ราคาตลาดที่ประชาชาติที่ผลิตขึ้นด้วยทรัพยากรของประเท ”ลาหนึ่ง GNP = GDP + รายได้สุทธิจากต่าง ประเทศ 3
  • 4. 2.3 ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (NET NATIONAL PRODUCT; NNP) “ NNP ” หมายถึง มูลค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายซึ่ง คิดตามราคาตลาดที่ ประชาชาติผลิตขึ้นได้ในระยะเวลาหนึ่ง โดยหักค่า เสื่อมราคาของทรัพยากรออกแล้ว NNP = GNP – CCA 2.4 รายได้ประชาชาติ (National Income; NI) “ว่า NI” หมายถึง มูลค่ารวมของสินค้าและ บริการที่ประชาชาติผลิตขึ้นได้ในระยะเวลา หนึ่งโดยหักค่าใช้จ่ายที่กินทุน และภาษีทางอ้อม ออกออกไป NI = GNP – –ค่าใช้จ่ายที่กินทุน ภาษีทางอ้อม หรือ NI = NNP - ภาษีทางอ้อมธุรกิจ 2.5 รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income; PI) “PI” หมายถึง รายได้ของบุคคลทั้งหมด โดยรวม ทั้งรายได้ที่เป็นผลตอบแทนของปัจจัยการผลิต และที่ไม่ได้เป็นผลตอบแทนของปัจจัยการผลิต แต่เป็นรายได้ที่ตกถึงมือบุคคลจริงๆ 4
  • 5. 2.6 รายได้สุทธิส่วนบุคคล/หรือ รายได้ที่ใช้จ่ายจริง (DISPOSABLE INCOME; DI) “ DI” หมายถึง รายได้ส่วนบุคคลที่สามารถนำามาใช้จ่ายซื้อ สินค้าและบริการได้จริง ๆ การคำานวณค่ารายได้สุทธิส่วนบุคคล  DI = PI - ภาษีเงินได้ส่วนบุคคล (personal income tax)  เงินได้ที่ใช้จ่ายได้จริง ผู้มีเงินได้ก็สามารถนำาราย ได้นี้ไปใช้จ่ายในปัจจุบัน (การบริโภค)หรือจ่ายใน อนาคต (การออม) ก็ได้ตามที่บุคคลแต่ละคนต้องการ รายได้สุทธิส่วนบุคคลนี้ เป็นตัวบ่งชี้ถึงอำานาจในการ ซื้อ (purchasing power) ที่แท้จริงของประชาชน รวมทั้งความสามารถในการออม (Savings: S) ด้วย 2.7 รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อบุคคล (Per Capita GNP) เป็นรายได้ถัวเฉลี่ยของบุคคลในประเทศคำานวณ จากผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) หรือราย ได้ประชาชาติ (NI) หรือรายได้ส่วนบุคคล (PI) หาร ด้วยจำานวนประชากร 5
  • 6. สรุป ความสัมพันธ์ของรายได้ประเภทต่าง ๆทั้ง 6 ชนิด ได้ดังนี้ 1. ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP) = มูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ที่ ผลิตได้ในประเทศตามราคาตลาด 2. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) = GDP + net foreign 3. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (NNP) = GNP - ค่าใช้จ่ายที่กินทุน 4. รายได้ประชาชาติ (NI) = NNP - ภาษี ทางอ้อม 5. รายได้ส่วนบุคคล (PI) = NI - รายได้ที่ บุคคลไม่ได้รับ + เงินโอน 6. รายได้ส่วนบุคคลสุทธิ (DI) = PI - ภาษี 6
  • 7. 3. การคำานวณรายได้ประชาชาติ เบื้องต้น การคำานวณรายได้ประชาชาติทำาได้ 3 วิธี 1.วิธีคำานวณด้านผลผลิต (Product Approach) 2.วิธีคำานวณด้านรายได้ (Income Approach) 3. วิธีคำานวณด้านรายจ่าย (Expenditure Approach) ครงสร้างของระบบเศรษฐกิจประกอบด้วย * ภาคครัวเรือน * ภาคธุรกิจ * ภาครัฐบาล * ภาคการค้าระหว่างประทศ ความสัมพันธ์ในรูปกระแสการหมุนเวียน - การใช้จ่าย - รายได้ - ผลผลิต 7
  • 8. 3.1 การคำานวณรายได้ประชาชาติเบื้องต้น  การคำานวณมี 3 ด้าน ดังนี้  1. ทางด้านผลผลิตรวม (Product approach) ค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายของสินค้าทุกชนิดที่ประเทศผลิตได้ ใน าเพิ่ม (value added) ของสินค้าและบริการแต่ละขั้นตอนของกระบว รคำานวณมูลค่าเพิ่มของแต่ละขั้นตอน ขั้นตอนมูลค่าขายมูลค่าสินค้าขั้นกลางมูลค่าเพิ่ม ปลูกข้าว โรงสี ขนมจีน ข้าวเปลือก ข้าวสาร ขนมจีน 500 700 1,000 0 500 700 300 200 500 การคำานวณมี 2 วิธี คือ รวม 2,200 1,200 1,000 = GNP8
  • 9. (INCOME APPROACH / OR FACTOR PAYMENT APPROACH) “ ”คำาว่า รายได้ หมายถึง ผลตอบแทนที่เจ้าของปัจจัยการ ผลิตทำามาหาได้  การคำานวณรายได้ประชาชาติทางด้านราย ได้รวมมีดังนี้ 1. ผลตอบแทนแรงงาน (compensation of employees) 2. รายได้ของกิจการที่ไม่อยู่ในรูปบริษัท 3. รายได้ที่เอกชนได้รับในรูปค่าเช่า 4. เงินออมของนิติบุคคล 5. ภาษีเงินได้นิติบุคคล 6. เงินโอนจากนิติบุคคล 7. รายได้ของรัฐบาลจากทรัพย์สินและการ ประกอบการ 8. หัก : ดอกเบี้ยหนี้สาธารณะ 9. หัก : ดอกเบี้ยเพื่อการบริโภครายละเอียดอ่านในหนังสือหน้า 6-7 9
  • 10. 3.3 คำานวณทางด้านรายจ่าย (EXPENDITURE APPROACH) จ่ายทั้งสิ้นของระบบเศรษฐกิจที่นำามาซื้อสินค้าและบริการในช่วงเวล . รายจ่ายเพื่อการลงทุน (Investment expenditure: I ) . รายจ่ายภาครัฐบาล (Government expenditure: G) นวณทางด้านรายจ่ายสามารถแยกออกได้เป็น 4 ประเภท การส่งออกและการนำาเข้า หมายถึงสินค้าและบริการที่ส่งไปจำาหน่าย ต่างประเทศ และสินค้าที่สั่งมาจำาหน่ายในประเทศ (Net Export: X- ยจ่ายเพื่อการบริโภคของภาคเอกชน (Consumption expenditure เขียนเป็นสมการ GNP = C + I + G + (X - M) 10
  • 11. ทั้ง 3 ด้านที่คำานวณ สรุปได้ดังนี้  รายจ่ายประชาชาติ = ผลิตภัณฑ์มวลรวม ประชาชาติ = รายได้ประชาชาติ สรุปลักษณะพิเศษของข้อมูล GDP or GNP ไม่ว่า พิจารณาด้าน รายได้หรือรายจ่าย ดังนี้ ละ GNP ต้องมีการระบุช่วงเวลา และบริการต้องเป็นมูลค่าขั้นสุดท้ายเท่านั้น GDP หรือ GNP ประเมินจากราคาตลาด หรือ ราคาประจำาปี (curre คำานวณมี 3 วิธี คือ ด้านการผลิต รายได้ และรายจ่าย คำานวณได้ เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีต าของการรวมรวมข้อมูล 1. ปัญหาผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติไม่มีราคา 2. ความน่าเชื่อถือของข้อมูล 3. ปัญหาการลงบัญชีซำ้าซ้อน 4. ความยุ่งยากในการติดต่อกับต่างประเทศ 11
  • 12. 4. บัญชีรายได้ประชาชาติ (NATIONAL INCOME ACCOUNT) บบบัญชีแห่งชาติประกอบด้วย 4 บัญชีและ 1 ตาราง ได้แก่ 3. บัญชีดุลการชำาระเงิน (Balance of Payments Account) 4. บัญชีงบดุลแห่งชาติ (National Wealth) 1. บัญชีรายได้ประชาชาติ (National Income Account) 2. บัญชีเศรษฐกิจเงินทุน (Flow of Fund Account) บระบบบัญชีแห่งชาติที่ประเทศต่าง ๆ ใช้ในปัจจุบันนั้นมีอยู่ 2 ระบบ บบขององค์การสหประชาชาติ (UN System of National Accounti บบของสหรัฐอเมริกา (ยูเอส. เอสเอ็นเอ, US SNA) 12
  • 13. 5. การนำารายได้ประชาชาติไปหาอัตราความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ  1. รายได้ประชาชาติที่แท้จริง การคำานวณรายได้ ที่ใช้ราคาปัจจุบันมีข้อเสีย คือ ราคาสินค้าแต่ละปีไม่เท่ากัน บางปีสูง บางปีตำ่า ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงในมูลค่า GNP ซึ่งคิดจากราคาปัจจุบันจึงอาจเกิดจากสาเหตุ อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ. เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในปริมาณผลผลิต มาจากการเปลี่ยนแปลงในราคาสินค้า 13
  • 14. การปรับ MONEY GNP ให้เป็น REAL GNP  สำาหรับ การปรับผลิตภัณฑ์ประชาชาติตามราคาปัจจุบัน ให้ เป็นราคาคงที่ มีสูตรดังนี้ Real GNP ปีที่ t = Money GNP ปีที่ t X 100 Price index (or GDP deflator) การคำานวณดัชนีราคาเพื่อนำามาหาค่า Real GNP ได้แก่ GDP deflator ของปีที่ t = GDP ปีที่ t คำานวณจาก ราคาของปีที่ t x 100 GDP ของปีที่ t คำานวณจากปี ฐาน 14
  • 15. การหาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (GROWTH RATE) เมื่อคำานวณค่า Real GNP ได้แล้ว เรา สามารถนำาค่าไปหาอัตราความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจได้โดยใช้สูตร Growth rate = Gt - G0 G0 เมื่อ Gt คือ Real GNP ของปีที่ต้องการหา อัตราความเจริญเติบโต G0 คือ Real GNP ของปีฐานที่ใช้เปรียบ X 100 15
  • 16. 6. ประโยชน์ของการศึกษา บัญชีประชาชาติ  1. ใช้ในการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจของ ประเทศใช้ในการเปรียบเทียบมาตรฐานการครองชีพของประชาชน ใช้เป็นเครื่องกำาหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ายได้ประชาชาติแต่ละแบบนำามาศึกษาภาวะเศรษฐกิจ ดังนี้ - GNP วัดความสามารถระดับการผลิตของประเทศ - NNP วัดอัตราความเจริญเติบโตในระยะยาว - NI วัดรายได้ที่เกิดจากการผลิตโดยตรง - DI ใช้คาดคะเนการใช้จ่ายของระบบเศรษฐกิจ 16
  • 17. 6.2 ส่วนประกอบของการต้องการ ใช้จ่ายมวลรวม  ช่องว่างมีค่าเป็นบวก (+) ค่า (AG < PG) เกิดปัญหา เศรษฐกิจตกตำ่า โดยการใช้จ่ายรวมแสดงด้วย สมการต่อไปนี้ AE = C + I + G + (X – M) 2 คำาที่ควรทำาความเข้าใจ ายได้ประชาชาติที่เกิดขึ้นจริง (Actual GNP: AG ) ายได้ประชาชาติ ศักยภาพ (Potential GNP: PG)  ช่องว่างมีค่าเป็นลบ (-) ค่า (AG > PG) เกิดปัญหาเงินเฟ้อ หาก PG ≠ AG เกิด GNP Gap ด้วยเหตุนี้ ระบบเศรษฐกิจจึงต้องหาแนวทางลดช่อง ว่างโดยมีนักศศ. ชื่อ John Maynard Keynes เสนอทฤษฎีว่าด้วย การกำาหนดรายได้ประชาชาติ “ดุลยภาพไว้ในหนังสือ The General Theory of Employment, Money and Interest” โดยกล่าวถึง ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ ประชาชาติดุลยภาพ กับการใช้จ่ายรวมที่มีผลต่อ การจ้างงานและระดับราคาสินค้า เพื่อนำาไปสู่การ กำาหนดนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจมหภาค 17
  • 18. การศึกษาส่วนประกอบของการใช้จ่าย รวมทั้ง 4 ประเภท  1. การใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของครัว เรือน แบ่งออกเป็น  การบริโภค (C) และ การออม (S)  การบริโภค (Consumption: C) การบริโภคเป็นการกินหรือใช้ทรัพยากรเพื่อสนอง ความต้องการของคนโดยตรง เมื่อเอาแต่ละคนมา รวมกัน จะได้ระดับการบริโภครวมของประชาชน ทั้งประเทศ รายจ่ายรวมเพื่อการบริโภคจะส่งผลก ระทบต่อรายได้ประชาชาติ ซึ่งสามารถสรุปความ สัมพันธ์ได้ดังนี้ ∆C Αggregate D ∆I 18 ∆Y
  • 19. J.M. KEYNES ได้อธิบายการใช้จ่ายในการ บริโภคและการออมไว้ดังนี้  1. ปัจจัยที่เป็นตัวกำาหนดการบริโภค และการออม 1. รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (DI)  2. สินทรัพย์หรือสินค้าคงทนที่ผู้บริโภคถือ ครองอยู่  3. การคาดการณ์ของผู้บริโภคเกี่ยวกับ ราย ได้ และราคาสินค้า  4. สินเชื่อเพื่อการบริโภค เกี่ยวกับอัตรา ดอกเบี้ย, ระยะเวลาผ่อน  5. ค่านิยมทางสังคมและจำานวนประชากร  2. ฟังชันและสมการการบริโภคและ การออม  จากการศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์ของปัจจัย ต่างๆ จะพบว่าปัจจัยโดยตรงคือ รายได้ที่ใช้ จ่ายได้จริง (DI) เป็นปัจจัยสำาคัญในการ กำาหนดการบริโภคและการออก  ถ้าหากกำาหนดให้ปัจจัยอื่นๆคงที่ เรา สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของ ฟังก์ชันและสมการได้ดังนี้ 19
  • 20.  ความสัมพันธ์ในรูปของฟังก์ชันและ สมการได้ดังนี้ รูปฟังก์ชัน ได้ดังนี้; C or S = F (Yd) โดยที่ C คือ.................................. Yd คือ................................. รูปสมการ ได้ดังนี้; C = a + bYd …………………..(1) โดยที่ a คือ ...................................... b คือ ..................หมาย ถึง....................................................หรืออาจเรียก ว่า..................................................................................... (MPC: Marginal Propensity to Consume) ซึ่งก็คือ ความชันของเส้นการบริโภค; Slope of C = ∆C / ∆Yd ดังนั้นค่า b ก็คือ ค่า MPC สามารถคำานวณ 20
  • 21.  สมมติว่าระบบเศรษฐกิจที่กำาลังพิจารณาเป็น แบบปิดมี 2 ภาคเศรษฐกิจ  ภาคครัวเรือน และภาคธุรกิจ จะพบว่า  รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง เท่ากับ รายได้ ประชาชาติ (DI or Y = Yd) ดังนั้นสมการครัว เรือนสามารถเขียนได้ดังนี้ สมการครัวเรือน; Yd = C + S …………………….(2) แทนค่า C; Yd = a + bYd + S สมการการออม; S = Yd - a - bYd S = - a + (1-b)Yd จากสมการ C and S; จะพบว่า ต่างมีความ สัมพันธ์กับรายได้และมีทิศทางไปในทาง เดียวกัน นั่นคือ ถ้า  Y ∆ C and ∆ S 21
  • 22.  3. ความโน้มเอียงเฉลี่ย และความโน้มเอียงหน่วยเพิ่ม ในการบริโภคและการออม 3.1 ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภคและการออม (ก) ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค (Average Propensity to Consume: APC) คำานวณได้ดังนี้; APC = C / Yd (ข) ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม (Average Propensity to Save: APS) คำานวณได้ดังนี้; APS = S / Yd  ความสัมพันธ์ระหว่าง APC กับ APS คือ  ค่า APC + APS = 1 กล่าวคือ ถ้า APC APS  3.2 ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการบริโภคและการ ออม (ก) ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการบริโภค (Marginal Propensity to Consume: MPC) คำานวณได้ดังนี้; MPC = ∆C / ∆Yd (ข) ความโน้มเอียงหน่วยเพิ่มในการออม (Marginal Propensity to save: MPS) คำานวณได้ดังนี้; MPS = ∆S / ∆Yd  ความสัมพันธ์ระหว่าง MPC กับ MPS คือ 22
  • 23. (4) ตารางและสมการการบริโภค และการออม  สมการกำาหนดให้ C = 100 + 0.75Yd , S = - 100 + 0.25 Yd 300 325-251.08-0.080.750.25 Y = YDC S APC APS MPSMPC 0 100 - - ---100 A 100 C -100 S 400300 500 Yd Yd C, S Yd = C+S APS = 0 APC > APS E Break- Even pointAPC < APS Y = C ,S = 0 23
  • 24. (5) การเปลี่ยนแปลงการบริโภค 2 กรณี  5.1 การเปลี่ยนแปลงการบริโภค (Change in the amount consumed)  5.2 การเปลี่ยนแปลงเส้นการบริโภค (Shift in consumption)C YD C Ca A YD C B YD1 C1 C YDYD Ca C Ca1 C1 24
  • 25. (6) แนวคิดเกี่ยวกับการบริโภคของเคนส์  ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กับการ บริโภค สรุปได้ดังนี้าคนไม่มีรายได้ ก็ยังต้องมีการบริโภคที่จำาเป็น สังเกต (Ca > 0) ารายได้เพิ่มขึ้นส่งผลให้การบริโภคและการออมเพิ่มขึ้น งเกต (MPC, MPS มีค่า +) รเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่ายในการบริโภคจะน้อยกว่าของร กต (ค่า MPC < 1, และ APC ลดลงเมื่อรายได้เพิ่มขึ้น) รายได้ของครัวเรือนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ C, S สังเกต (ค่า MPC + MPS =1, หรือ APC + APS =1) ฤติกรรมการบริโภค คนที่มีรายได้สูง จะมีค่า MPC ตำ่ากว่า นมีรายได้ตำ่า 25
  • 26. 2. การใช้จ่ายเพื่อการลงทุน (INVESTMENT: I) การลงทุน (Investment) หมายถึง การใช้จ่าย โดยมีวัตถุประสงค์สำาคัญคือ ทำาให้เกิดการ ผลิตสินค้าในอนาคตเพิ่มขึ้น รายจ่ายในการ ลงทุนประกอบด้วย รายจ่ายในการก่อสร้าง รายจ่ายในการซื้อเครื่องมือ เครื่องจักร ใหม่ และ ส่วนเปลี่ยนแปลงมูลค่าสินค้าคงเหลือการลงทุนก่อให้เกิดผลใน ทางเศรษฐกิจ ดังนี้ การจ้าง งาน การเจริญ เติบโต ทาง 26
  • 27. 1. ปัจจัยที่ กำาหนดการลงทุน 1. ระดับรายได้ประชาชาติและการเปลี่ยนแปลง ระดับรายได้ประชาชาติ (Y) 2. อัตราดอกเบี้ย (Rate of interest: r หรือ i) 3. กำาไรที่คาดว่าจะได้รับ 4. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 5. ราคาสินค้าทุนและค่าบำารุงรักษา 6. อื่น ๆ นโยบายของรัฐบาลและเสถียรภาพ ทางการเมือง “วคิดของเคน์ส รายได้เป็นปัจจัยที่กำาหนดการลงทุนโดยตร ความสัมพันธ์I = f (Y, r, I1……..In) หรือ I = F ( Y ) 27
  • 28. 2. รูปแบบของการ ลงทุน 2.1 การลงทุนแบบอิสระ (Autonomous Investment: Ia) เป็นการลงทุนที่ไม่ เปลี่ยนแปลงตามระดับรายได้ I a I = Ia O การลงทุน Y สมการลงทุนแบบอิสระ I = Ia 28
  • 29. 2.2 การลงทุนที่วางแผนไว้ (PLANNED INVESTMENT: IP ) เป็นการลงทุนที่ผันแปรตามระดับรายได้ หรือ เรียกว่า การลงทุนโดยจูงใจ (Induced Investment ) Ii = iY การลงทุน Y สมการการลงทุนแบบชักจูง Ii = iY ∆ I ∆ Y โดย i = ∆I / ∆Y = MPI = Slope ของเส้น Investment MPI คือ Marginal Propensity to Invest) สมการการลงทุน รวม I = Ia + Ii หรือ I = Ia + iY 29
  • 31. (3) การเปลี่ยนแปลงการลงทุนมีอยู่ 2 กรณี  3.1 การเปลี่ยนแปลงการลงทุน (Change in the amount invested )  3.2 การเปลี่ยนแปลงเส้นการลงทุน (Shift in the investment)I Y I=Ia + iY A Y I B Y1 I1 I YY Ia I Ia1 I1 31
  • 32. 5.3 ทฤษฎีการกำาหนดรายได้ ประชาชาติเบื้องต้น *** รศึกษา GNP ซึ่งก็คือ อุปทานของสินค้าและบริการของประ (Aggregate Supply: AS) รศึกษา GNE ซึ่งก็คือ อุปสงค์มวลรวมของสินค้าและบริการ (Aggregate Demand: AD ) ประกอบด้วย สมการรายได้ประชาชาติ คือ GNP = C + I + G + (X-M) หรือ Y = C + I + G + (X-M) หรือ AS = AD การบริโภค (C) การลงทุน ( I ) การใช้จ่ายของรัฐบาล (G) การส่งออกสุทธิ (X - M) ษาศึกษาเบื้องต้นใช้ 2 ภาคเศรษฐกิจเรียกว่า ระบบเศรษฐก 32
  • 33. ข้อกำาหนดที่จำาเป็นของการ ศึกษาเบื้องต้น 1. ระดับราคาสินค้าทั่วไปและระดับการจ้างงานคงที่ ไม่มีรัฐบาล ดังนั้นรายได้ครัวเรือน YD = Y – T = Y or Y สมการเงื่อนไข GNP = C + I หรือ Y = TAE = C + I 3. ไม่มีการค้าระหว่างประเทศ ารศึกษาหาดุลยภาพเบื้องต้น 2 วิธี คือ - ทางด้านรายจ่ายรวม - ทางด้านการออมเท่ากับการลงทุน ทั้ง 2 วิธี คำาตอบ เดียวกัน 33
  • 34. สมการเงื่อนไข GNP = C + I หรือ Y = TAE = C + I ครื่องมือวิเคราะห์ . สมการคณิตศาสตร์ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์ .1 พิจารณาทางด้านรายจ่าย (TAE) สมการการบริโภค: เริ่มจากสมการสมมติ C = 25 + 0.75YD และ Ia = 50 และ Y = YD 34
  • 35. สมการเงื่อนไข Y = C + I แทนค่า C, I ลงในสมการเงื่อนไข Y = 25 + 0.75YD + 50 (1 -0.75)Y = 75 Y = 75 / 0.25 = 300 ล้านบาท แต่ Y = YD; Y = 25 + 0.75Y + 50 ราะห์โดยตาราง นำาสมการ C มาแทนค่า YD เพื่อหาระดับ จารณาเริ่มจากสมการที่กำาหนดให้ 35
  • 36. 2. การวิเคราะห์โดยการใช้ ตาราง ข้อมูล สมการการบริโภค C = 25 + 0.75YD สมการการลงทุน Ia = 50 ล้าน บาทและ Y = YD ระดับ Y ระดับ C ระดับ Iระดับ TAE ภาวะ 0 100 200 300 25 100 175 250 50 50 50 50 75 150 225 300 ขยายตัว ขยายตัว ขยายตัว ดุลยภาพ Y = TAE 400 325 50 375 หดตัว 500 400 50 450 หดตัว 600 475 50 525 หดตัว Y Y
  • 37. 3. การวิเคราะห์โดยการ ใช้กราฟ ข้อมูล สมการการบริโภค C = 25 + 0.75YD สมการการลงทุน Ia = 50 ล้าน บาทและ Y = YD Y = C + I TAE = C + I C = 25 + 0.75YD TAE ( C , I ) YO 450 100 E 300 300 Ia = 50
  • 38. 6.3.2 ระดับรายได้ดุลยภาพพิจารณาจาก การออมเท่ากับการลงทุน1. โครงสร้างของเศรษฐกิจปิด รรั่วไหล (Leakages) คือกระแสรายได้ที่ไหลออกจากระบบ การอัดฉีด (Injection) คือ กระแสอัดฉีดเข้าสู่ระบบ มการรายได้เท่ากับรายจ่าย ; Y = C + I …………(1) มการรายได้ของครัวเรือน ; Y = C + S …………(2) สมการ (1) = (2); C + I = C + S ดังนั้น I = S
  • 39. การวิเคราะห์มีเครื่องมือ 3 แบบ เริ่มจาก 1. วิธี คำานวณ ; ข้อมูล สมการการบริโภค ; C = 25 + 0.75YD และ S = -25 + 0.25Y I = 50 ล้านบาท และ Y = YD สมการเงื่อนไขการออม; S = YD - C แทนค่า C ในสมการ S ; = YD - 25 + 0.75YD ดังนั้น S = - 25 + 0.25Y สมการเงื่อนไขดุลยภาพ I = S แทนค่า ; 50 = -25 + 0.25Y Y = 300 ล้านบาท
  • 40. 2. การวิเคราะห์โดยการใช้ตาราง ข้อมูล สมการการบริโภค C = 25 + 0.75YD ; S = - 25 + 0.25YD สมการการลงทุน Ia = 50 ล้านบาทและ I = S ระดับ Y ระดับ S ระดับ Iระดับ TAE ภาวะ 0 100 200 300 -25 0 25 50 50 50 50 50 75 150 225 300 ขยายตัว ขยายตัว ขยายตัว ดุลยภาพ I = S 400 75 50 375 หดตัว 500 100 50 450 หดตัว 600 125 50 525 หดตัว Y Y
  • 41. 3. การวิเคราะห์โดย การใช้กราฟ ข้อมูล สมการการบริโภค C = 25 + 0.75YD สมการการลงทุน Ia = 50 ล้านบาท และ Y = YD TAE ( C , I ) YO S = - 25 + 0.25YD Ia = 50 I > S (inflationary gap) S > I (deflationary gap -25 300100 400 500
  • 42. 6.3.3 การเปลี่ยนแปลงของระดับรายได้ หรือผลผลิตดุลยภาพ ารวิเคราะห์ทั้ง 2 วิธี เป็นการพิจารณาที่มีข้อสมมติว่า - ระดับราคาสินค้าคงที่ - ปัจจัยอื่นที่เป็นตัวๆ C, I, G, X, M คงที่ ห้ปัจจัยที่กำาหนด TAE ตัวใดตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลงจะส่งผล บ ระดับรายได้ดุลยภาพอย่างไร คราะห์การเปลี่ยนแปลงจะใช้ โครงสร้างของเศรษฐกิจปิด วแทนของการวิเคราะห์อีก 2 โครงสร้าง
  • 43. การวิเคราะห์การ เปลี่ยนแปลง ข้อมูลที่ใช้ต่อเนื่อง มการการบริโภค ; C = 25 + 0.75YD มการการลงทุน ; Ia = 50 ล้านบาท มีการลงทุนเพิ่มขึ้นอีก Ia = 25 บาท ดังนั้น การลงทุนใหม่ Ia1 = 50 + 25 = 75 ล้านบาท รวิเคราะห์หาระดับรายได้ดุลยภาพ เงื่อนไขสมการ Y = C + I แทนค่า ; C จะได้ Y = 25 + 0.75Y + 75 = 100 / 0.25 = 400 ล้านบาท ระดับรายได้เพิ่มขึ้นจาก 300 ล้านเป็น 400 ล้าน หรือ เพิ่มขึ้นเป็น 4 เท่าของการลงทุนที่เพิ่มขึ้น
  • 44. 2. การวิเคราะห์โดยการ ใช้ตาราง ข้อมูล สมการการบริโภค C = 25 + 0.75YD สมการการลงทุน Ia = 50 ล้าน บาท และ Y = YD Y Y Y C I TAE ภาวะ∆ I TAE 0 25 50 75 ขยาย25 100 100 100 50 150 ขยาย25 175 200 175 50 225 ขยาย25 250 300 250 50 300 ขยาย25 325 400 325 50 375 ดุลยภาพ25 400 500 400 50 450 หด25 475 600 475 50 525 หด25 550
  • 45. 3. การวิเคราะห์โดยการใช้ กราฟ ข้อมูล สมการการบริโภค C = 25 + 0.75YD สมการการลงทุน Ia = 50 ล้าน บาท และ Y = YD Y = C + I TAE = C + I C = 25 + 0.75YD TAE ( C , I ) YO 450 100 E 300 300 Ia = 50 TAE1 = C + I1 ∆Ia= 25 E1 400
  • 46. 6.3.4 ตัวทวี (MULTIPLIER: K) 1. ความหมายของ ตัวทวีัวทวี (Multiplier: K)” หมายถึง ตัวเลขหรือค่าคงที่ ณได้โดยชี้ให้เห็นว่า เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงใน TAE จะส่งผ ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไปเท่ากับตัวทวีคูณด้วยจำานวนของ ยนแปลงใน TAE นั้น เขียนเป็นสมการได้ดังนี้ สมการตัวทวี Y = K (∆TAE ) าให้ การลงทุน (∆ I ) สมการตัวทวีคือ K = ∆Y / ∆ I
  • 47. 2. การทำางานของตัวทวี การวเคราะห์กระบวนการทำางานของตัว K ใช้ตาราง กข้อมูลเดิมมีการลงทุนเพิ่มขึ้น 25 ล้านบาท ( ∆Ia = 25) MPC = 0.75 เป็นการลงทุนในอุตสาหกรรมทอผ้า งวดที่ (∆I = 25) รายได้ (∆Y) การบริโภค (∆ C ) การออม  (∆S) 1 2 25 18.75 18.75 14.06 6.25 4.69 3 14.06 10.52 3.52 4 10.54 7.90 2.64 งวดที่ 5 - งวดสุดท้าย 31.65 23.75 7.9 รวม 100 75 25
  • 48. การวิเคราะห์หาค่าตัวทวี (K) โดยวิธี คณิตศาสตร์ สูตรที่ใช้ Y = K (∆ Ia) จากข้อมูลในตารางคำานวณหาค่า K 25 ( 1 + MPC + MPC2 + MPC3 +…….+ MPCN ) = 25 ( 1 + 0.75 + 0.752 + 0.753 …..0.75N ) = 25 [1 / (1 - 0.75)] = 25 X 4 = 100 ล้านบาท มขึ้น 100 ล้านบาท หรือ รายได้ เป็น 4 เท่าของการลงท เท่ากับ 4 ==> (4 x 25 =100) ข้อสังเกตุค่า K = 1 / (1 – MPC) or = 1 / MPS
  • 49. 6.4 ภาวะเงินเฟ้อและ ภาวะเงินฝืด 5.4.1 ภาวะเงินเฟ้อ นการณ์ทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับภาวะที่ระดับราคาสินค้า ”ารโดยทั่วไปสูงขึ้นเรื่อยๆ อย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ”ดับราคา (Price Level) หมายถึง ราคาของสินค้าและบริก มีความจำาเป็นต่อการครองชีพของประชาชน ราคาเฟ้อ สังเกตได้จาก “ ”ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index: C
  • 50. สิ่งที่นำามาพิจารณาเกี่ยวกับภาวะเงินเฟ้อ คือ (1) ขนาดของเงินเฟ้อ แบ่งเป็น 2 ขนาด ) ภาวะเงินเฟ้ออย่างอ่อน (Mild-Inflation) .2) ภาวะเงินเฟ้อรุนแรง (Hyper-Inflation) สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อ พิจารณา 3 ประเภท งินเฟ้อที่เกิดจากแรงดึงของอุปสงค์ (Demand Pull Inflatio สาเหตุของการเกิด AD Price Level Real Income
  • 51. สาเหตุของการเกิด DEMAND PULL INFLATION 1. การเพิ่มขึ้นของการใช้จ่ายมวลรวม (TAE or AD) รเพิ่มของปริมาณเงิน (Money Supply) 3. รายได้จากต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอุปสงค์มวลรวม าวะเงินเฟ้อที่เกิดจากแรงดันทางด้านอุปทาน Cost Push Inflation ) เกิดขึ้นเนื่องจากต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้ผู้ผลิตต ลดการผลิตหรือเท่าเดิมแต่จะเพิ่มราคาสินค้าให้สูงขึ้น
  • 52. เงินเฟ้อที่เกิดจากการตั้งราคาสินค้าของผู้ผลิตสูงเก k-up Inflation) นื่องมาจาก ผู้ผลิตตั้งราคาสูงเกินไป ทั้งๆที่ต้นทุนการผลิต นราคา ซึ่งภาวะเงินเฟ้อนี้เกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้ผลิตมีอำานา ทางเศรษฐกิจ ผลกระทบของการเกิดภาวะเงินเฟ้อ (3.1) กลุ่มประชาชนผู้บริโภค (-) (3.2) กลุ่มผู้ให้กู้ หรือ เจ้าหนี้ (-) (3.3) กลุ่มผู้มีรายได้ประจำา (-)
  • 53. 4) การแก้ไขภาวะเงินเฟ้อ การแก้ไขภาวะเงินเฟ้อที่เกิดจากแรงดึงของอุปสงค์ (ก ) พยายามสนับสนุนการเพิ่มระดับการผลิต นโยบายการเงิน - ขายหลักทรัพย์ให้กับประชาชน - เพิ่มอัตราเงินสดสำารองตามกฎหมาย - เพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วเงินของธนาคารกลาง (ค) นโยบายการคลัง - การเก็บภาษีเพิ่มขึ้น - ใช้งบประมาณแผ่นดินเกินดุล
  • 54. 5.4.2 ภาวะเงินฝืด (DEFLATION) คำานิยาม านการณ์ทางเศรษฐกิจที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปลดลงเ อเนื่อง หรือ อุปสงค์มวลรวมมีน้อยกว่าอุปทานมวลรวม ในช วะเงินฝืด ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจจะมีน้อย อธิบายสาเหตุและผล AD Price Level Investment Unemployment Depression period
  • 55. สาเหตุของการเกิดภาวะเงินฝืด 1. ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินให้ เงินกู้น้อย 2. รัฐบาลใช้งบประมาณเกินดุล กระทบของภาวะเงินฝืด ตรงข้ามกับเงินเฟ้อ การแก้ไข ภาวะเงินฝืด 3. การใช้จ่ายมวลรวมของ ระบบเศรษฐกิจมีน้อย 1. พยายามเพิ่มระดับการผลิตสินค้า บายการเงิน โดยการลดปริมาณเงิน ตรงข้ามกับเงินเฟ้อ ายการคลัง โดยการเพิ่มค่าใช้จ่ายรัฐบาล ตรงข้ามกับเงินเฟ