SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
รายได้ดุลยภาพ By Ratanan Bunnag
การหารายได้ประชาชาติดุลยภาพในเชิงคณิตศาสตร์   มี  2  วิธี 1.Income-Expenditure Approach รายได้ประชาชาติ = ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม 2.Withdrawal-Injection Approach การรั่วไหล = การอัดฉีด 1. ระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีรัฐบาล Y = C + I S = I 2. ระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล Y = C + I +G S + T = I + G 3. ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด Y = C + I + G + X - M S + T + M = I + G + X
[object Object]
รายได้ประชาชาติดุลภาพ  หมายถึง  ระดับรายได้ประชาชาติอยู่ในภาวะสมดุล  คือ  มีอุปสงค์รวม  (Aggregate Demand)  เท่ากับ อุปทานรวม  (Aggregate Supply)  ซึ่งเป็นสภาวะที่สินค้าและบริการที่ผลิตออกมาสนองความต้องการของผู้บริโภคได้พอดี -  ณ ระดับการจ้างงานเต็มที่  ไม่มีภาวการณ์ว่างงาน  ไม่มีสินค้าล้นตลาดหรือเกิดการขาดแคลน -  ณ ระดับต่ำกว่าการจ้างงานเต็มที่  มีการว่างงาน  ทรัพยากรถูกใช้ไม่เต็มที่  อุปสงค์รวมต่ำกว่าอุปทานรวม
การวิเคราะห์การเกิดดุลยภาพของรายได้ประชาชาติอย่างง่าย 1)  กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล Y  =  C + I 2)  กรณีที่เป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล Y  =  C + I + G 3)  กรณีที่เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิด Y  =  C + I + G + X – M
การหารายได้ประชาชาติดุลยภาพโดยใช้กราฟ กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล   โดยสมมติให้  , I=I - B AD=C+I ( การใช้จ่ายรวม ) Y ( รายได้ประชาชาติ )  0 C =C - +cY C - AD 1  =C +I=(C - +I - )+cY Y= AD=C+I 45 0 Y 1 C - +I - AD 1 A ดุลยภาพอยู่ที่จุด  B ที่  AD 1 (=C+I)  ระดับ  Y 1   เป็นระดับรายได้ดุลยภาพ Y 0
กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล   โดยสมมติให้  C=C - + c Y d  , I=I -  , G=G -   , Y d =Y-T  AD=C+I+G Y=AS= AD Y ( รายได้ประชาชาติ )=AS 0 C =C - +cY d =C - +c(Y-T)=(C - -cT)+cY C - -cT 45 0 Y 2 (C - -cT)+I - +G - A B AD 2  =C+I+G=(C - -cT+I - +G - )+cY AD 2 ดุลยภาพอยู่ที่จุด  E  ที่  AD 2 =AS(Y 2 )   ระดับ  Y 2 เป็นระดับรายได้ดุลยภาพ Y 1
การหารายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิดไม่มีรัฐบาลจากตาราง Y C=100+0.6Y I=300 S=-100+0.4Y AD=C+I แนวโน้มของรายได้และการว่าจ้างทำงาน 0 100 300 -100 400 ขยายตัว overspending   < 0 400 340 300 60 640 ขยายตัว 500 400 300 100 700 ขยายตัว 1,000* 700 300 300 1,000* ดุลยภาพ * = 0 2,00 0 1,300 300 700 1,600 หดตัว underspending   > 0
ตัวอย่างการคำนวณหารายได้ประชาชาติดุลยภาพ ตัวอย่างที่  1  จงหารายได้ประชาชาติ  เมื่อกำหนดให้ Y = C + I C=C - + c Y  ( เมื่อ  c = MPC) I = I - Sol.  แทนค่า  C  และ  I  ในสมการรายได้ประชาชาติ  ได้ Y = C - + c Y + I - Y -  c Y = C - + I - (1- c ) Y = C -   + I - Y =  ( C - + I -   )  #
ตัวอย่างที่  2  จงหารายได้ประชาชาติ  เมื่อกำหนดให้ Y = C + I C=100+0.6Y I = 300 Sol.  แทนค่า  C  และ  I  ในสมการรายได้ประชาชาติ  ได้ Y = 100+0.6Y+300 Y = 400+0.6Y Y-0.6Y = 400 (1-0.6)Y = 400 0.4 Y = 400 Y =  = 1,000  # ( 100+300 )  Y  = (2.5)(400) = 1,000 #) ( หรือ  จากสมการรายได้ประชาชาติดุลยภาพในตัวอย่างที่  1  เราก็แทนค่าลงไปซึ่งจะได้ดังนี้ Y =
ตัวทวี  (Multipliers)
ตัวทวี  (Multiplier)  คือ  ตัวเลขที่จะบอกขนาดของการเปลี่ยนแปลงของรายได้ดุลยภาพเมื่อเส้นความต้องการใช้จ่ายโดยอิสระเปลี่ยนแปลงไป  หรืออีกนัยหนึ่ง  ตัวคูณก็คือ  อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงในรายได้ดุลยภาพต่อการเปลี่ยนแปลงของการใช้จ่ายอิสระเปลี่ยนแปลงที่ทำให้รายได้ดุลยภาพเปลี่ยนแปลง ถ้าหากเราให้  k =  ค่า  multiplier =  ส่วนเปลี่ยนแปลงของการใช้จ่ายมวลรวม =  ส่วนเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ จะได้ว่า หรือ  หรือ
ค่าตัวคูณของการบริโภค ( C )  k C   =    ค่าตัวคูณของการลงทุน ( I )  k I   =  ค่าตัวคูณของการใช้จ่ายของรัฐบาล ( G )  k G   =  ค่าตัวคูณของการส่งออก ( X )  k X   =  ค่าตัวคูณของการนำเข้า ( M )  k M   =  ตัวคูณแต่ละตัวจะมีผลทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน  ทั้งทิศทางการเปลี่ยนแปลงและขนาดการเปลี่ยนแปลง  ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อสมมติของแบบจำลองของตัวแปรที่กำหนดให้ โดยการเปลี่ยนแปลงของตัวรั่วในระบบเศรษฐกิจจะทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้าม  ส่วนตัวอัดฉีดหรือตัวกระตุ้นจะมีผลทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
ที่มาของตัวคูณหรือรากฐานของตัวคูณ   มีดังนี้คือ ค่าใช้จ่ายของบุคคลหนึ่งจะเป็นเงินรายรับของอีกบุคคลหนึ่ง  ผู้รับก็มีรายได้มากขึ้น  ซึ่งบางส่วนของรายได้ที่มากขึ้นก็จะถูกออมไว้  ( ตามค่า  MPS)  และบางส่วนก็จะถูกใช้ต่อไป  ( ตามค่า  MPC)  ซึ่งจะกลายเป็นรายรับหรือเงินได้ของบุคคลอื่นในรอบต่อไปเช่นกัน  เมื่อบุคคลในรอบต่อไปมีรายได้เพิ่มขึ้น  บางส่วนของรายได้ก็จะถูกออมไว้  และบางส่วนของรายได้ก็จะถูกใช้จ่ายไปอีก  เป็นเช่นนี้เรื่อยๆไป  ดังนั้นเราจะเห็นได้ว่า  รายได้ประชาชาติก็จะต้องเพิ่มขึ้นเรื่อยๆในขณะที่เงินถูกเปลี่ยนมือไปเรื่อยๆนั่นเอง  แต่ขนาดของรายได้ที่เพิ่มขึ้นในรอบต่อๆไปจะลดขนาดลง  ในที่สุดผลรวมของรายได้ที่เกิดขึ้นทุกๆรอบจะถูกสะสมเพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ  คือ  เป็นหลายเท่าของการเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในตอนแรก  ส่วนจะเป็นกี่เท่าขึ้นอยู่กับค่าของตัวคูณ  ยกตัวอย่างเช่น  เมื่อมีการใช้จ่ายเงินเพื่อการลงทุนครั้งแรกเพิ่มขึ้น  =  สมมติค่า  MPC =  c  ( ของทุกคนในระบบเศรษฐกิจมีค่าเท่ากัน )
รอบการใช้จ่าย เงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น (  ) รายได้ที่เพิ่มขึ้น (  ) การบริโภคที่เพิ่มขึ้น (MPC=0.8) การออมที่เพิ่มขึ้น (MPS=0.2) 1 1,000,000 1,000,000 800,000 200,000 2 800,000 640,000 160,000 3 640,000 512,000 128,000 . . . . . . . . . . . . ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ รวมทั้งสิ้น 1,000,000 5,000,000 4,000,000 1,000,000
รอบการใช้จ่าย การใช้จ่ายที่เปลี่ยนแปลง (  ) รายได้ส่วนที่เปลี่ยนแปลง (  ) 1 2 3 . . . . . . . . . n n+1
รายได้ทั้งหมดที่เพิ่มขึ้น  :  =  +  c  +  c 2  + ...+  c n-1  +  c n     =  (1 +  c  +  c 2  + ...+  c n-1  +  c n )  (1) เอา  b  คูณสมการที่  (1)  ตลอดจะได้ c   =  (1 +  c  +  c 2  + ...+  c n-1  +  c n ) c c   =  (  c  +  c 2  +  c 3 + ...+  c n  +  c n+1 )  (2) เอาสมการ  (1) – (2)  จะได้ -  c   =  (1 -  c n+1 ) เมื่อ  n  เข้าใกล้  ( อินฟินิตี้ )  ค่า  c n+1   จะเท่ากับศูนย์ (0)  เพราะฉะนั้นจะได้ -  c   =  (1-  c )  =    ( ตัวคูณการลงทุน )
ตัวอย่างที่  4  กำหนดให้ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล และการลงทุนเป็นแบบอิสระ  จงหาตัวคูณของการบริโภคและการลงทุน  เมื่อกำหนดให้   Y = C + I C=C - + c Y I = I -   C=100+0.6Y I = 300 Sol.

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3พัน พัน
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่thnaporn999
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing Aor's Sometime
 
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศtumetr
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพtumetr1
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติหน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติBangon Suyana
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศSaran Srimee
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์peter dontoom
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 

What's hot (20)

บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน  หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน  หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
 
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติหน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 

Viewers also liked

Multiplier Analysis
Multiplier AnalysisMultiplier Analysis
Multiplier Analysispilnce
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์ธนิสร ยางคำ
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 

Viewers also liked (11)

Multiplier Analysis
Multiplier AnalysisMultiplier Analysis
Multiplier Analysis
 
ศศ
ศศศศ
ศศ
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
Ch3 and 4
Ch3 and 4Ch3 and 4
Ch3 and 4
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
การลงทุนในรูปแบบต่างๆ
การลงทุนในรูปแบบต่างๆการลงทุนในรูปแบบต่างๆ
การลงทุนในรูปแบบต่างๆ
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 

Ch3 and 4

  • 2. การหารายได้ประชาชาติดุลยภาพในเชิงคณิตศาสตร์ มี 2 วิธี 1.Income-Expenditure Approach รายได้ประชาชาติ = ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม 2.Withdrawal-Injection Approach การรั่วไหล = การอัดฉีด 1. ระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีรัฐบาล Y = C + I S = I 2. ระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล Y = C + I +G S + T = I + G 3. ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด Y = C + I + G + X - M S + T + M = I + G + X
  • 3.
  • 4. รายได้ประชาชาติดุลภาพ หมายถึง ระดับรายได้ประชาชาติอยู่ในภาวะสมดุล คือ มีอุปสงค์รวม (Aggregate Demand) เท่ากับ อุปทานรวม (Aggregate Supply) ซึ่งเป็นสภาวะที่สินค้าและบริการที่ผลิตออกมาสนองความต้องการของผู้บริโภคได้พอดี - ณ ระดับการจ้างงานเต็มที่ ไม่มีภาวการณ์ว่างงาน ไม่มีสินค้าล้นตลาดหรือเกิดการขาดแคลน - ณ ระดับต่ำกว่าการจ้างงานเต็มที่ มีการว่างงาน ทรัพยากรถูกใช้ไม่เต็มที่ อุปสงค์รวมต่ำกว่าอุปทานรวม
  • 5. การวิเคราะห์การเกิดดุลยภาพของรายได้ประชาชาติอย่างง่าย 1) กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล Y = C + I 2) กรณีที่เป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล Y = C + I + G 3) กรณีที่เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิด Y = C + I + G + X – M
  • 6. การหารายได้ประชาชาติดุลยภาพโดยใช้กราฟ กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล โดยสมมติให้ , I=I - B AD=C+I ( การใช้จ่ายรวม ) Y ( รายได้ประชาชาติ ) 0 C =C - +cY C - AD 1 =C +I=(C - +I - )+cY Y= AD=C+I 45 0 Y 1 C - +I - AD 1 A ดุลยภาพอยู่ที่จุด B ที่ AD 1 (=C+I) ระดับ Y 1 เป็นระดับรายได้ดุลยภาพ Y 0
  • 7. กรณีเป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล โดยสมมติให้ C=C - + c Y d , I=I - , G=G - , Y d =Y-T AD=C+I+G Y=AS= AD Y ( รายได้ประชาชาติ )=AS 0 C =C - +cY d =C - +c(Y-T)=(C - -cT)+cY C - -cT 45 0 Y 2 (C - -cT)+I - +G - A B AD 2 =C+I+G=(C - -cT+I - +G - )+cY AD 2 ดุลยภาพอยู่ที่จุด E ที่ AD 2 =AS(Y 2 ) ระดับ Y 2 เป็นระดับรายได้ดุลยภาพ Y 1
  • 8. การหารายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิดไม่มีรัฐบาลจากตาราง Y C=100+0.6Y I=300 S=-100+0.4Y AD=C+I แนวโน้มของรายได้และการว่าจ้างทำงาน 0 100 300 -100 400 ขยายตัว overspending < 0 400 340 300 60 640 ขยายตัว 500 400 300 100 700 ขยายตัว 1,000* 700 300 300 1,000* ดุลยภาพ * = 0 2,00 0 1,300 300 700 1,600 หดตัว underspending > 0
  • 9. ตัวอย่างการคำนวณหารายได้ประชาชาติดุลยภาพ ตัวอย่างที่ 1 จงหารายได้ประชาชาติ เมื่อกำหนดให้ Y = C + I C=C - + c Y ( เมื่อ c = MPC) I = I - Sol. แทนค่า C และ I ในสมการรายได้ประชาชาติ ได้ Y = C - + c Y + I - Y - c Y = C - + I - (1- c ) Y = C - + I - Y = ( C - + I - ) #
  • 10. ตัวอย่างที่ 2 จงหารายได้ประชาชาติ เมื่อกำหนดให้ Y = C + I C=100+0.6Y I = 300 Sol. แทนค่า C และ I ในสมการรายได้ประชาชาติ ได้ Y = 100+0.6Y+300 Y = 400+0.6Y Y-0.6Y = 400 (1-0.6)Y = 400 0.4 Y = 400 Y = = 1,000 # ( 100+300 ) Y = (2.5)(400) = 1,000 #) ( หรือ จากสมการรายได้ประชาชาติดุลยภาพในตัวอย่างที่ 1 เราก็แทนค่าลงไปซึ่งจะได้ดังนี้ Y =
  • 12. ตัวทวี (Multiplier) คือ ตัวเลขที่จะบอกขนาดของการเปลี่ยนแปลงของรายได้ดุลยภาพเมื่อเส้นความต้องการใช้จ่ายโดยอิสระเปลี่ยนแปลงไป หรืออีกนัยหนึ่ง ตัวคูณก็คือ อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงในรายได้ดุลยภาพต่อการเปลี่ยนแปลงของการใช้จ่ายอิสระเปลี่ยนแปลงที่ทำให้รายได้ดุลยภาพเปลี่ยนแปลง ถ้าหากเราให้ k = ค่า multiplier = ส่วนเปลี่ยนแปลงของการใช้จ่ายมวลรวม = ส่วนเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ จะได้ว่า หรือ หรือ
  • 13. ค่าตัวคูณของการบริโภค ( C ) k C = ค่าตัวคูณของการลงทุน ( I ) k I = ค่าตัวคูณของการใช้จ่ายของรัฐบาล ( G ) k G = ค่าตัวคูณของการส่งออก ( X ) k X = ค่าตัวคูณของการนำเข้า ( M ) k M = ตัวคูณแต่ละตัวจะมีผลทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน ทั้งทิศทางการเปลี่ยนแปลงและขนาดการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อสมมติของแบบจำลองของตัวแปรที่กำหนดให้ โดยการเปลี่ยนแปลงของตัวรั่วในระบบเศรษฐกิจจะทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้าม ส่วนตัวอัดฉีดหรือตัวกระตุ้นจะมีผลทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
  • 14. ที่มาของตัวคูณหรือรากฐานของตัวคูณ มีดังนี้คือ ค่าใช้จ่ายของบุคคลหนึ่งจะเป็นเงินรายรับของอีกบุคคลหนึ่ง ผู้รับก็มีรายได้มากขึ้น ซึ่งบางส่วนของรายได้ที่มากขึ้นก็จะถูกออมไว้ ( ตามค่า MPS) และบางส่วนก็จะถูกใช้ต่อไป ( ตามค่า MPC) ซึ่งจะกลายเป็นรายรับหรือเงินได้ของบุคคลอื่นในรอบต่อไปเช่นกัน เมื่อบุคคลในรอบต่อไปมีรายได้เพิ่มขึ้น บางส่วนของรายได้ก็จะถูกออมไว้ และบางส่วนของรายได้ก็จะถูกใช้จ่ายไปอีก เป็นเช่นนี้เรื่อยๆไป ดังนั้นเราจะเห็นได้ว่า รายได้ประชาชาติก็จะต้องเพิ่มขึ้นเรื่อยๆในขณะที่เงินถูกเปลี่ยนมือไปเรื่อยๆนั่นเอง แต่ขนาดของรายได้ที่เพิ่มขึ้นในรอบต่อๆไปจะลดขนาดลง ในที่สุดผลรวมของรายได้ที่เกิดขึ้นทุกๆรอบจะถูกสะสมเพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ คือ เป็นหลายเท่าของการเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในตอนแรก ส่วนจะเป็นกี่เท่าขึ้นอยู่กับค่าของตัวคูณ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อมีการใช้จ่ายเงินเพื่อการลงทุนครั้งแรกเพิ่มขึ้น = สมมติค่า MPC = c ( ของทุกคนในระบบเศรษฐกิจมีค่าเท่ากัน )
  • 15. รอบการใช้จ่าย เงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น ( ) รายได้ที่เพิ่มขึ้น ( ) การบริโภคที่เพิ่มขึ้น (MPC=0.8) การออมที่เพิ่มขึ้น (MPS=0.2) 1 1,000,000 1,000,000 800,000 200,000 2 800,000 640,000 160,000 3 640,000 512,000 128,000 . . . . . . . . . . . . ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ รวมทั้งสิ้น 1,000,000 5,000,000 4,000,000 1,000,000
  • 16. รอบการใช้จ่าย การใช้จ่ายที่เปลี่ยนแปลง ( ) รายได้ส่วนที่เปลี่ยนแปลง ( ) 1 2 3 . . . . . . . . . n n+1
  • 17. รายได้ทั้งหมดที่เพิ่มขึ้น : = + c + c 2 + ...+ c n-1 + c n = (1 + c + c 2 + ...+ c n-1 + c n ) (1) เอา b คูณสมการที่ (1) ตลอดจะได้ c = (1 + c + c 2 + ...+ c n-1 + c n ) c c = ( c + c 2 + c 3 + ...+ c n + c n+1 ) (2) เอาสมการ (1) – (2) จะได้ - c = (1 - c n+1 ) เมื่อ n เข้าใกล้ ( อินฟินิตี้ ) ค่า c n+1 จะเท่ากับศูนย์ (0) เพราะฉะนั้นจะได้ - c = (1- c ) = ( ตัวคูณการลงทุน )
  • 18. ตัวอย่างที่ 4 กำหนดให้ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล และการลงทุนเป็นแบบอิสระ จงหาตัวคูณของการบริโภคและการลงทุน เมื่อกำหนดให้ Y = C + I C=C - + c Y I = I - C=100+0.6Y I = 300 Sol.