SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
TANATTRIN BUNNAG
บทที่  1 บทนำ โดยวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ  ระบบเศรษฐกิจมหภาค
หัวข้อ 1.1  นิยามเศรษฐศาสตร์ 1.2  วัตถุประสงค์ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์ 1.3  เป้าหมายทางเศรษฐกิจ 1.4  การเรียนรู้การทำงานของระบบเศรษฐกิจ 1.5  การจำแนกระบบเศรษฐกิจ 1.6  นิยามศัพท์ที่น่าสนใจ
1.1  นิยามเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์   เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการที่มนุษย์และสังคมจะโดยใช้เงินหรือไม่ก็ตาม  เลือกใช้ทรัพยากรการผลิตที่มีจำกัดอันได้แก่ แรงงาน  ที่ดิน  ทุน  และผู้ประกอบการ  ซึ่งอาจนำทรัพยากรนี้ไปใช้อย่างอื่นได้หลายอย่างเพื่อการผลิตสินค้าและ / หรือบริการต่าง ๆ เป็นเวลาต่อเนื่องกัน  และจำหน่ายจ่ายแจกสินค้าและ / หรือบริการเหล่านั้นไปยังประชาชนทั่วไปและกลุ่มชนในสังคม  เพื่อการบริโภคและเพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์หรือสนองความต้องการที่มีอยู่มากมายนับไม่ถ้วนทั้งในปัจจุบันและอนาคต
คำถาม  จากนิยามของคำว่า “เศรษฐศาสตร์” ข้างต้น  สามารถจำแนกประเด็นสำคัญเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ได้อะไรบ้าง - ทรัพยากร - การผลิต  การจัดสรร - การบริโภค  ความต้องการ - การตลาด  การแลกเปลี่ยน -
นิยามเศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomic s) เศรษฐศาสตร์มหภาค   (Macroeconomics)  เป็นการศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนรวม  (economic aggregate)  เช่น  การศึกษาถึงผลิตผลรวมของประเทศ  อัตราการจ้างงานรวมของประเทศ  การเงินและการธนาคาร  การพัฒนาประเทศ  ตลอดจนการค้าระหว่างประเทศ  เป็นต้น  เป็นสาขาเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลมากที่สุด
1.2  วัตถุประสงค์ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์ 1.)  เพื่อเข้าใจการทำงานของระบบเศรษฐกิจ 2.)  เพื่ออธิบายปรากฏการณ์หรือปัญหาของเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น 3.)  เพื่อนำเสนอนโยบายในการแก้ปัญหา โดยการใช้นโยบายการเงินและการคลัง 4.)  เพื่อนำเสนอนโยบายในการพัฒนาประเทศ
1.3  เป้าหมายทางเศรษฐกิจ  (Economic goal)   1.)  ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ  (economic growth)   2)  การจ้างงาน  (employment)   3)  เงินเฟ้อ (  Inflation)
1.4  การเรียนรู้การทำงานของระบบเศรษฐกิจ การเรียนรู้การทำงานของระบบเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์จุลภาค เศรษฐศาสตร์มหภาค -  ทฤษฎีผู้บริโภค -  ทฤษฎีหน่วยธุรกิจ -  ทฤษฎีตลาด ฯลฯ -  ทฤษฎีผลผลิต -  ทฤษฎีการจ้างงาน -  ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ย ฯลฯ
1.5  การจำแนกระบบเศรษฐกิจ พิจารณาว่าระบบเศรษฐกิจเป็นแบบใด 1.)  สิทธิ์การเป็นเจ้าของในทรัพย์สิน ( เป็นของเอกชนหรือเป็นของรัฐบาล ) 2.)  ผู้ดำเนินการผลิต  ( เอกชนหรือรัฐบาล ) 3.)  สิ่งที่ตัดสินการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ( กลไกราคาหรือรัฐบาล ) 4.)  การแข่งขัน ( มีการแข่งขันหรือไม่มีการแข่งขัน )
ระบบเศรษฐกิจ ระบบทุนนิยม ระบบสังคมนิยม ระบบผสม
1.6  นิยามศัพท์ที่น่าสนใจ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ   (Gross Domestic Product :GDP)  หมายถึง  การวัดผลผลิตสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตภายในประเทศในรอบระยะเวลาหนึ่ง  โดยไม่มีการคำนึงถึงว่าใช้ทรัพยากรในการผลิตสินค้าและบริการภายในประเทศหรือเป็นของชาวประเทศ รายได้ประชาชาติ   (National Income: NI)  รายได้ต่อหัว   (per-capita  GNP)
อัตราแลกเปลี่ยน   (Exchange Rate : e , )  เป็นอัตราที่เทียบระหว่างค่าของเงินสกุลหนึ่ง  ( เช่น สกุลบาท )  กับหนึ่งหน่วยของเงินสกุลหนึ่ง  ( หรืออีกสกุลหนึ่ง  เช่น สกุลดอลลาร์สหรัฐฯ )  เช่น  ค่าของเงินบาทเทียบกับ  1  หน่วยดอลลาร์สหรัฐฯ  เท่ากับ  32  บาท  เป็นต้น  ( อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯเท่ากับ  32  บาทต่อ  1  ดอลลาร์ )   ดุลงบประมาณ   (Budget balance)  หมายถึง  ส่วนต่างระหว่างประมาณการรายได้  และ  ประมาณการรายจ่าย   เงินเฟ้อ   (Inflation)   เงินฝืด   (Deflation)
ดุลการชำระเงิน   (Balance of Payment)  หมายถึง  ผลสรุปของการทำธุรกรรมทางเศรษฐกิจ  (economic transaction)  ระหว่างผู้ที่มีถิ่นฐานในประเทศ  (resident)  กับ  ผู้มีถิ่นฐานในต่างประเทศ  (non-resident)  ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง  บัญชีดุลการชำระเงินประกอบด้วย ( ตามการจัดทำดุลการชำระเงินของประเทศไทย ) -  ดุลบัญชีเดินสะพัด  ประกอบด้วย  ดุลการค้า  และ  ดุลบริการ รายได้และเงินโอน และ เงินบริจาค -  ดุลบัญชีทุนและการเงิน  ประกอบด้วย  บัญชีทุน  บัญชีการเงิน  และเงินลงทุน
สัญลักษณ์ที่สำคัญในเศรษฐศาสตร์มหภาค C  =  การบริโภค (Consumption) I  =  การลงทุน   (Investment)  ภาคเอกชน G  =  การใช้จ่ายของภาครัฐบาล   ( Government Expenditure )  X  =  Export  การส่งออก M  =  Import  การนำเข้า X-M  =  NX  =  Net  Export  การส่งออกสุทธิ AD  =  Aggregate Demand  อุปสงค์มวลรวม AS  =  Aggregate Supply  อุปทานมวลรวม Y  =  Income  รายได้  นักเศรษฐศาสตร์ก็ใช้แทน  GDP  และ  GNP
S  =  Saving  การออม T  =  Tax  ภาษี   P  =  Price Level  ระดับราคา W  =  Wage Rate  อัตราค่าจ้าง w  =  Real Wage Rate  อัตราค่าจ้างแท้จริง ( เท่ากับอัตราค่าจ้างที่เป็นตัวเงิน  หารด้วย  ระดับราคา ) N  =  Employment  การจ้างงาน Nd  =  Demand for Labor  อุปสงค์ต่อแรงงาน Ns  =  Supply of Labor  อุปทานของแรงงาน
-MS  =  M  =  Supply  of  Money  อุปทานของเงิน -MD  =  Md  =  Demand for Money  อุปสงค์ต่อเงิน -Mt  =  Transaction Demand for Money  อุปสงค์ของการถือเงินเพื่อการจับจ่ายใช้สอยและเหตุฉุกเฉิน -Ms  =  Speculative  Demand for Money  อุปสงค์ของการถือเงินเพื่อการเก็งกำไร -r  =  i  =  Interest Rate  อัตราดอกเบี้ย - อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ  =  - อัตราเงินเฟ้อ  =  เมื่อ  CPI  คือ  ดัชนีราคาผู้บริโภค  (Consumer Price Index)

More Related Content

What's hot

Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศtumetr1
 
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6Apple Natthakan
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4songyangwtps
 
9789740335337
97897403353379789740335337
9789740335337CUPress
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
Multiplier Analysis
Multiplier AnalysisMultiplier Analysis
Multiplier Analysispilnce
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)Link Standalone
 

What's hot (14)

Presentc6
Presentc6Presentc6
Presentc6
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 
Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 
Ch3 and 4
Ch3 and 4Ch3 and 4
Ch3 and 4
 
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 6
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
9789740335337
97897403353379789740335337
9789740335337
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
Multiplier Analysis
Multiplier AnalysisMultiplier Analysis
Multiplier Analysis
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
 

Similar to มหภาค1

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.MR.Praphit Faakham
 

Similar to มหภาค1 (7)

Rta income dist-5 jul
Rta income dist-5 julRta income dist-5 jul
Rta income dist-5 jul
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
Introgecon
IntrogeconIntrogecon
Introgecon
 
MACRO ECONOMICS.pdf
MACRO ECONOMICS.pdfMACRO ECONOMICS.pdf
MACRO ECONOMICS.pdf
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.
 

มหภาค1

  • 2. บทที่ 1 บทนำ โดยวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ ระบบเศรษฐกิจมหภาค
  • 3. หัวข้อ 1.1 นิยามเศรษฐศาสตร์ 1.2 วัตถุประสงค์ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์ 1.3 เป้าหมายทางเศรษฐกิจ 1.4 การเรียนรู้การทำงานของระบบเศรษฐกิจ 1.5 การจำแนกระบบเศรษฐกิจ 1.6 นิยามศัพท์ที่น่าสนใจ
  • 4. 1.1 นิยามเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการที่มนุษย์และสังคมจะโดยใช้เงินหรือไม่ก็ตาม เลือกใช้ทรัพยากรการผลิตที่มีจำกัดอันได้แก่ แรงงาน ที่ดิน ทุน และผู้ประกอบการ ซึ่งอาจนำทรัพยากรนี้ไปใช้อย่างอื่นได้หลายอย่างเพื่อการผลิตสินค้าและ / หรือบริการต่าง ๆ เป็นเวลาต่อเนื่องกัน และจำหน่ายจ่ายแจกสินค้าและ / หรือบริการเหล่านั้นไปยังประชาชนทั่วไปและกลุ่มชนในสังคม เพื่อการบริโภคและเพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์หรือสนองความต้องการที่มีอยู่มากมายนับไม่ถ้วนทั้งในปัจจุบันและอนาคต
  • 5. คำถาม จากนิยามของคำว่า “เศรษฐศาสตร์” ข้างต้น สามารถจำแนกประเด็นสำคัญเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ได้อะไรบ้าง - ทรัพยากร - การผลิต การจัดสรร - การบริโภค ความต้องการ - การตลาด การแลกเปลี่ยน -
  • 6. นิยามเศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomic s) เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) เป็นการศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนรวม (economic aggregate) เช่น การศึกษาถึงผลิตผลรวมของประเทศ อัตราการจ้างงานรวมของประเทศ การเงินและการธนาคาร การพัฒนาประเทศ ตลอดจนการค้าระหว่างประเทศ เป็นต้น เป็นสาขาเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลมากที่สุด
  • 7. 1.2 วัตถุประสงค์ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์ 1.) เพื่อเข้าใจการทำงานของระบบเศรษฐกิจ 2.) เพื่ออธิบายปรากฏการณ์หรือปัญหาของเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น 3.) เพื่อนำเสนอนโยบายในการแก้ปัญหา โดยการใช้นโยบายการเงินและการคลัง 4.) เพื่อนำเสนอนโยบายในการพัฒนาประเทศ
  • 8. 1.3 เป้าหมายทางเศรษฐกิจ (Economic goal) 1.) ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (economic growth) 2) การจ้างงาน (employment) 3) เงินเฟ้อ ( Inflation)
  • 9. 1.4 การเรียนรู้การทำงานของระบบเศรษฐกิจ การเรียนรู้การทำงานของระบบเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์จุลภาค เศรษฐศาสตร์มหภาค - ทฤษฎีผู้บริโภค - ทฤษฎีหน่วยธุรกิจ - ทฤษฎีตลาด ฯลฯ - ทฤษฎีผลผลิต - ทฤษฎีการจ้างงาน - ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ย ฯลฯ
  • 10. 1.5 การจำแนกระบบเศรษฐกิจ พิจารณาว่าระบบเศรษฐกิจเป็นแบบใด 1.) สิทธิ์การเป็นเจ้าของในทรัพย์สิน ( เป็นของเอกชนหรือเป็นของรัฐบาล ) 2.) ผู้ดำเนินการผลิต ( เอกชนหรือรัฐบาล ) 3.) สิ่งที่ตัดสินการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ( กลไกราคาหรือรัฐบาล ) 4.) การแข่งขัน ( มีการแข่งขันหรือไม่มีการแข่งขัน )
  • 12. 1.6 นิยามศัพท์ที่น่าสนใจ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product :GDP) หมายถึง การวัดผลผลิตสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตภายในประเทศในรอบระยะเวลาหนึ่ง โดยไม่มีการคำนึงถึงว่าใช้ทรัพยากรในการผลิตสินค้าและบริการภายในประเทศหรือเป็นของชาวประเทศ รายได้ประชาชาติ (National Income: NI) รายได้ต่อหัว (per-capita GNP)
  • 13. อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate : e , ) เป็นอัตราที่เทียบระหว่างค่าของเงินสกุลหนึ่ง ( เช่น สกุลบาท ) กับหนึ่งหน่วยของเงินสกุลหนึ่ง ( หรืออีกสกุลหนึ่ง เช่น สกุลดอลลาร์สหรัฐฯ ) เช่น ค่าของเงินบาทเทียบกับ 1 หน่วยดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 32 บาท เป็นต้น ( อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯเท่ากับ 32 บาทต่อ 1 ดอลลาร์ ) ดุลงบประมาณ (Budget balance) หมายถึง ส่วนต่างระหว่างประมาณการรายได้ และ ประมาณการรายจ่าย เงินเฟ้อ (Inflation) เงินฝืด (Deflation)
  • 14. ดุลการชำระเงิน (Balance of Payment) หมายถึง ผลสรุปของการทำธุรกรรมทางเศรษฐกิจ (economic transaction) ระหว่างผู้ที่มีถิ่นฐานในประเทศ (resident) กับ ผู้มีถิ่นฐานในต่างประเทศ (non-resident) ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง บัญชีดุลการชำระเงินประกอบด้วย ( ตามการจัดทำดุลการชำระเงินของประเทศไทย ) - ดุลบัญชีเดินสะพัด ประกอบด้วย ดุลการค้า และ ดุลบริการ รายได้และเงินโอน และ เงินบริจาค - ดุลบัญชีทุนและการเงิน ประกอบด้วย บัญชีทุน บัญชีการเงิน และเงินลงทุน
  • 15. สัญลักษณ์ที่สำคัญในเศรษฐศาสตร์มหภาค C = การบริโภค (Consumption) I = การลงทุน (Investment) ภาคเอกชน G = การใช้จ่ายของภาครัฐบาล ( Government Expenditure ) X = Export การส่งออก M = Import การนำเข้า X-M = NX = Net Export การส่งออกสุทธิ AD = Aggregate Demand อุปสงค์มวลรวม AS = Aggregate Supply อุปทานมวลรวม Y = Income รายได้ นักเศรษฐศาสตร์ก็ใช้แทน GDP และ GNP
  • 16. S = Saving การออม T = Tax ภาษี P = Price Level ระดับราคา W = Wage Rate อัตราค่าจ้าง w = Real Wage Rate อัตราค่าจ้างแท้จริง ( เท่ากับอัตราค่าจ้างที่เป็นตัวเงิน หารด้วย ระดับราคา ) N = Employment การจ้างงาน Nd = Demand for Labor อุปสงค์ต่อแรงงาน Ns = Supply of Labor อุปทานของแรงงาน
  • 17. -MS = M = Supply of Money อุปทานของเงิน -MD = Md = Demand for Money อุปสงค์ต่อเงิน -Mt = Transaction Demand for Money อุปสงค์ของการถือเงินเพื่อการจับจ่ายใช้สอยและเหตุฉุกเฉิน -Ms = Speculative Demand for Money อุปสงค์ของการถือเงินเพื่อการเก็งกำไร -r = i = Interest Rate อัตราดอกเบี้ย - อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ = - อัตราเงินเฟ้อ = เมื่อ CPI คือ ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index)