SlideShare a Scribd company logo
1 of 300
Download to read offline
Mr.LikeStock
เริ่มต้นลงทุนหุ้น
แนวพื้นฐาน
Mr.LikeStock
Dec 2014
www.mrlikestock.com/go/startinvest/
www.facebook.com/MrLikeStock
Mr.LikeStock
เนื้อหาประกอบด้วย
มี 4 Step
1. ปูพื้นฐานการลงทุน
(Introduction to Investment)
2. การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน
(Fundamental Analysis)
3. งบการเงินกับการลงทุน
(Financial Statement for Investment)
4. กลยุทธการลงทุน
(Investment Strategies) 4321
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 2
Mr.LikeStock
Step 1 ปูพื้นฐานการลงทุน
 ทาไมต้องลงทุน
 ลักษณะการลงทุนที่เหมาะแต่ละคน
 ลงทุนปัจจัยพื้นฐานคืออะไร
 เศรษฐศาสตร์กับการลงทุน
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 3
Mr.LikeStock
Step 2 การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน
 การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงคุณภาพ
 โมเดลใช้วิเคราะห์ปัจจัยเชิงคุณภาพ
 กลุ่มอุตสาหกรรม
 การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานกิจการ
 ทาความเข้าใจหุ้นโดยอ่าน 56-1
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 4
Mr.LikeStock
Step 3 งบการเงินกับการลงทุน
 การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงปริมาณ
 พื้นฐานการงบการเงิน
 อัตราส่วนทางการเงิน
 วิเคราะห์งบการเงิน
 เครื่องทุ่นแรงการวิเคราะห์งบการเงิน
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 5
Mr.LikeStock
Step 4 กลยุทธ์การลงทุน
 การประเมินมูลค่าหุ้นอย่างง่าย
 คาภีร์นักลงทุนหุ้นคุณค่า
 การลงทุนสไตล์ วอร์เรน บัฟเฟตต์
 การลงทุนสไตล์ ปีเตอร์ ลินซ์
 จัดพอร์ทการลงทุน
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 6
Mr.LikeStock
ปูพื้นฐานการลงทุน
Introduction to Investment
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 7
4321
Mr.LikeStock
ทาไมต้องลงทุน
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 8
อยากมั่งคั่ง
อยากรวย
อยากมีอิสรภาพทางการเงิน
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 9
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 10
Mr.LikeStock
ดัชนีผลตอบแทนรวม
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 11
59,674
24,367
10,024
8,505
0
10,000
20,000
30,000
40,000
50,000
60,000
Equity
Bond
Cash
Gold
2554
ดัชนีผลตอบแทนรวม (Total nominal return) 2518-2554
หน่วย: จุด; ดัชนีผลตอบแทนรวม ณ จุดเริ่มต้นลงทุน ปี 2517 อยู่ที่ 1000 หุ้นในระยะยาวให ้ผลตอบแทนสูงที่สุด
แต่ความผันผวนก็เยอะกว่า
เป็นข ้อมูลในอดีตเท่านั้น
Mr.LikeStock
ดัชนีผลตอบแทนรวมที่แท้จริง
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 12
ดัชนีผลตอบแทนรวมที่แท้จริง (Total real return) 2518-2554
หน่วย: จุด; ดัชนีผลตอบแทนรวม ณ จุดเริ่มต้นลงทุน ปี 2517 อยู่ที่ 1000
9,165
4,709
1,853
1,446
0
2,000
4,000
6,000
8,000
10,000
12,000
14,000
16,000
18,000
Equity
Bond
Cash
Gold
2554
อัตราผลตอบแทนสูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 118 ในปี 2532
อัตราผลตอบแทนต่่าสุดอยู่ที่ร้อยละ -52 ในปี 2540
เป็นข ้อมูลในอดีตเท่านั้น
Mr.LikeStock
ปิรามิดการลงทุน
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 13
Mr.LikeStock
มหัศจรรย์ของเลข 72
 “ดอกเบี้ยทบต ้น คือสิ่งมหัศจรรย์อันดับ 8 ของโลก”
 ทาให ้ทราบว่า... จะต ้องใช ้ระยะเวลานานเท่าใดที่เงินลงทุนของคุณ
จะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ณ อัตราผลตอบแทนที่กาหนด
 เช่น นาเงินไปลงทุนได ้ผลตอบแทนทบต ้นปีละ 10% ต ้องใช ้เวลา 72/10
= 7.2 ปี ในการที่เงินจะเพิ่มเป็น 2 เท่า
 ยิ่งผลตอบแทนมากระยะเวลาที่ทบต ้นก็จะเร็วขึ้น แต่ต้องอย่าลืมเรื่อง
ความเสี่ยง
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 14
จานวนปีที่เงินลงทุนจะเพิ่มเป็น 2 เท่า =
72
อัตราผลตอบแทน
Mr.LikeStock
1 แสน เป็ น 2 แสน
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 15
Mr.LikeStock
ผลตอบแทนของหุ้น พันธบัตร และเงินฝาก
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 16ที่มา : สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI) เป็นข ้อมูลในอดีตเท่านั้น
Mr.LikeStock
เกษียณมี 30 ล้านไม่ยาก แค่เดือนละ 5,000
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 17ที่มา : จัดทัพลงทุนสู่อิสรภาพทางการเงิน
Mr.LikeStock
หุ้นไม่ได้มีแต่กาไรนะ!
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 18
Mr.LikeStock
ลักษณะการลงทุนที่เหมาะแต่ละคน
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 19ที่มา : สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI)
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 20
http://goo.gl/4R6STa
ที่มา : สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI)
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 21
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 22
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 23
Mr.LikeStock
การวางแผนการเงิน ต้องที่นี่เลย ! แนะนาๆ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 24
http://www.a-academy.net/
Mr.LikeStock
ลงทุนปัจจัยพื้นฐานคืออะไร
 เป็นการประเมินมูลค่าที่แท ้จริงของบริษัทเพื่อตัดสินใจซื้อหรือขาย
 ราคาหุ้นต่ากว่ามูลค่าที่แท ้จริง (Underpriced) ซื้อ
 ราคาหุ้นสูงกว่ามูลค่าที่แท ้จริง (Overpriced) ขาย
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 25
Mr.LikeStock
การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 26
วิเคราะห์เศรษฐกิจมหาภาค GDP
อัตราเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ย
นโยบายภาครัฐ การเงิน การคลัง
วิเคราะห์
เศรษฐกิจ
วิเคราะห์
อุตสาหกรรม
วิเคราะห์
บริษัท
การขยายตัวของอุตสาหกรรม
ลักษณะของอุตสาหกรรม
การแข่งขันในอุตสาหกรรม
ลักษณะของธุรกิจ
ปัจจัยเชิงปริมาณ
ปัจจัยเชิงคุณภาพ
TOP
DOWN
UP
Bottom
Mr.LikeStock
เศรษฐศาสตร์
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 27
อะไรทาให ้Demand Supply เปลี่ยนแปลง
ขึ้นราคาแล ้วยอดขายรวมเพิ่มขึ้นหรือไม่ ?
ถ ้าเศรษฐกิจไม่ดี สินค ้าอะไรยังขายได ้
เงินเฟ้อ คือ ?
GDP คือ ?
นโยบายรัฐมีผลต่อเศรษฐกิจอย่างไร
วิชาเศรษฐศาสตร์ มีคาตอบ
ปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อราคาหุ้น
Mr.LikeStock
เศรษฐศาสตร์
 เศรษฐศาสตร์ เป็ นวิชาที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของบุคคลและสังคมใน
การตัดสินใจเลือก ใช ้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด มาผลิตสินค ้าและ
บริการต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต ้องการที่ไม่มีขีดจากัด ให ้ได ้ความ
พึงพอใจสูงสุด
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 28
Mr.LikeStock
เศรษฐศาสตร์
 เราทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย จาเป็ นต ้องใช ้
เศรษฐศาสตร์ ในการดาเนินชีวิตประจาวัน
 เช่น มีเงิน 300 บาท จะซื้อหนังสือหุ้น ดี ๆ
สักเล่มอ่าน หรือ ไปดูหนัง ดี ? ทาให ้เกิด
ประโยชน์ หรือ ความพึงพอใจสูงสุด
 บริษัท มีทรัพยากร (เงินทุน) จากัด จะ
ผลิตสินค ้า ทาการตลาด และขายอย่างไร
ให ้ได ้ผลตอบแทน (กาไร) สูงสุด
 รัฐบาลวางแผนนางบประมาณไปพัฒนา
ประเทศให ้เกิดประโยชน์สูงสุด ประชาชน
ทุกฝ่ าย Happy ในทั้งระยะสั้นและระยะยาว
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 29
หรือ
Mr.LikeStock
แขนงของเศรษฐศาสตร์
 เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
 ว่าด ้วย กิจกรรมทางเศรษฐกิจของบุคคล ครัวเรือน เฉพาะส่วนย่อย ๆ ใน
ระยะเวลาหนึ่ง เช่น พฤติกรรมของตลาด กลไกราคา
 เศรษฐศาสตร์มหาภาค (Macroeconomics)
 กิจกรรมทางเศรษฐกิจในภาพรวม หรือในระดับประเทศ เช่น ภาพรวมการ
บริโภค อัตราการจ ้างงาน การค ้าระหว่างประเทศ (นาเข ้า – ส่งออก)
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 30
Mr.LikeStock
ทางเลือก และ ค่าเสียโอกาส
 เราเลือกอย่างหนึ่ง แต่ก็เสียโอกาสอีกอย่างหนึ่ง คือ ค่าเสียโอกาส
 ถ ้านาเงินก ้อนนี้มาลงทุนหุ้น ค่าเสียโอกาส คือดอกเบี้ยที่ได ้รับจากการ
ฝากธนาคาร (ต ้องประเมินว่า นามาลงทุนหุ้นแล ้วความเสี่ยงคุ้มค่า เมื่อ
เทียบกับ ค่าเสียโอกาสหรือไม่ ?)
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 31
ฝากธนาคาร ลงทุนหุ้น
ทางเลือก
Mr.LikeStock
ปัจจัยการผลิต
 แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1. ที่ดิน (Land) ที่ดินตั้งโรงงาน ร ้านค ้า ทาการเกษตร  ค่าเช่า
2. แรงงาน (Labor) แรงการ ความคิด ของมนุษย์  ค่าจ ้าง
3. ทุน (Capital) สิ่งก่อสร ้าง เครื่องจักร เครื่องมือที่ใช ้ในการผลิต 
ผลตอบแทน(จากค่าเสียโอกาส)
4. ผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) ผู้ที่รวบรวมปัจจัยการผลิต มา
ผลิตสิ่งที่ต ้องการ  กาไร
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 32
Mr.LikeStock
อุปสงค์
 อุปสงค์ (Demand) – ความต ้องการของผู้ซื้อ หรือผู้บริโภค
 ผู้ซื้อต ้องการซื้อมากขึ้นถ ้าราคาถูกลง ถ ้าราคาแพงขึ้นต ้องการซื้อน้อยลง
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 33
Mr.LikeStock
อุปทาน
 อุปทาน (Supply) – ปริมาณเสนอขายของผู้ขาย หรือผู้ผลิต
 ถ ้าราคาสินค ้าแพงขึ้นผู้ขายอยากขายมากขึ้น ถ ้าราคาสินค ้าถูกลงอุปทาน
จะลดลง
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 34
Mr.LikeStock
กลไกราคา
 อุปสงค์ – อุปทาน ขัดแย ้งกัน แล้วจะจบกันที่ตรงไหน ?
 ตลาด คือที่ผู้ผลิตและผู้บริโภคมาเจอกัน ทาให ้เกิด จุดดุลยภาพ
 ราคาดุลยภาพ คือ ราคาที่ผู้ซื้อต ้องการซื้อเท่ากับราคาที่ผู้ขายเสนอขาย
 ปริมาณดุลยภาพ คือ จานวนสินค ้าที่ผู้ซื้อต ้องการซื้อเท่ากับจานวนสินค ้า
ที่ผู้ขายเสนอขายพอดี
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 35
Mr.LikeStock
จุดดุลยภาพ
 จุดดุลยภาพ (Equilibrium Point) คือ จุดตัดกันระหว่างเส ้นอุปสงค์
กับเส ้นอุปทาน
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 36
กระบวนการปรับราคาเป็นการทางานของ กลไกราคา (Price Mechanism)
Mr.LikeStock
การเปลี่ยนแปลงในอุปสงค์
 รายได้ผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง
 เช่น รายได ้เพิ่มช ้อปปิ้งเพิ่ม คือ สินค ้าปกติ
 แต่มีสินค ้าด ้วยคุณภาพที่รายได ้ลดลงต ้องการซื้อมากขึ้น เช่น บะหมี่กึ่ง
สาเร็จรูป
 สินค้าทดแทน, สินค้าที่ใช้ร่วมกัน เช่น ทานส ้มแทนแอปเปิ้ลได ้
เมื่อสิ่งหนึ่งแพงก็หันไปบริโภคสินค ้าทดแทนได ้
 รสนิยมของผู้บริโภค เช่น ชอบใช ้สินค ้าบางยี่ห ้อ (Brand Loyalty)
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 37
Mr.LikeStock
การเปลี่ยนแปลงในอุปสงค์ (ต่อ)
 การคาดการณ์ของผู้บริโภค เช่น พรุ่งน้ามันจะขึ้นราคาวันนี้ไปแห่
ไปเติมให ้เต็มถังก่อน
 จานวนผู้ซื้อ เช่น โดนัทชื่อดังจากเมืองนอกมาเปิดใหม่ คนแห่ไปซื้อ
ช่วงแรก ๆ ต่อแถวกันยาวมานอกห ้างเลย
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 38
Mr.LikeStock
การเปลี่ยนแปลงในอุปทาน
 ราคาปัจจัยการผลิตเปลี่ยนแปลง เช่น ราคาปัจจัยการผลิตก็คือ
ต ้นทุน ถ ้าต ้นทุนสูงขึ้น กาไรลดลง ผู้ผลิตจึงลดปริมาณการผลิต
อุปทานลด
 เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิต เช่น เทคโนโลยีก ้าวหน้ามากขึ้นทาให ้
ผลิตได ้ถูกลง หรือผลิตได ้มากขึ้น อุปทานมากขึ้น
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 39
Mr.LikeStock
การเปลี่ยนแปลงในอุปทาน (ต่อ)
 ราคาของสินค้าอื่นที่ใช้ปัจจัยการผลิตเดียวกัน เช่น ราคาข ้าว
ตกต่า ชาวนาจึงหันไปปลูกพืชเกษตรอื่น ๆ แทน
 การคาดการณ์ของผู้ผลิต เช่น ตอนราคายางดี ๆ คนแห่ปลูกยาก
อุปทานเลยออกมาเยอะ
 จานวนผู้ขาย เช่น Net idol แห่มาขายครีมมากขึ้น ผู้ขายมากรายขึ้น
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 40
Mr.LikeStock
การเปลี่ยนแปลงในอุปสงค์ – อุปทาน
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 41
ทาให้จุดดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไปด้วย
อุปสงค์มากขึ้น อุปทานลดลง
Mr.LikeStock
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
 กฎของอุปสงค์ – สินค ้าราคาสูงขึ้น ความต ้องการซื้อลดลง
 สินค ้าที่มีความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคามาก (Elastic)
 เช่น สินค้าฟุ่ มเฟือย น้าอัดลม ชาเขียว ราคาตั๋วภาพยนตร์
 สินค ้าที่หาทดแทนได ้ง่าย, สินค ้าคงทน
 ลูกค ้าให ้ความสาคัญกับราคามาก หากราคาแพงขึ้น ผู้ซื้อจะซื้อน้อยลง
 ปรับขึ้นราคาทาให้รายได้ลดลง
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 42
Mr.LikeStock
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ)
 สินค ้าที่มีความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาน้อย (Inelastic)
 เช่น สินค้าจาเป็ นในการดารงชีวิต ยารักษาโรค ไฟฟ้า
 ลูกค ้าไม่ค่อยให ้ความสาคัญกับราคาเท่าไหร่
 หากราคาแพงขึ้น ผู้ซื้อยังต ้องใช ้อยู่ดี
 ปรับขึ้นราคาทาให้รายได้เพิ่มขึ้น
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 43
Mr.LikeStock
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา
ความยืดหยุ่นสูง
 สินค ้าที่มีความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคามาก (Elastic)
 ราคาเพิ่มขึ้น ผู้ผลิตสามารถผลิตออกมาได ้เพิ่มขึ้น
 เช่น เสื้อผ ้า เพราะถ ้าราคาสูงขึ้นยิ่งจูงใจให ้อยากผลิตมาขายมากขึ้น
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 44
Mr.LikeStock
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (ต่อ)
ความยืดหยุ่นต่า
 สินค ้าที่มีความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคาน้อย (Inelastic)
 แม ้ราคาเพิ่มขึ้น ผู้ผลิตก็ไม่สามารถผลิตออกมาได ้มากอย่างที่ต ้องการ
 เช่น ข ้าว (ในกรณีขาดแคลน) ชาวนาก็อยากนามาขายมาก ๆ แต่ก็ทาได ้
ยากกว่าจะปลูกและเก็บเกี่ยว
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 45
Mr.LikeStock
ระบบเศรษฐกิจแบบปิด
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 46
ถ ้าเศรษฐกิจไม่ดี ประชาชนจะชะลอซื้อสินค ้าชนิดใด ?
ระหว่าง รถยนต์ กับ อาหาร
Mr.LikeStock
ปัจจัยที่กาหนดการบริโภคของภาคครัวเรือน
 ระดับรายได ้
 การคาดคะเนเหตุการณ์
 สินเชื่อเพื่อการบริโภค หนี้สินภาคครัวเรือน
 อัตราดอกเบี้ย – ดอกเบี้ยสูง จูใจให ้ออมมากขึ้น ใช ้จ่ายน้อยลง
 รสนิยม ค่านิยม
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 47
Mr.LikeStock
ผู้บริโภค กับ ผู้ผลิต
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 48
Mr.LikeStock
ภาคธุรกิจกับการลงทุน
 ภาคครัวเรือน บริโภค – ซื้อสินค ้า บริการ
 ภาคธุรกิจ เห็นช่องทางแสวงหากาไร โดยนาปัจจัยการผลิตต่าง ๆ
มาผลิตสินค ้าและบริการแล ้วมาจาหน่ายให ้ผู้บริโภค
 ผู้ผลิตอาจจะทาคนเดียวทั้งหมดไม่ไหว จึงมี ห่วงโซ่อุปทาน
(Supply Chain) เพื่อเชื่อมต่อการผลิตจากผู้ผลิตขั้นต ้นไปจนถึง
ผู้ผลิตขึ้นสุดท ้าย
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 49
Mr.LikeStock
การลงทุน
 สินค ้าขายดีขึ้น ผู้ผลิตอยากขยายโรงงาน = ต ้องลงทุนเพิ่ม
 การลงทุน (Investment) ในทางเศรษฐศาสตร์ จะหมายถึง การเพิ่ม
ปัจจัยการผลิตประเภททุน เช่น สร ้างโรงงาน โกดัง ซื้อเครื่องจักรใหม่
ซื้อวัตถุดิบมาเพื่อผลิตมากขึ้น มีสินค ้าคงเหลือไว ้รอขายมากขึ้น
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 50
Mr.LikeStock
ปัจจัยที่กาหนดการลงทุน
 ผลตอบแทนที่จะได ้รับ (Return)
 อัตราดอกเบี้ย – ดอกเบี้ยสูง ฝากเงินคุ้มกว่า ไม่อยากมาลงทุน
 ราคาปัจจัยการผลิต
 ความก ้าวหน้าของเทคโนโลยี
 นโยบายรัฐบาล และเสถียรภาพทางการเมือง
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 51
Mr.LikeStock
การลงทุนมีผลต่อเศรษฐกิจ ?
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 52
Mr.LikeStock
แหล่งเงินทุน
 ธนาคารและสถาบันการเงินเป็นแหล่งระดมเงินออมแล ้วนาไปให ้กู้เพื่อ
การลงทุนดาเนินธุรกิจ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 53
Mr.LikeStock
อัตราดอกเบี้ย
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 54
อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น
การบริโภคการลงทุน ลดลง
เศรษฐกิจชะลอตัว
อัตราดอกเบี้ยลดลง
การบริโภคการลงทุน เพิ่มขึ้น
เศรษฐกิจขยายตัว
Mr.LikeStock
รัฐบาล กับ ระบบเศรษฐกิจ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 55
Mr.LikeStock
รายได้ของรัฐบาล คือ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 56
ถ้าภาษีเพิ่มขึ้น จะส่งผลอย่างไรกับการบริโภค และการลงทุน ?
ถ้าภาษีลดลง จะส่งผลอย่างไรกับการบริโภค และการลงทุน ?
ภาษี (TAX) ถ้าไม่พอก็กู้เพิ่ม
Mr.LikeStock
การใช้จ่ายภาครัฐ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 57
การบริหารทั่วไปของรัฐ การศาสนา วัฒนธรรม
การป้องกันประเทศ การเศรษฐกิจ
การสิ่งแวดล ้อม
การสาธารณสุข
การศึกษา
Mr.LikeStock
การค้าระหว่างประเทศ
 ประเทศเราไม่ได ้มีทุกอย่าง แต่ละประเทศถนัดไม่เหมือนกัน
ทรัพยากรแตกต่างกัน จึงมีการค ้าขายระหว่างกัน
 ต ้องนาเข ้าน้ามัน เทคโนโลยี
 ไทยผลิตข ้าวได ้มาก จึงเหลือส่งออก
 การค ้าระหว่างประเทศ เป็น ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 58
Mr.LikeStock
สินค้าเข้าและสินค้าออก
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 59
Mr.LikeStock
เกินดุล ขาดดุล การค้า
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 60
ส่งออก มากกว่า นาเข้า
เกินดุลการค้า
ส่งออก น้อยกว่า นาเข้า
ขาดดุลการค้า
ขายสินค ้าไปต่างประเทศได ้ดี
มีเงินตราต่างประเทศเข ้าประเทศ
ขายสินค ้าไปต่างประเทศได ้น้อยกว่านาเข ้า
มีเงินตราต่างประเทศไหลออก
Mr.LikeStock
ค่าเงินบาท
 ค่าเงินบาทแข็งค่า (Baht Appreciation) หมายถึง เงินบาทมีค่า
มากขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลอื่น (เกิดจากความต ้องการเงินบาทมากขึ้น)
 เช่น จาก 1 USD = 35 THB เป็น 1 USD = 30 THB
 ค่าเงินบาทอ่อนค่า (Baht Depreciation) หมายถึง เงินบาทมีค่า
น้อยลงเมื่อเทียบกับสกุลอื่น (เกิดจากความต ้องการเงิน $ มากขึ้น)
 เช่น จาก 1 USD = 30 THB เป็น 1 USD = 33 THB
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 61
การลดค่าเงิน (devaluation)
ให ้ประเทศส่งออกได ้เพิ่มขึ้น
และนาเข ้าลดลง
Mr.LikeStock
วัฏจักรเศรษฐกิจ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 62ที่มา : สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI)
Mr.LikeStock
วัฏจักรเศรษฐกิจ
 เศรษฐกิจขยายตัว (Expansion / Recovery) เป็นช่วงที่การผลิต
และการจ ้างงานเริ่มเพิ่มขึ้น รายได ้และรายจ่ายของครัวเรือนสูงขึ้น ทิศ
ทางการลงทุนมีแนวโน้มดีขึ้น
 เศรษฐกิจรุ่งเรือง (Peak) ระบบเศรษฐกิจจะมีประสิทธิภาพสูงสุด
ทั้งการผลิตและการบริโภค เริ่มมีการขาดแคลนแรงงานและวัตถุดิบ
ต ้นทุนสูงขึ้น ระดับราคาสินค ้าสูงขึ้น ธุรกิจมีกาไรสูง
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 63
Mr.LikeStock
วัฏจักรเศรษฐกิจ (ต่อ)
 เศรษฐกิจถดถอย (Recession) กิจการทางเศรษฐกิจเริ่มลดลง
GDP และความต ้องการสินค ้าลดลง ขาดแคลนเงินทุนหมุนเวียน การ
ผลิตและการจ ้างงานลดลง
 เศรษฐกิจตกต่า (Trough) การว่างงานสูง ความต ้องการสินค ้าลดลง
ผลิตแล ้วขายไม่ได ้ กาไรของธุรกิจลดลง การขยายตัวทางธุรกิจต่า
หรือติดลบ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 64
Mr.LikeStock
วัฏจักรเศรษฐกิจ กับ กลุ่มอุตสาหกรรม
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 65ที่มา : สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI)
Mr.LikeStock
ดัชนีชี้วัดภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศ
 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ GDP
 อัตราเงินเฟ้อ (Inflation Rate)
 อัตราดอกเบี้ย (Interest Rate)
 อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate)
 อัตราการว่างงาน (Unemployment Rate)
 ราคาสินค ้าโภคภัณฑ์ เช่น น้ามัน ฯลฯ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 66
Mr.LikeStock
GDP (Gross Domestic Product)
 GDP คือ มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ เป็นการวัดมูลค่า
ของผลิตภัณฑ์ทั้งหมดของประเทศ ณ ช่วงเวลาหนึ่ง
 สะท ้อนถึงการขยายตัวของ เศรษฐกิจ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 67
GDP = C + I + G + (X – M)
C (Consumption) = การบริโภคภาคเอกชน
I (Investment) = การลงทุนภาคเอกชน
G (Government) = รายจ่ายของรัฐบาล
X-M (Net Export) = มูลค่าส่งออกสุทธิ
เศรษฐกิจจะดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับปัจจัยพวกนี้
Mr.LikeStock
ภาพรวมของ GDP
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 68
ที่มา : http://www.moneychimp.com/articles/econ/gdp_diagram.htm
Mr.LikeStock
เงินเฟ้ อ (Inflation)
 คือ ภาวะที่ระดับราคาสินค ้า
โดยทั่วไปเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง
 ข้าวของแพงขึ้น
 เงินที่มีอยู่จานวนเท่าเดิมมีค่า
ลดลง ต ้องใช ้เงินมากขึ้น
เพื่อให ้ไดสินค ้าเท่าเดิม
 การฝากเงินในธนาคารได ้
ดอกเบี้ย 1-2% ชนะเงินเฟ้อ
หรือไม่ ?
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 69
Mr.LikeStock
เงินเฟ้ อ (Inflation)
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 70ที่มา : จัดทัพลงทุนสู่อิสรภาพทางการเงิน
Mr.LikeStock
แนะนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 71
E-Book เศรษฐศาสตร์เล่มเดียวอยู่
เศรษฐศาสตร์ เป็นเรื่องใกล ้ตัวและ
ไม่ได ้ยากอย่างที่หลายคนเข ้าใจ
หนังสือเล่มนี้อธิบายถึงที่มาที่ไป
ของสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน
ด ้วยหลักทางเศรษฐศาสตร์
จาก ธนาคารแห่งประเทศไทย
http://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/Others/Documents/Book_Economic2555.pdf
http://goo.gl/WJC0Oh
Mr.LikeStock
# END STEP 1
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 72
Mr.LikeStock
การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน
Fundamental Analysis
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 73
4321
Mr.LikeStock
การวิเคราะห์กิจการ
 นอกจากจะอ่านงบและวิเคราะห์เชิงปริมาณ (ตัวเลข) แล ้วจาเป็นต ้อง
วิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) ประกอบด ้วย
 ไม่สามารถวัดค่าออกมาได ้ง่าย เช่น
 ความสามารถของผู้บริหาร ประวัติการทางาน ประสบการณ์
 ความได ้เปรียบทางธุรกิจ อานาจการต่อรอง
 ความมีชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์ ความภักดีในตราสินค ้า (Brand Loyalty)
 การแข่งขันในอุตสาหกรรม ภาวะทางเศรษฐกิจ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 74
Mr.LikeStock
จุดแข็ง
ข ้อได ้เปรียบที่เกิดจาก
สภาพแวดล ้อมภายใน
บริษัท ความเข ้มแข็ง
ความสามารถ และ
ศักยภาพขององค์กร
จุดอ่อน
ข ้อเสียเปรียบที่เกิด
จากสภาพแวดล ้อม
ภายในบริษัท ข ้อด ้อย
ข ้อจากัด ความไม่
พร ้อมขององค์กร
โอกาส
ปัจจัยสภาพแวดล ้อม
ภายนอกที่เป็นประโยชน์
หรือส่งเสริมการ
ดาเนินงานของบริษัท
อุปสรรค
ปัจจัยสภาพแวดล ้อม
ภายนอกที่เป็นปัญหา
หรือข ้อจากัดของ
บริษัท
การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ SWOT
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 75
Mr.LikeStock
S จุดแข็ง (Strengths)
 ข ้อได ้เปรียบที่เกิดจากสภาพแวดล ้อม
ภ า ย ใ น บ ริ ษั ท ค ว า ม เ ข ้ม แ ข็ ง
ความสามารถ และศักยภาพขององค์กร
 เช่น ผลิตด ้วยต ้นทุน ที่ถูกกว่า มี
เทคโนโลยีที่ทันสมัย ช่องทางการ
จาหน่ายแพร่หลาย ตราสินค ้าเป็นที่รู้จัก
พนักงานที่มีความสามารถ ฐานะการเงิน
ที่แข็งแกร่ง เป็นต ้น
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 76
Mr.LikeStock
W จุดอ่อน (Weaknesses)
 ข ้อเสียเปรียบที่เกิดจากสภาพแวดล ้อม
ภายในบริษัท ข ้อด ้อยข ้อจากัด ความ
ไม่พร ้อมขององค์กร
 เช่น การจัดการที่ยังไม่มีประสิทธิภาพ
ช่องทางการจาหน่ายไม่แพร่หลาย ตรา
สินค ้ายังไม่เป็ นที่รู้จัก พนักงานขาด
ความชานาญ ฐานะการเงินอ่อนแอ เป็น
ต ้น บริษัทควรเร่งพัฒนาแก ้ไขจุดอ่อน
เหล่านี้
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 77
Mr.LikeStock
O โอกาส (Opportunities)
 ปัจจัยสภาพแวดล ้อมภายนอกที่เป็ น
ประโยชน์หรือส่งเสริมการดาเนินงาน
ของบริษัท
 เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร ้าง
ประชากร การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ของผู้บริโภค การขยายตัวของเมือง
ตลาดการค ้าใหม่ๆ นโยบายการส่งเสริม
จากภาครัฐ เป็นต ้น ดังนั้น บริษัทควรใช ้
โอกาสนี้เพื่อก่อให ้เกิดประโยชน์สูงสุด
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 78
Mr.LikeStock
T อุปสรรค (Threats)
 ปัจจัยสภาพแวดล ้อมภายนอกที่เป็ น
ปัญหาหรือข ้อจากัดของบริษัท
 เช่น ต ้นทุนวัตถุดิบสูงขึ้น การขาด
แคลนวัตถุดิบ การเปลี่ยนแปลงทาง
เทคโนโลยี สินค ้าทดแทน ภาวะ
เ ศ ร ษ ฐ กิจ ซ บ เ ซ า ข ้อ จ า กั ด ข อ ง
กฎหมายใหม่ เป็ นต ้น ซึ่งบริษั ทไม่
สามารถควบคุมได ้ แต่จาเป็ นต ้อง
ปรับตัวให ้พร ้อมสาหรับอุปสรรคต่างๆ ที่
เกิดขึ้น เพื่อไม่ให ้เกิดความเสียหายแก่
บริษัท
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 79
Mr.LikeStock
Five Force Model
 Five Force Model ของ ไมเคิล อี พอร์เตอร์ เป็นการวิเคราะห์
สภาวะการดาเนินงานขององค์กรธุรกิจจะขึ้นอยู่กับสภาวะการแข่งขัน
ในอุตสาหกรรม 5 ด ้าน
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 80
Mr.LikeStock
1. การคุกคามจากคู่แข่งรายใหม่
การคุกคามจากคู่แข่งรายใหม่ (Threat of New Entrants)
 การเข ้าสู่อุตสาหกรรมของคู่แข่งรายใหม่จะทาให ้เกิดการแข่งขันที่
สูงขึ้นในอุตสาหกรรม
 ข ้อจากัดในการเข ้าสู่อุตสาหกรรมของคู่แข่งรายใหม่ เช่น
 การประหยัดจากขนาด (Economics of Scale)
 ต ้นทุนในการเปลี่ยนไปใช ้สินค ้าอื่น (Switching Costs)
 เป็นธุรกิจที่ใช ้เงินลงทุนมาก
 การเข ้าถึงช่องจัดจาหน่าย
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 81
Mr.LikeStock
2. อานาจการต่อรองของลูกค้า
อานาจการต่อรองของลูกค ้า (Bargaining Power of Customers)
 ได ้แก่ ลูกค ้ามีตัวเลือกให ้การซื้อที่มาก ลูกค ้าที่ซื้อปริมาณมาก
 หากลูกค ้าของเราเกิดปัญหาหรือยกเลิกคาสั่งซื้อ
 บางธุรกิจที่ลูกค ้าเป็ นบริษัทที่ใหญ่กว่ามาก เช่น บริษัทผลิตชิ้นส่วน
อุปกรณ์รถยนต์ แน่นอนค่ายรถยนต์ใหญ่กว่ามาก
 ลูกค ้ามีอานาจการต่อรองต่า ได ้แก่ ลูกค ้ามีตัวเลือกให ้การซื้อที่น้อย
เป็นลูกค ้ารายย่อยเมื่อเทียบกับกิจการ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 82
Mr.LikeStock
3. อานาจการต่อรองของผู้ขาย
อานาจการต่อรองของผู้ขาย (Bargaining Power of Suppliers)
 ผู้ขายมีอานาจการต่อรองสูง ได ้แก่
 มีผู้ขายสินค ้าหรือวัตถุดิบน้อยราย
 การรวมตัวกันของผู้ขาย
 เป็นวัตถุดิบที่ไม่มีสิ่งอื่นมาทดแทน
 ต ้องอาศัยเทคโนโลยีของผู้ผลิต
 สินค ้าขาดตลาด
 มีแบรนด์ (Brand) เป็นที่นิยม
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 83
Mr.LikeStock
4. การคุกคามจากสินค้าทดแทน
การคุกคามจากสินค ้าทดแทน (Threat of Substitute Products or
Services)
 ปัจจัยที่ทาให ้เกิดสินค ้าทดแทน ได ้แก่
 ต ้นทุนสินค ้าที่ถูกลง
 คุณภาพสินค ้าทดแทนดีกว่า
 พฤติกรรมบริโภคที่เปลี่ยนไป
 เช่น กล ้องดิจิทัลมาแทนกล ้องใช ้ฟิล์ม
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 84
Mr.LikeStock
5. การแข่งขันภายในอุตสาหกรรม
การแข่งขันภายในอุตสาหกรรม (Rivalry Among Existing
Competitors)
 ภาวะอุตสาหกรรมที่มีการแข่งขันอย่างรุนแรง (Red Ocean) ไม่ส่งผล
ดีต่อธุรกิจ
 ปัจจัยที่เป็นตัวกาหนดความรุนแรงของการแข่งขันนั้น ได ้แก่
 จานวนคู่แข่งขันและขนาดของคู่แข่ง ยิ่งคู่แข่งมากยิ่งแข่งกันรุนแรง
 การเติบโตของอุตสาหกรรม (Industrial Growth) ถ ้าอุตสาหกรรมยังคง
เติบโต การแข่งขันจะไม่รุนแรงมากนัก
 การเข ้ามาของคู่แข่งรายใหม่
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 85
Mr.LikeStock
Tip
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 86
เคล็ดลับหนึ่งที่ทาให ้ วอร์เรน บัฟเฟตต์
ประสบความสาเร็จคือ ลงทุนในกิจการที่มี
ความได ้เปรียบในการแข่งขันอย่างถาวร
(Durable Competitive Advantage - DCA)
ซึ่งจะสามารถทากาไรได ้อย่างยั่งยืน
Mr.LikeStock
วงจรชีวิตของอุตสาหกรรม (Industry Life Cycle)
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 87ที่มา : สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI)
Mr.LikeStock
ระยะบุกเบิก
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 88ที่มา : สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI)
Mr.LikeStock
ระยะเติบโต
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 89ที่มา : สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI)
Mr.LikeStock
ระยะขยายตัว
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 90ที่มา : สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI)
Mr.LikeStock
ระยะเสื่อมถอย
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 91ที่มา : สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI)
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 92
ค ้นหาหุ้นดี ด ้วยปัจจัยพื้นฐาน - TSI
https://www.youtube.com/watch?v=4trbfn4IhC0
Mr.LikeStock
BCG Matrix
 BCG คือ The Boston Consulting Group เป็นการวิเคราะห์
ความสามารถในการทากาไรของของผลิตภัณฑ์หรือบริษัท
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 93
Mr.LikeStock
Stars (กลุ่มดาวรุ่ง)
 ธุรกิจที่มีส่วนแบ่งตลาดสูง อัตราการเติบโตสูง ธุรกิจมีกาไรสูง
 เกิดจากตลาดเติบโตอย่างรวดเร็วและส่วนแบ่งการตลาดที่มาก บริษัท
อยู่ในช่วงการเติบโต ขยายตลาด หรือลงทุนเพิ่ม มีความจาเป็ นต ้อง
ใช ้เงินสดค่อนข ้างมาก
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 94
Star
Mr.LikeStock
Cash Cows (กลุ่มวัวให้นม)
 ได ้แก่ ธุรกิจที่มีส่วนแบ่งตลาดสูง อัตราการเติบโตต่าหรือตลาดอยู่ใน
จุดอิ่มตัว
 ยังสามารถทาเงินให ้กับธุรกิจได ้สูงอยู่ และมีเงินสดเหลืออยู่มาก
เพราะตลาดเติบโตน้อย และอาจนาเงินสดไปลงทุนในธุรกิจอื่น
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 95
Cashcow
$
Mr.LikeStock
Question Marks (กลุ่มเครื่องหมายคาถาม)
 ได ้แก่ ธุรกิจที่มีส่วนแบ่งตลาดต่าในตลาดที่มีอัตราการเติบโตสูง
 มักเป็ นธุรกิจในช่วงเริ่มเข ้าสู่ตลาด หรือมีผู้นาตลาดอยู่แล ้ว จึงเป็ น
โอกาสในการขยายการลงทุนเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งตลาด จุดมุ่งหมายของ
Question Marks ก็คือการเป็น Stars ให ้ได ้
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 96
Question
Mark
?
Mr.LikeStock
Dogs (กลุ่มสุนัข)
 ได ้แก่ ธุรกิจที่มีส่วนแบ่งตลาดต่า อัตราการเติบโตต่า ธุรกิจกาไรได ้
น้อยหรือขาดทุน ขีดความสามารถต่า
 ธุรกิจที่อยู่ในกลุ่มนี้ต ้องพัฒนาปรับปรุง หรือตัดส่วนที่ไม่กาไรออก
เพื่อไปสู่ตาแหน่งอื่นให ้ได ้
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 97
Dog
Mr.LikeStock
กลุ่มอุตสาหกรรม
 หุ้นในตลาดหลักทรัพย์แบ่งออกเป็นหมวด ๆ ตามอุตสาหกรรม
 ทาให ้สามารถสะท ้อนภาพของอุตสาหกรรมต่างๆ ได ้ชัดเจนยิ่งขึ้น
 บริษัทที่อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรม หรือ หมวดธุรกิจเดียวกัน จะมี
ลักษณะการประกอบธุรกิจที่ใกล ้เคียงกัน ทาให ้วิเคราะห์ได ้ง่ายขึ้น
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 98
8 กลุ่มอุตสาหกรรม
27 หมวดธุรกิจ
Mr.LikeStock
8 อุตสาหกรรม
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 99
Mr.LikeStock
AGRO เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 100
AGRO
AGRI
FOOD
ธุรกิจการเกษตร
เช่น STA, GFPT
อาหารและเครื่องดื่ม
เช่น CPF, MINT, TUF, M, OISHI
Mr.LikeStock
CONSUMP สินค้าอุปโภคบริโภค
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 101
CONSUMP
FASHION
HOME
PERSON
แฟชั่น
เช่น SABINA, JUBILE
ของใช้ในครัวเรือนและสานักงาน
เช่น MODERN, SITHAI
ของใช้ส่วนตัวและเวชภัณฑ์
เช่น DSGT
Mr.LikeStock
FINCIAL ธุรกิจการเงิน
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 102
FINCIAL
BANK
FIN
INSUR
ธนาคาร
เช่น BBL, SCB, KBANK, KTB
เงินทุนและหลักทรัพย์
เช่น KTC, TK, MBKET, JMT
ประกันภัยและประกันชีวิต
เช่น BLA, BKI, THRE, TIP
Mr.LikeStock
INDUS สินค้าอุตสาหกรรม
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 103
INDUS
AUTO
IMM
PAPER
PETRO
PKG
STEEL
ยานยนต์ เช่น SAT, AH, TRU, STANLY
วัสดุอุตสาหกรรมและเครื่องจักร เช่น SNC, KKC
กระดาษและวัสดุการพิมพ์ เช่น UTP
ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ เช่น PTTGC, IVL, GC
บรรจุภัณฑ์ เช่น CSC, AJ, PTL
เหล็ก เช่น SSI, GJS, TMT, PAP
Mr.LikeStock
PROPCON อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 104
PROPCON
CONMAT
CONS
PF&REIT
PROP
วัสดุก่อสร้าง
เช่น SCC, SCCC, DCC, TASCO
บริการรับเหมาก่อสร้าง
เช่น CK, ITD, STEC
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และ
กองทรัสต์ เช่น CPNRF, IMPACT
พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
เช่น SPALI, LPN, PS, LH, AMATA
Mr.LikeStock
RESOURC ทรัพยากร
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 105
RESOURC
ENERG
MINE
พลังงานและสาธารณูปโภค
เช่น PTT, BANPU, RATCH, EASTW
เหมืองแร่
เช่น PDI
Mr.LikeStock
SERVICE บริการ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 106
SERVICE
COMM
HELTH
MEDIA
PROF
TOURISM
TRANS
พาณิชย์ เช่น CPALL, OFM, BJC, MC
การแพทย์ เช่น BGH, BH, VIBHA
สื่อและสิ่งพิมพ์ เช่น GRAMMY, RS, WORK
บริการเฉพาะกิจ เช่น BWG, GENCO
การท่องเที่ยวฯ เช่น CENTEL, ERW
ขนส่งและโลจิสติกส์ เช่น BTS, THAI, AAV, TTA
Mr.LikeStock
TECH เทคโนโลยี
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 107
TECH
ETRON
ICT
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
เช่น KCE, SVI, DELTA, HANA
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เช่น ADVANC, DTAC, SYMC, PT
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 108
เริ่ม 8 มกราคม 2558
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 109
รู้จักธุรกิจ เพิ่มโอกาสลงทุน - TSI
http://www.youtube.com/watch?v=PUJgA-4iEXw
Mr.LikeStock
ทาความเข้าใจหุ้นโดยอ่าน 56-1
 แบบ 56 - 1 คือ เป็ นรายงานที่บริษัทจัดทาขึ้นเพื่อแสดงถึงข ้อมูล
ต่างๆ ของกิจการ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในรอบปี (จัดทาปี
ละ 1 ครั้ง)
 เนื้อหาสาคัญๆ ที่ควรต ้องอ่าน ได ้แก่
 การประกอบธุรกิจ
 โครงสร ้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท
 ลักษณะการประกอบธุรกิจ
 โครงสร ้างรายได ้การตลาดและการแข่งขัน
 ปัจจัยความเสี่ยง
 ทรัพย์สินที่ใช ้ในการประกอบธุรกิจ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 110
Mr.LikeStock
วิธีการดาวน์โหลด 56-1 (วิธีที่ 1)
 ไปยังเว็บไซต์ www.set.or.th แล ้วใส่ชื่อหุ้นที่ต ้องการ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 111
Mr.LikeStock
วิธีการดาวน์โหลด 56-1 (วิธีที่ 1)
 เลือก บริษัท/หลักทรัพย์ แล ้วเลือก แบบ 56-1
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 112
Mr.LikeStock
วิธีการดาวน์โหลด 56-1 (วิธีที่ 2)
 เว็บไซต์ ก.ล.ต. www.sec.or.th
 แล ้วเลื่อนมาล่าง ๆ หน่อย
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 113
http://market.sec.or.th/public/idisc/FinancialStatement.aspx?lang=th&reportcode=PP06&ReportType=02
Mr.LikeStock
วิธีการดาวน์โหลด 56-1 (วิธีที่ 2)
 เลือก ประเภทรายงาน 56-1 ใส่ชื่อย่อหุ้น เลือกเวลา แล ้วค ้นหา
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 114
Mr.LikeStock
Opportunity Day
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 115
http://www.dcs-digital.com/setweb/
Mr.LikeStock
บทวิเคราะห์
 จากเว็บไซต์
 www.settrade.com
 หน้า IAA Consensus
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 116
Mr.LikeStock
CG Rating
 ควรดู ธรรมาภิบาลของบริษัท ความโปร่งใสของผู้บริหาร ซึ่งทาง
สานักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ ก็ได ้มีการประเมินเป็ น
คะแนน ที่เรียกว่า CG Rating
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 117
Score
Range
Number of Logo Description
90 – 100 Excellent
80 – 89 Very Good
70 – 79 Good
60 – 69 Satisfactory
50 – 59 Pass
50 Logo N/A N/A
Mr.LikeStock
แนะนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม
 E-Book รู้จักสไตล์หุ้น…เพื่อเลือกลงทุนให ้โดนใจ
 โดย ศิริพร สุวรรณการ
 ระดับความยาก 
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 118
มาทาความรู้จักกับหุ้นสไตล์ต่างๆ ไม่ว่า
จะเป็ นหุ้นเติบโต หุ้นคุณค่า หุ้นปันผล
หุ้นเล็ก หรือจะเป็ นหุ้นใหญ่ หากคุณ
เข ้าใจและรู้ว่าหุ้นในตลาดตัวใดเป็ น
สไตล์แบบที่คุณชอบ คุณก็จะสามารถ
เลือกลงทุนได ้อย่างตรงใจ
www.mrlikestock.com/freebook2/
หนังสือดี ๆ อ่านฟรี # 2 (ดาวน์โหลดฟรี)
Mr.LikeStock
แนะนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม
E-Book การวิเคราะห์หลักทรัพย์โดยใช ้ปัจจัยพื้นฐาน
http://www2.bualuang.co.th/le/help/kw/ebook003.pdf
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 119
Mr.LikeStock
# END STEP 2
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 120
Mr.LikeStock
งบการเงินกับการลงทุน
Financial Statement for Investment
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 121
4321
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 122
งบแบบนี้มันดี
เปล่านะ มี
อะไรซ่อน
หรือเปล่า
เราไม่จาเป็ นต้องรู้ว่าบัญชี
เค้าทากันอย่างไร หน้าที่
ของนักลงทุนคือ “ต้อง
อ่านให้เป็ น !”
อ่านงบ
ยาก
หรือไม่ ?
Mr.LikeStock
เกริ่นนางบการเงิน
 งบการเงิน คือ สิ่งที่สามารถบ่งบอกถึงสภาพของกิจการได ้
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 123
ร่างกาย
ตรวจสุขภาพ
รายงานสุขภาพ
กิจการ
จัดทาบัญชี
งบการเงิน
ทาให ้ทราบถึงสภาพ
ข อ ง กิจ ก า ร ซึ่ง เ ป็ น
ข ้อมูล ณ ปั จจุบันและ
อดีตที่ผ่านมา
แต่ในอนาคตอาจจะดี
หรือแย่กว่านี้ก็เป็ นได ้เช่น
หาก กิจการ ยังมีรายได ้
น้อยกว่าค่าใช ้จ่าย ถ ้าทา
การปรับปรุงการจัดการให ้
ดีขึ้น ลดค่าใช ้จ่าย ก็จะ
กลับมามีกาไรได ้
Mr.LikeStock
งบการเงินคืออะไร ?
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 124
งบการเงิน (Financial Statements)
จุดมุ่งหมายของงบการเงิน
• รายงานทางการเงินและบัญชีของกิจการ
• นาเสนอฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน
• แสดงถึงผลการบริหารของฝ่ ายบริหาร
• ผลกระทบทางการเงินในอดีตและอนาคต
Mr.LikeStock
ข้อจากัดของการวิเคราะห์งบการเงิน
 ข ้อมูลบางรายการในงบการเงินยังไม่ได ้เป็นมูลค่าปัจจุบัน
 ที่ดินที่ซื้อไว ้นานแล ้วมูลค่าปัจจุบันจะสูงกว่าที่แสดงในงบการเงิน
 การรับรู้รายได ้และค่าใช ้จ่ายแต่ละบริษัทขึ้นอยู่กับนโยบายทางบัญชี
 ข ้อมูลในงบการเงินบางรายการเกิดจากการประมาณการ
 เช่น การประมาณการรับรู้รายได ้ต ้นทุน การตัดค่าเสื่อมราคา
 ข ้อมูลเชิงคุณภาพบางอย่าง ก็ไม่ได ้แสดงในงบการเงิน
 ความสามารถของผู้บริหาร ความซื่อสัตย์ วิสัยทัศน์
 ชื่อเสียงของธุรกิจ ความภักดีในตราสินค ้า (Brand Loyalty)
 งบการเงินเป็นข ้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีต
 ไม่สามารถนาการวิเคราะห์มาพยากรณ์อนาคตได ้ 100%
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 125
Mr.LikeStock
Tip
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 126
งบการเงินเป็ นข้อมูลในอดีตไม่สามารถบอก
อนาคตได้ 100% และข้อมูลบางอย่างก็ไม่ได้
อยู่ในงบการเงิน ดังนั้นจึงควรวิเคราะห์ปัจจัยเชิง
คุณภาพประกอบด้วย
Mr.LikeStock
งบการเงินของกิจการจะประกอบด ้วย 5 ส่วน ดังนี้
1. งบแสดงฐานะการเงิน
(Statement of Financial Position)
2. งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
(Comprehensive Profit and Loss Statement)
3. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของเจ้าของ
(Statement of Changes Equity)
4. งบกระแสเงินสด
(Cash Flow Statement)
5. หมายเหตุประกอบงบการเงิน
(Notes to Financial Statement)
ส่วนประกอบของงบการเงิน
127เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 128
ส่วนประกอบของงบการเงิน
งบดุล : บอกให ้ทราบถึงสถานะของกิจการ
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ ้าของ (ทุน)
งบกาไรขาดทุน : บอกให ้ทราบผลการดาเนินงาน
รายได ้ – ค่าใช ้จ่าย = กาไร (ขาดทุน)
งบกระแสเงินสด : บอกถึงเงินสดที่หมุนเวียน
จากกิจกรรมดาเนินงาน, ลงทุน, การจัดหา
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
การเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ ้าของ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายละเอียดเพิ่มเติม เกณฑ์การจัดทางบ
สนใจเข ้าร่วมสัมมนากับ Mr.LikeStock www.MrLikeStock.com/go/course/
Mr.LikeStock
รอบระยะเวลาบัญชี
 งบแสดงฐานะการเงิน จะเป็นงบการเงินที่แสดง ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง
 งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จและงบกระแสเงินสด เป็ นงบการเงินที่แสดงใน
ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 129
วันที่ 1 มกราคม วันที่ 31 มีนาคม
รอบระยะเวลา 1 ไตรมาส
งบดุลต ้นงวด งบดุลท ้ายงวด
งบกาไรขาดทุน
งบกระแสเงินสด
Mr.LikeStock
งบแสดงฐานะการเงิน
 หรือในชื่อเดิมว่า งบดุล (Balance Sheet)
 หมายถึง งบการเงินที่แสดงข ้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินของกิจการ ณ
วันใดวันหนึ่ง แบ่งเป็น 3 ส่วน เขียนเป็นสมการทางบัญชีได ้ดังนี้
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 130
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ
สินทรัพย์
- เงินสด
10,000
- ร ้านค ้า
40,000
- อุปกรณ์
50,000
หนี้สิน
- กู้ธนาคาร
40,000
ส่วนของ
เจ้าของ
- ทุนนายขนม
30,000
- ทุนนายปัง
30,000
ฝั่งซ ้าย = ฝั่งขวา
100,000 = 100,000
Mr.LikeStock
สินทรัพย์ (Asset)
 หมายถึง ทรัพยากรที่มีอยู่ในความควบคุมของกิจการ ทรัพยากร
ดังกล่าวเป็ นผลของเหตุการณ์ในอดีต ซึ่งกิจการคาดว่าจะได ้รับ
ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้นในอนาคต
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 131
อยู่ในความควบคุมของกิจการ
ผลของเหตุการณ์ในอดีต
ได้รับประโยชน์ในอนาคต
สินทรัพย์ (Asset)
Mr.LikeStock
1. สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) หมายถึง สินทรัพย์ที่มีสภาพ
คล่องสูงสามารถแปลงเป็นเงินสดได ้รวดเร็ว ถือไว ้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
การค ้า ที่คาดว่าจะได ้รับประโยชน์ภายในระยะสั้น ไม่เกิน 1 ปี
เช่น เงินสดหรือเทียบเท่า ลูกหนี้การค ้า สินค ้าคงเหลือ ฯลฯ
2. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Non-Current Assets) หมายถึง สินทรัพย์ที่
กิจการมีไว ้ในครอบครองในระยะยาว เกินกว่า 1 ปี รวมถึงสินทรัพย์ที่มี
ตัวตน และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
เช่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ลิขสิทธิ์ สัมปทาน ฯลฯ
สินทรัพย์ (Asset)
132เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน
Mr.LikeStock
สินทรัพย์ (Asset)
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 133
สินทรัพย์หมุนเวียน
 เงินสดหรือเทียบเท่า
 เงินลงทุนชั่วคราว
 ลูกหนี้การค ้า
 เงินให ้กู้ยืมระยะสั้น
 สินค ้าคงเหลือ
 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
 เงินลงทุนระยะยาว
 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
 สินทรัพย์อื่น
การเรียงลาดับรายการสินทรัพย์ จะเรียงตามสภาพ
คล่องในการเปลี่ยนเป็นเงินสดได ้เร็ว หรือมีสภาพคล่องสูง
ก่อนไปเรื่อย ๆ
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 134
สินทรัพย์หมุนเวียน
เงินสดหรือเทียบเท่า
เงินสดที่กิจการมีอยู่ในมือ เงินฝากธนาคารที่สามารถ
นามาใช ้ได ้ทันที เช็ค ดราฟต์ ตั๋วแลกเงิน หรือรายการ
เทียบเท่าที่สามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได ้ทันที
เงินลงทุนชั่วคราว
เงินที่กิจการนาไปลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูงหรือ
หลักทรัพย์ในความต ้องการของตลาด เพื่อหวังดอกผลหรือ
กาไรจากการลงทุนนั้น เช่น หลักทรัพย์เพื่อค ้า หลักทรัพย์
เผื่อขาย ตราสารหนี้ที่จะครบกาหนดภายใน 1 ปี
ลูกหนี้การค้า
เงินที่ลูกค ้าค ้างชาระค่าสินค ้าหรือบริการ
(ลูกค ้าเป็นหนี้กิจการเรา)
เงินให้กู้ยืมระยะสั้น เงินให ้กู้ยืมระยะสั้นแก่บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข ้องกัน
สินค้าคงเหลือ
สินค ้าที่กิจการมีไว ้เพื่อขาย หรือเป็ นสินค ้าที่อยู่ระหว่างการ
ผลิต เช่น งานระหว่างทา วัตถุดิบ วัสดุต่าง ๆ เพื่อใช ้ในการ
ผลิตสินค ้า
สินทรัพย์หมุนเวียน
อื่น
 ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า หมายถึง เงินที่กิจการได ้จ่าย
ไปก่อนเพื่อได ้รับสินค ้าและบริการในอนาคต
เช่น ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า
 รายได้ค้างรับ หมายถึง รายได ้ที่เกิดขึ้นแล ้วแต่กิจการ
ยังไม่ได ้รับชาระเงิน
เช่น ค่าเช่าค ้างรับ ค่าบริการค ้างรับ
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 135
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
เงินลงทุนระยะยาว
เงินลงทุนที่กิจการมีความต ้องการที่จะลงทุนระยะยาว
(เกินกว่า 1 ปี) เช่น เงินลงทุนในตราสารหนี้ ตราสารทุน
ที่ดิน อาคารและ
อุปกรณ์
สินทรัพย์ที่มีตัวตนที่กิจการมีไว ้เพื่อใช ้ประโยชน์ในการ
ดาเนินงาน ระยะเวลามากกว่า 1 ปี ได ้แก่
 ที่ดิน เป็ นสินทรัพย์ที่มีอายุการใช ้งานไม่จากัด ไม่
ต ้องคิดค่าเสื่อมราคา
 อาคารและอุปกรณ์ เช่น เครื่องจักรต่าง ๆ เป็ น
สินทรัพย์ที่มีอายุการใช ้งานจากัด จึงต ้องมีการคิดค่า
เสื่อมราคาตลอดอายุการใช ้งาน
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
สินทรัพย์ที่ไม่มีรูปร่าง จับต ้องไม่ได ้ เช่น สิทธิบัตร
ลิขสิทธิ์ สัมปทาน ค่าความนิยม โปรแกรมคอมพิวเตอร์
สินทรัพย์อื่น สินทรัพย์อื่นที่ไม่อยู่ในรายการข ้างต ้น
สินทรัพย์หมุนเวียน + สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน = สินทรัพย์รวม
Mr.LikeStock
หนี้สิน (Liabilities)
 หมายถึง ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการ ภาระผูกพันดังกล่าวเป็ น
ผลของเหตุการณ์ในอดีต ซึ่งการชาระภาระผูกพันนั้นคาดว่าจะส่งผล
ให ้กิจการสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 136
ภาระผูกพันในปัจจุบัน
ผลของเหตุการณ์ในอดีต
สูญเสียทรัพยากรในอนาคต
หนี้สิน (Liabilities)
Mr.LikeStock
หนี้สิน แบ่งได ้2 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้
1. หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) หมายถึง หนี้สินระยะ
สั้นที่ต ้อง ชาระภายใน 1 ปี
เช่น เงินเบิกเกินบัญชี เจ ้าหนี้การค ้า ค่าใช ้จ่ายค ้างจ่าย ฯลฯ
2. หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non-Current Liabilities) หมายถึง
หนี้สินระยะยาวที่ต ้องจ่าย ชาระเกินกว่า 1 ปี
เช่น เงินกู้ยืมระยะยาว หุ้นกู้ฯลฯ
หนี้สิน (Liabilities)
137เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน
Mr.LikeStock
หนี้สิน (Liabilities)
138เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน
หนี้สินหมุนเวียน
 เงินเบิกเกินบัญชีและเงิน
กู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร
 เจ ้าหนี้การค ้า
 ตั๋วเงินจ่าย
 เงินปันผลค ้างจ่าย
 เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึง
กาหนดชาระภายใน 1 ปี
 หนี้สินหมุนเวียนอื่น
หนี้สินไม่หมุนเวียน
 เงินกู้ยืมระยะยาว
 หุ้นกู้ระยะยาว
 หนี้สินภาระผูกพัน
ผลประโยชน์พนักงาน
 หนี้สินอื่น
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 139
หนี้สินหมุนเวียน
เงินเบิกเกินบัญชีและเงิน
กู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร
เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืม
ระยะสั้นจากธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินอื่น
เจ้าหนี้การค้า
หนี้สินหรือภาระผูกพัน ที่กิจการจะต ้องชาระให ้แก่เจ ้าหนี้
ที่เกิดจากการซื้อสินค ้าหรือบริการ
(บุคคลอื่นเป็นเจ ้าหนี้กิจการเรา)
ตั๋วเงินจ่าย
ตั๋วเงินที่กิจการได ้จ่ายออกไปเพื่อชาระค่าสินค ้าหรือ
บริการ เช่น ตั๋วแลกเงินหรือเช็คสั่งจ่ายล่วงหน้า มีกาหนด
ระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี
เงินปันผลค้างจ่าย
เงินปันผลที่ประกาศจ่ายไปแล ้วแต่ยังไม่ได ้จ่ายให ้แก่ผู้ถือ
หุ้น ณ วันปิดงวดบัญชี
เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึง
กาหนดชาระภายใน 1 ปี
เงินกู้ยืมระยะยาวเฉพาะในส่วนที่ถึงกาหนดชาระคืน
ภายในรอบระยะเวลา 1 ปี ต่อจากนี้
หนี้สินหมุนเวียนอื่น
 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หมายถึง ค่าใช ้จ่ายต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้นแล ้วแต่กิจการยังไม่ได ้จ่ายชาระเงิน เช่น
ค่าแรงค ้างจ่าย ดอกเบี้ยค ้างจ่าย
 รายได้รับล่วงหน้า หมายถึง รายได ้จากค่าสินค ้าหรือ
ค่าบริการที่กิจการได ้รับไว ้ล่วงหน้าจากลูกค ้า เป็ น
ภาระผูกพันที่กิจการต ้องมองสินค ้าหรือให ้บริการใน
อนาคต เช่น รายได ้ค่าเช่ารับล่วงหน้า
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 140
หนี้สินไม่หมุนเวียน
เงินกู้ยืมระยะยาว
เงินกู้ยืมจากบุคคลภายนอกหรือสถาบันการเงิน ที่มี
ระยะเวลาในการชาระคืนเกินกว่า 1 ปี
หุ้นกู้ระยะยาว
หุ้นกู้ที่ออกโดยกิจการและมีระยะเวลามากกว่า 1 ปี
หนี้สินภาระผูกพัน
ผลประโยชน์พนักงาน
หนี้สินผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน
หนี้สินอื่น
หนี้สินอื่นที่ไม่อยู่ในรายการข ้างต ้น เช่นเงินเงินกองทุน
สารองเลี้ยงชีพ
หนี้สินหมุนเวียน + หนี้สินไม่หมุนเวียน = หนี้สินรวม
Mr.LikeStock
ส่วนของเจ้าของ (Owner’s Equity)
 หมายถึง ส่วนของเจ ้าของกิจการที่มีสิทธิหรือส่วนได ้เสียคงเหลือใน
สินทรัพย์ของกิจการภายหลังหักหนี้สินออกแล ้ว “สินทรัพย์สุทธิ”
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 141
สินทรัพย์
หักออกด้วย
หนี้สิน
ส่วนของเจ้าของ (Equity)
Mr.LikeStock
ส่วนของเจ้าของ (Owner’s Equity)
 ส่วนของเจ ้าของ ประกอบไปด ้วย
1. ทุนเรือนหุ้น (Share Capital) หมายถึง การนาเงินมาลงทุนของ
เจ ้าของกิจการ
2. กาไร(ขาดทุน)สะสม (Retained Earnings) หมายถึง กาไร
สะสมส่วนที่ไม่ได ้จ่ายเป็ นเงินปันผลให ้กับผู้ถือหุ้น เป็ นกาไรที่
กิจการสะสมไว ้ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งกิจการ
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 142
ประเภทกิจการ ชื่อเรียก
กิจการเจ ้าของคนเดียว ส่วนของเจ ้าของ (Owner’s Equity)
กิจการห ้างหุ้นส่วน ส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน (Partner’s Equity)
บริษัทจากัดหรือบริษัทมหาชน ส่วนของผู้ถือหุ้น (Shareholder’s Equity)
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 143
ทุนเรือนหุ้น
ทุนจดทะเบียน
ทุนที่กิจการไปจดทะเบียนตามกฎหมาย ต ้องแสดงชนิด
ของหุ้น (หุ้นสามัญ และ หุ้นบุริมสิทธิ) จานวนหุ้น และ
มูลค่าหุ้นที่จดทะเบียน (ราคาพาร์)
ทุนที่ออกและชาระแล้ว
หุ้นและมูลค่าหุ้นที่นาออกจาหน่ายและเรียกให ้ชาระ
มูลค่าหุ้นแล ้ว
ส่วนเกินมูลค่าหุ้น
เงินค่าหุ้นส่วนที่สูงกว่ามูลค่าที่ตราไว ้ของหุ้นสามัญและ
หุ้นบุริมสิทธิ
กาไร(ขาดทุน)สะสม
กาไรสะสมจัดสรรแล้ว
กาไรสะสมที่กันไว ้เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง
เช่น จัดสรรเพื่อสารองตามกฎหมาย
กาไรสะสมที่ยังไม่ได้
จัดสรร
กาไรสะสมคงเหลือหลังจากการจัดสรรแล ้ว สามารถ
นาไปจ่ายเป็ นเงินปันผลให ้แก่ผู้ถือหุ้นได ้ หากกิจการมี
ผลขาดทุนเรื่อย ๆ จนค่าติดลบจะเป็น ขาดทุนสะสม
Mr.LikeStock
เริ่มต ้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน 144
สินทรัพย์หมุนเวียน
เงินสดหรือเทียบเท่า
เงินลงทุนชั่วคราว
ลูกหนี้การค ้า
เงินให ้กู้ยืมระยะสั้น
สินค ้าคงเหลือ
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
เงินลงทุนระยะยาว
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
สินทรัพย์อื่น
ส่วนของเจ้าของ
ทุนจดทะเบียน
ทุนที่ออกและชาระแล ้ว
ส่วนเกินมูลค่าหุ้น
กาไร(ขาดทุน)สะสม
หนี้สินหมุนเวียน
เงินเบิกเกินบัญชีและเงิน
กู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร
เจ ้าหนี้การค ้า
หนี้สินหมุนเวียนอื่น
หนี้สินไม่หมุนเวียน
เงินกู้ยืมระยะยาว
หุ้นกู้ระยะยาว
หนี้สินอื่น
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนPa'rig Prig
 
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)Akarawat Thanachitnawarat
 
Power point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงิน
Power point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงินPower point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงิน
Power point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงินอุบลวรรณ ขุนทอง
 
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนple2516
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินple2516
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีPa'rig Prig
 
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsPeerapat Teerawattanasuk
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมPadvee Academy
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
Ebooksint ทฤษฎีผลประโยชน์ และกลยุทธ์การเก็งกำไรตามแนวโน้ม -_แมงเม่าคลับ
Ebooksint ทฤษฎีผลประโยชน์ และกลยุทธ์การเก็งกำไรตามแนวโน้ม -_แมงเม่าคลับEbooksint ทฤษฎีผลประโยชน์ และกลยุทธ์การเก็งกำไรตามแนวโน้ม -_แมงเม่าคลับ
Ebooksint ทฤษฎีผลประโยชน์ และกลยุทธ์การเก็งกำไรตามแนวโน้ม -_แมงเม่าคลับRose Banioki
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003Pa'rig Prig
 
เถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่ายเถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่ายsutaphat neamhom
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) Yaowaluk Chaobanpho
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอนKobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
 
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
หุ้นซิ่ง (รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับหุ้นซิ่งจากอินเตอร์เน็ท)
 
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอสื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
 
Power point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงิน
Power point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงินPower point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงิน
Power point คุณธรรมจริยธรรมของนักการเงิน
 
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
 
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
 
01 ma
01 ma01 ma
01 ma
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
Ebooksint ทฤษฎีผลประโยชน์ และกลยุทธ์การเก็งกำไรตามแนวโน้ม -_แมงเม่าคลับ
Ebooksint ทฤษฎีผลประโยชน์ และกลยุทธ์การเก็งกำไรตามแนวโน้ม -_แมงเม่าคลับEbooksint ทฤษฎีผลประโยชน์ และกลยุทธ์การเก็งกำไรตามแนวโน้ม -_แมงเม่าคลับ
Ebooksint ทฤษฎีผลประโยชน์ และกลยุทธ์การเก็งกำไรตามแนวโน้ม -_แมงเม่าคลับ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคนิคการนำเสนอ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคนิคการนำเสนอความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคนิคการนำเสนอ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคนิคการนำเสนอ
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
 
เถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่ายเถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่าย
 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
02 ma
02 ma02 ma
02 ma
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน
 

Similar to เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)

Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Sanwis Natthanicha
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์Saran Yuwanna
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexPeerasak C.
 
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดssuser711f08
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์tra thailand
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Wichien Juthamongkol
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัดPongsa Pongsathorn
 
600408 สรุป 4 ขั้นตอน การจัดการกลยุทธ์ แบบย่อ
600408 สรุป 4 ขั้นตอน การจัดการกลยุทธ์ แบบย่อ600408 สรุป 4 ขั้นตอน การจัดการกลยุทธ์ แบบย่อ
600408 สรุป 4 ขั้นตอน การจัดการกลยุทธ์ แบบย่อChaichanGMArsapon
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 

Similar to เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental) (20)

Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์
 
Class 3 prestudy marketing date 6 june 2013
Class 3 prestudy marketing date 6 june 2013Class 3 prestudy marketing date 6 june 2013
Class 3 prestudy marketing date 6 june 2013
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
 
Tu tot1
Tu tot1Tu tot1
Tu tot1
 
01
0101
01
 
DGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selectionDGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selection
 
Ppt marketing g 9
Ppt marketing g 9Ppt marketing g 9
Ppt marketing g 9
 
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
Note CANSLIM By WaveRiders
Note CANSLIM By WaveRidersNote CANSLIM By WaveRiders
Note CANSLIM By WaveRiders
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
 
600408 สรุป 4 ขั้นตอน การจัดการกลยุทธ์ แบบย่อ
600408 สรุป 4 ขั้นตอน การจัดการกลยุทธ์ แบบย่อ600408 สรุป 4 ขั้นตอน การจัดการกลยุทธ์ แบบย่อ
600408 สรุป 4 ขั้นตอน การจัดการกลยุทธ์ แบบย่อ
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 

เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)