SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
1
Chapter 1: Vectors
 เวคเตอร์
 คุณสมบัติของเวคเตอร์
 เวคเตอร์หนึ่งหน่วย
 การบวกเวคเตอร์
 องค์ประกอบของเวคเตอร์ใน 2 มิติ
 องค์ประกอบของเวคเตอร์ใน 3 มิติ
 การคูณเวคเตอร์
 ผลคูณแบบดอต
 ผลคูณแบบครอส
วัตถุประสงค์
 เพื่อให้รู้จักปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์
 สามารถหา unit vector ได้
 สามารถแยกองค์ประกอบใน 2 และ 3 มิติ ได้
 สามารถหาเวคเตอร์ตำาแหน่งได้
 สามารถผลลัพธ์ของเวคเตอร์จากการบวก ลบ คูณ ได้
 เพื่อให้ทราบแนวทางในการแก้ปัญหาโจทย์
3
เวกเตอร์
ในการศึกษากลศาสตร์ มีปริมาณสองชนิดคือ ปริมาณ
สเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์ ปริมาณทั้งสองจะถูกนำามาส
ร้างความสัมพันธ์ในรูปของสมการทางคณิตศาสตร์ เพื่อ
อธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
ปริมาณสเกลาร์ เป็นปริมาณที่มีเฉพาะขนาดอย่างเดียว
เช่น มวล m , เวลา t เป็นต้น
ปริมาณเวกเตอร์ เป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง
ในเวลาเดียวกัน เช่น ระยะขจัด ความเร็ว ความเร่ง
โมเมนตัม แรง เป็นต้น
4
สัญลักษณ์ของเวกเตอร์
A
v
ปริมาณเวกเตอร์ จะเขียนด้วยสัญลักษณ์อักษรโรมันที่มีลูก
ศรอยู่ข้างบน เช่นเวกเตอร์ และเขียนปริมาณเวกเตอร์
โดยใช้เส้นตรงที่มีลูกศรกำากับ โดยมีความยาวของเส้นตรง
แทนขนาดเวกเตอร์ ส่วนหัวลูกศรบอกทิศของเวกเตอร์นั้น
และขนาดของเวกเตอร์จะเขียนแทนด้วยอักษรมันที่ไม่มีลูก
ศร หรือใช้เครื่องหมายสัมบูรณ์
A
v
A A
v
5
คุณสมบัติของเวกเตอร์
• การเท่ากันของเวกเตอร์
- ถ้า แสดงว่าเวกเตอร์ทั้ง
สองมีขนาดเท่ากันและทิศทาง
เดียวกัน
A B=
v v
A
v
B
v
- ถ้า แสดงว่าเวกเตอร์ทั้ง
สองมีขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรง
กันข้ามกัน
A B= −
v v
A
v
B
v
เวกเตอร์หนึ่งหน่วย
A
v
• ถ้า เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับ A จะสามารถกำาหนดเวกเตอร์
ที่มีทิศทางเดียวกับ แต่มีขนาดหนึ่งหน่วยได้ และเรียกว่า
เวกเตอร์หนึ่งหน่วย (Unit vector) ของ
A
v
A
v
ถ้าให้ คือเวกเตอร์หนึ่งหน่วยของ ดังนั้นจะได้ว่าˆa A
v
ˆ
A
a
A
=
v
หรือ ˆA Aa=
v
ˆa
A
v
7
เวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่สำาคัญมากคือ เวกเตอร์ โดยที่เวกเตอร์หนึ่ง
หน่วยในทิศทางตามแกนในระบบพิกัดฉาก คือ แกน x , y และ z ดังรูป โดย
เวกเตอร์ตั้งฉากซึ่งกันและกัน
เวกเตอร์ทั้งสามมีขนาดเท่ากับ 1 หน่วยและมีทิศทางคงที่
เวกเตอร์ทั้งสามเรียงกันตามกฎมือขวา
ˆˆ ˆ, ,i j k
เวกเตอร์หนึ่งหน่วย
8
การบวกเวคเตอร์
 ปริมาณสเกลาร์ สามารถบวก ลบ คูณ หรือ หาร ได้
แบบตัวเลขทั่วไป
 การบวกเวกเตอร์ ในการบวกเวกเตอร์สองเวกเตอร์
ใดๆเข้าด้วยกันนั้น จะต้องคำานึงทั้งขนาดและ
ทิศทาง การบวกเวกเตอร์โดยวิธีทางเรขาคณิต
สามารถทำาได้โดย
 การวาดรูป
 การแยกองค์ประกอบเวคเตอร์
9
การวาดรูป
 การนำาหางของเวกเตอร์ตัวที่สองมาต่อเข้ากับหัวของ เวก
เตอร์ตัวแรก และจะได้ผลลัพธ์คือเวกเตอร์ที่หางอยู่ที่หาง
ของเวกเตอร์ตัวแรกและหัวอยู่ที่หัวของเวกเตอร์ตัวที่สอง
เช่น
BAR

+=
10
การวาดรูป
 จากรูป รถยนต์เคลื่อนที่ไปในทิศตะวัน
ออกได้การขจัด = 275 m หลังจากนั้น
เคลื่อนที่ตามเวคเตอร์ ได้ระยะขจัด 125
m ในทิศทางทำามุม 55.00
เหนือของตะวัน
ตก จงหาการขจัดลัพธ์ในการเคลื่อนที่นี้
 การขจัดลัพธ์ มีค่า 228 m ทำามุม 26.70
กับแกน x
(ใช้มาตราส่วน 1 cm : 10.0 m )
B

BAR

+=
R

A

11
การลบเวคเตอร์
 เวคเตอร์ที่เป็นลบคือเวกเตอร์
ทั้งสองมีขนาดเท่ากันแต่ทิศทาง
ตรงกันข้ามกัน
 การลบเวคเตอร์วิธีทำาเหมือน
กับการบวกเวคเตอร์ ดังสมการ
)( BABA

−+=−
การบวกและการลบเวกเตอร์โดยวิธี
ตรีโกณมิติ
เวกเตอร์ และ ทำามุมกัน เมื่อรวมกันได้เวก
เตอร์ โดยเวกเตอร์ลัพธ์ ทำามุมกับ เป็นมุม
ดังรูป
α θ
13
การแยกองค์ประกอบเวคเตอร์ ใน
2 มิติ
 จากรูป เวคเตอร์ อยู่ใน 2 มิติ สามารถแยกองค์ประกอบ
ของเวคเตอร์ ให้อยู่ในแกน x และ y ที่ตั้งฉากกัน โดย
 องค์ประกอบเวคเตอร์ ตามแกน x แทนด้วย
องค์ประกอบเวคเตอร์ ตามแกน x แทนด้วย
a

xa

ya

a
r
xa
ya
x
y
o
θ
โดย ,
ขนาดและทิศทาง
2 2
x ya a a= + tan
y
x
a
a
θ =;
a

a

a

iaa xx
ˆ=
 jaa yy
ˆ=

jaiaa yx
ˆˆ +=

ดังนั้น
14
การแยกองค์ประกอบเวคเตอร์ ใน
2 มิติ
BAC

+=
15
ตัวอย่าง: การแยกองค์ประกอบของ
เวคเตอร์ใน 2 มิติ
นักวิ่งวิ่งได้ระยะทาง 145 m ทำา
มุม 20.0o
ตะวันออกกับทิศเหนือ
(แทนด้วย A) และจากนั้นวิ่งต่อ
ไปอีก 105 m ทำามุม 35.0o
ใน
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ (แทน
ด้วยB). จงหาการกระจัดลัพธ์
ของนักวิ่งคนนี้
A
B
C
200
350
y
x
16
Vector x component y
component
A Ax= (145m)sin20.00
= 49.6m Ay=
(145m)cos20.00
= 136m
B Bx= (105m)cos35.00
= 86.0m By= -
(105m)sin35.00
= -60.2m
C Cx= Ax + Bx = 135.6 m Cy = Ay + By =
75.8 m
mCCC yx 35.155)8.75()6.135( 2222
=+=+=ขนาดของเวคเตอร์ขนาดของเวคเตอร์
C:C:
มุมที่เวคเตอร์มุมที่เวคเตอร์ CC ทำากับแกนทำากับแกน
x:x:
011
2.29)
6.135
8.75
(tan)(tan === −−
m
m
C
C
x
y
θ
ตัวอย่าง: การแยกองค์ประกอบของ
เวคเตอร์ใน 2 มิติ
องค์ประกอบของเวคเตอร์องค์ประกอบของเวคเตอร์
C :C :
jCiCC yx
ˆˆ +=

17
การแยกองค์ประกอบของเวกเตอร์ใน 3 มิติ
ถ้าให้ มีทิศจากจุด O ไปยังจุด P โดยทำามุม x, θy และ z
กับแกน x, y และ z ดังรูป องค์ประกอบของเวคเตอร์ ใน 3
มิติ เขียนได้ดังนี้
r
r
A

* P
xA
yA
zA
x
z
y
o xθ
zθ
A

yθ
A

kAjAiAA zyx
ˆˆˆ ++=

xx AA θcos=โดย
yy AA θcos=
zz AA θcos=
★ เวคเตอร์
ทิศทาง
:
,cos
A
Ax
x =θ
222
zAAAA yx ++=
ขนาด
r
r
A

* P
xA
yA
zA
x
z
y
o xθ
zθ
yθ
องค์ประกอบของเวกเตอร์ใน 3 มิติ
kAjAiAA zyx
ˆˆˆ ++=

,cos
A
Ay
y =θ
A
Az
z =θcos
การแยกองค์ประกอบของเวกเตอร์ใน 3
มิติ
θ
φ
y
z
x
จากรูปเขียนเป็นสมการได้
ว่า
หรือ
, และ เป็นเวกเตอร์องค์ประกอบของ ใน
แนวแกน x, y และ z
Example: จงเขียนเวกเตอร์ A ในรูปเวก
เตอร์หนึ่งหน่วย
300
450
3
หน่วย
Ax = 3sin30 cos45
หน่วย
= 3(1/2)(0.707)
หน่วย
Ay = 3sin30 sin45
หน่วย
= 3(1/2)(0.707)
หน่วย
Az = 3cos30
หน่วย
= 3(0.866)
หน่วย
∴ = 1.06 i + 1.06 j + 2.6 k หน่วย
x
y
z
ANS^^ ^
★ เวคเตอร์ตำาแหน่ง PQ (
)
2 1r r r∆ = −
r r
r∆

x
y
Q
2r
1r
 P r

∆
o 2 1x x−
2 1y y−
1x 2x
$ $
$ $
2 2 2
1 1 1
( )
( )
r x i y j z k
x i y j z k
∆ = + + −
+ +
 $
$
$ $
2 1 2 1 2 1( ) ( ) ( )r x x i y y j z z k∆ = − + − + −
 $
$ $r xi y j zk∆ = ∆ + ∆ + ∆
 $
เวคเตอร์ตำาแหน่ง
Example: แท่งไม้ AB, ใช้คำ้าหลังคา โดยแรงของ
แท่งไม้ที่คำ้าหลังคามีค่า 228 N ทิศ BA ดังรูป จง
เขียนเวคเตอร์ของแรงของแท่งไม้นี้
22
ผลคูณแบบสเกลาร์ของเวคเตอร์ 2
เวคเตอร์
• ผลคูณแบบสเกลาร์หรือผลคูณแบบดอตของ 2 เวคเตอร์คือ
P และ Q มีนิยาม ดังนี้
( )resultscalarcosθPQQP =•
rr
• คุณสมบัติการดอต:
- การสลับที่,
- การกระจาย,
PQQP
rrrr
•=•
( ) 2121 QPQPQQP
rrrrrrr
•+•=+•
Example: จงหาผลคูณแบบ
สเกลาร์ของเวคเตอร์ และ
.
25º
x
y
A
B
|A| = 50
|B| = 30
A

B

• ผลคูณแบบดอตของเวคเตอร์ในระบบพิกัดฉาก
0ˆˆ0ˆˆ0ˆˆ1ˆˆ1ˆˆ1ˆˆ =•=•=•=•=•=• ikkjjikkjjii
( ) ( )kQjQiQkPjPiPQP zyxzyx
ˆˆˆˆˆˆ ++•++=•

2222
PPPPPP
QPQPQPQP
zyx
zzyyxx
=++=•
++=•


Example:
ผลคูณแบบสเกลาร์ของเวคเตอร์ 2
เวคเตอร์
andkjiAIf ˆ5ˆ4ˆ2 +−=

BAdeterminkiB

.,ˆ6ˆ3 +=
การประยุกต์ผลคูณแบบดอต
1. มุมระหว่างเวคเตอร์ 2 เวคเตอร์:
x x y y z z
2 2 2 2 2 2
x y z x y z
A B A B A BA B
cos( )
A B A A A B B B
θ
+ +•
= =
⋅ + + ⋅ + +
A B A B cos( )θ• = ⋅ ⋅
Example: จงหามุมระหว่างเวคเตอร์ A กับ B.
andkjiAIf ˆ5ˆ4ˆ2 +−=

kiB ˆ6ˆ3 +=

Example: จากรูปจงหามุมระหว่างเส้นลวดที่ยึด
เสาที่ขึงเน็ตวอลเล่ย์บอล ดังนี้
a. เส้นลวด AB กับ AC
b. เส้นลวด AD กับ AC
c. เส้นลวด AB กับ AD
การประยุกต์ผลคูณแบบดอต
2. Projection of a vector บนแกนที่กำาหนด:
OL
OL
PP
Q
QP
PQQP
OLonPofprojectionPP
==
•
=•
==
θ
θ
θ
cos
cos
cos


zzyyxx
OL
PPP
PP
θθθ
λ
coscoscos ++=
•=

• For an axis defined by a unit vector:
ผลคูณแบบเวคเตอร์หรือผลคูณแบบค
รอส
• ผลคูณแบบครอสคือ การนำาเวคเตอร์ 2 เวคเตอร์มาคูณกัน
โดยผลลัพธ์จะได้ปริมาณเวคเตอร์ โดย จากรูปจะได้ ขนาด
ของเวคเตอร์
1.เวคเตอร์ลัพธ์ จะตั้งฉากกับระนาบของ และ
2.ขนาดของเวคเตอร์ลัพธ์ คือ
3. ทิศทางของเวคเตอร์ลัพธ์ V เป็นตามกฏมือขวา
• คุณสมบัติ
- สลับที่ไม่ได้
- กระจายได้
( )BABA

×−=×
( ) 2121 BABABBA

×+×=+×
θsinABBxAC ==

C
C

A

B

ผลคูณแบบครอสบนแกนพิกัด
ฉาก
• ผลคูณแบบครอสของเวคเตอร์หนึ่งหน่วย
0ˆˆˆˆˆˆˆˆ
ˆˆˆ0ˆˆˆˆˆ
ˆˆˆˆˆˆ0ˆˆ
=×=×−=×
−=×=×=×
=×−=×=×
kkikjjki
ijkjjkji
jikkijii
• ผลคูณแบบครอส
( ) ( )kBjBiBkAjAiAC zyxzyx
ˆˆˆˆˆˆ ++×++=

( ) ( ) ( ) kBABAjBABAiBABA xyyxzxxzyzzy
ˆˆˆ −+−+−=
Memory Aid:
x y z
x y z
ˆ ˆ ˆi j k
C A B A A A
B B B
= × =
  
Example: ผลคูณแบบครอส
BxAcalculatethen,k5-ji2Bandj4-i3AIf

ˆˆˆˆˆ +==

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์eakbordin
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานApinya Phuadsing
 
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)wiriya kosit
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลังkanjana2536
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนามkroojaja
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ทับทิม เจริญตา
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิตkanjana2536
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrusongkran
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงาน
 
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนาม
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
 
เวกเตอร์
เวกเตอร์เวกเตอร์
เวกเตอร์
 
12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม12การชนและโมเมนตัม
12การชนและโมเมนตัม
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 

Viewers also liked

เวกเตอร์ใน 3 มิติ
เวกเตอร์ใน 3 มิติเวกเตอร์ใน 3 มิติ
เวกเตอร์ใน 3 มิติthakonkiat
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
สรุปเนื้อหาเวกเตอร์ ม.5
สรุปเนื้อหาเวกเตอร์ ม.5สรุปเนื้อหาเวกเตอร์ ม.5
สรุปเนื้อหาเวกเตอร์ ม.5Zatan Ying
 
เวกเตอร์สเกลาร์ม.1
เวกเตอร์สเกลาร์ม.1เวกเตอร์สเกลาร์ม.1
เวกเตอร์สเกลาร์ม.1Khwan Horwang
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณguest6eaa7e
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 

Viewers also liked (8)

1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
เวกเตอร์ใน 3 มิติ
เวกเตอร์ใน 3 มิติเวกเตอร์ใน 3 มิติ
เวกเตอร์ใน 3 มิติ
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
สรุปเนื้อหาเวกเตอร์ ม.5
สรุปเนื้อหาเวกเตอร์ ม.5สรุปเนื้อหาเวกเตอร์ ม.5
สรุปเนื้อหาเวกเตอร์ ม.5
 
เวกเตอร์สเกลาร์ม.1
เวกเตอร์สเกลาร์ม.1เวกเตอร์สเกลาร์ม.1
เวกเตอร์สเกลาร์ม.1
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 

Similar to Chapter1 vector

วิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุตวิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุตSupa Kommee
 
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสmoohhack
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติThphmo
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์wisita42
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Thanuphong Ngoapm
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าSaranyu Srisrontong
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์PumPui Oranuch
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)kroojaja
 
การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์porntipa Thupmongkol
 
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionTeerawutSavangboon
 

Similar to Chapter1 vector (20)

วิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุตวิทยาศาสตร์อุต
วิทยาศาสตร์อุต
 
Ppt%20vector[1]
Ppt%20vector[1]Ppt%20vector[1]
Ppt%20vector[1]
 
Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
 
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
Matrix problem p
Matrix problem pMatrix problem p
Matrix problem p
 
Matrix2
Matrix2Matrix2
Matrix2
 
Ch02 linear algrebra2
Ch02 linear algrebra2Ch02 linear algrebra2
Ch02 linear algrebra2
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
Meter
MeterMeter
Meter
 
Vetor
VetorVetor
Vetor
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์
 
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 

Chapter1 vector