SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
พีชคณิตบูลีน
Boolean Algebra
เนื้อหา
 พื้นฐานพีชคณิตบูลีน
 กฎพื้นฐานและทฤษฎีต่างๆ
 ตารางค่าความจริง
 เกตตรรกะและวงจร
 การลดรูปวงจร




                                                                                            2
                        วิชา 4442103 คณิตศาสตร์ดิสครีต คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสาน
พื้นฐานพีชคณิตบูลีน




จอร์จ บูล (George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ผู้คิดค้นพีชคณิตบูลีน
พื้นฐานพีชคณิตบูลีน
 ระบบของคณิ ต ศาสตร์ ทางตรรกะ     ซึ่งเกี่ยวข้องกับทฤษฎี ของบูลีน
  (Boolean Theory) เป็นทฤษฎีที่ใช้ในการคานวณทางลอจิก โดยใช้
  หลักเลขฐาน 2 (0 กับ 1)
 มีความสาคัญในการออกแบบวงจรลอจิ กเกท เป็นพื้นฐานของการ
  ออกแบบอุปกรณ์ดิจิตอล
 ผู้คิดค้น : จอร์จ บูล (George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ
  คิดค้นเมื่อปี ค.ศ. 1854
กฎพื้นฐานและทฤษฎีต่างๆ
 กฎของ OR
 กฎของ AND
 กฎของการคอมพลีเมนท์ (Laws of Complementation)
 กฎการสลับที่ (Commutative Laws)
 กฎการจัดกลุ่ม (Associative Laws)
 กฎการกระจาย (Distributive Laws)
 กฎการลดทอน (Absorbtive Laws)
 ทฤษฎีของเดอมอร์แกน (DeMorgan’s Theorems)
กฎของ OR
     กฎข้อที่ 1   𝐴+0= 𝐴
     กฎข้อที่ 2   𝐴+1=1
     กฎข้อที่ 3   𝐴+ 𝐴= 𝐴
     กฎข้อที่ 4   𝐴+ 𝐴=1
กฎของ AND
     กฎข้อที่ 5   𝐴 .0 = 0
     กฎข้อที่ 6   𝐴 .1 = 𝐴
     กฎข้อที่ 7   𝐴. 𝐴= 𝐴
     กฎข้อที่ 8   𝐴. 𝐴=0
กฎของการคอมพลีเมนท์
     กฎข้อที่ 9            0=1
     กฎข้อที่ 10           1=0
     กฎข้อที่ 11   ถ้า 𝐴 = 0 แล้ว 𝐴จะเท่ากับ 1
     กฎข้อที่ 12   ถ้า 𝐴 = 1 แล้ว 𝐴จะเท่ากับ 0
     กฎข้อที่ 13             𝐴= 𝐴
กฎการสลับที่
 เป็นกฎของการสลับที่ AND Gate และ OR Gate

          กฎข้อที่ 14            𝐴+ 𝐵 = 𝐵+ 𝐴
          กฎข้อที่ 15             𝐴. 𝐵 = 𝐵. 𝐴
กฎการจัดกลุ่ม
 กฎข้อที่ 16    𝐴+ 𝐵+ 𝐶 = 𝐴+ 𝐵 + 𝐶
 กฎข้อที่ 17      𝐴+ 𝐵 + 𝐶+ 𝐷
                     = 𝐴+ 𝐵+ 𝐶+ 𝐷
 กฎข้อที่ 18      𝐴. 𝐵. 𝐶 = 𝐴. 𝐵 . 𝐶
กฎการกระจาย
  กฎข้อที่ 19     𝐴 . 𝐵 + 𝐶 = 𝐴𝐵 + 𝐴𝐶
  กฎข้อที่ 20   𝐴 + 𝐵𝐶 = (𝐴 + 𝐵)(𝐴 + 𝐶)
  กฎข้อที่ 21        𝐴 + 𝐴. 𝐵 = 𝐴 + 𝐵
กฎการลดทอน
 กฎข้อนี้ช่วยในการลดความซับซ้อนของวงจรลอจิกเกตให้อยู่ในรูป
  แบบอย่างง่าย ซึ่งมีกฎดังนี้
           กฎข้อที่ 22               𝐴 + 𝐴𝐵 = 𝐴
           กฎข้อที่ 23             𝐴. 𝐴 + 𝐵 = 𝐴
           กฎข้อที่ 24             𝐴. 𝐴 + 𝐵 = 𝐴
ตัวอย่าง1 - กฎการลดทอน
 จงพิสูจน์ว่าสมการบูลีน AB+ABC =AB เป็นจริง
วิธทำ
   ี
               F = AB + ABC

                 = AB(1+C)             : ดึงตัวร่วม กฎข้อที่ 19
                 = AB . 1              : เอกลักษณ์ กฎข้อที่ 2
          ∴    F = AB                  : กฎข้อที่ 6
ตัวอย่าง2 - กฎการลดทอน
 จงพิสูจน์ว่า (A+B)(A+C)+BC   = A+BC
วิธทำ
   ี        F = (A+B)(A+C)+BC
              = AA+AC+AB+BC+BC          :กระจาย กฎข้อที่ 19
              = A+AC+AB+BC+BC           : กฎข้อที่ 7
              = A+AB+AC+BC+BC           : จัดรูป
              = A(1+B)+AC+BC(1+BC)      : ดึงตัวร่วม กฎข้อที่ 19
              = A+AC+BC                 :1+B = 1 กฎข้อที่ 2
              = A(1+C)+BC               : กฎข้อที่ 19
              = A+BC                    : กฎข้อที่ 2
ทฤษฎีของเดอมอร์แกน (DeMorgan’s Theorems)
   ใช้ในการลดรูปสมการที่ซับซ้อน มีกฎอยู่ 2 ข้อ ดังนี้
      กฎข้อที่ 1 𝐴 + 𝐵 = 𝐴. 𝐵
      กฎข้อที่ 2 𝐴. 𝐵 = 𝐴 + 𝐵




   เทคนิคการจา : การแยกตัวแปร เครื่องหมายตรงกันข้าม
ตัวอย่าง - การลดทอนโดยใช้ทฤษฎีเดอมอร์แกน
    𝐴 + 𝐵𝐶
วิธีทำ          𝐴 + 𝐵𝐶   =   𝐴 + 𝐵𝐶        ;เอาคอมพลีเมนท์ออก
                         =   𝐴. (𝐵 + 𝐶)    ; สลับเครื่องหมาย
                         =   𝐴. (𝐵 + 𝐶 )   ; ใส่คอมพลีเมนท์คืน
              ∴ 𝐴 + 𝐵𝐶   =   𝐴. (𝐵 + 𝐶 )
ตัวอย่าง2 - การลดทอนโดยใช้ทฤษฎีเดอมอร์แกน
   𝐹 = (𝐴 + 𝐵)(𝐶 + 𝐷)
วิธทำ
   ี
              𝑭 = (𝐴 + 𝐵)(𝐶 + 𝐷)   ; ใช้ทฤษฎีเดอมอร์แกน
                = (𝐴 + 𝐵)(𝐶 + 𝐷)   ; เอาคอมพลีเมนท์ออก
                =   𝐴𝐵 + 𝐶𝐷        ; กลับเครื่องหมาย
                =   𝐴𝐵 + 𝐶𝐷        ; นาคอมพลีเมนท์มาใส่คืน
          ∴   𝑭 =   𝐴𝐵 + 𝐶𝐷
ตารางค่าความจริง (Truth Table)
 เป็นตารางที่บอกถึงฟังก์ชันเอาท์พุทของวงจรลอจิก
 มีความสัมพันธ์กับวงจรลอจิก
 ใช้พิสูจน์หาค่าความจริงของสมการลอจิกได้
รูปแบบมาตรฐานของฟังก์ชันบูลีน
 Standard Form of Boolean Function
 ฟังก์ชันบูลีนมีพื้นฐานบนเลขฐานสองกระทากัน มีค่าเป็น 0 หรือ 1
 มักกระทากันด้วย AND GATE, OR GATE, NOT GATE (INVERTER)
รูปแบบของตัวดาเนินการ
ผลรวมของผลคูณ (The Sum of Production)
 โดยทั่วไปสมการจะถูกเขียนขึ้นแทนด้วย   F ฟังก์ชัน
 จานวนกรณีค่าความจริง คานวณได้จาก


          จานวนกรณี = 2n โดย n คือจานวนตัวแปร
ตัวอย่างตารางค่าความจริง
  𝐹 = 𝐴 𝐵 𝐶 + 𝐴 𝐵𝐶 + 𝐴𝐵 𝐶 + 𝐴𝐵𝐶
 F มีตัวแปรทั้งหมด 3 ตัว ดังนั้นเป็นไปได้ทั้งหมด 23 = 8 กรณี
            A                 B                 C               F
            0                 0                 0               0
            0                 0                 1               1
            0                 1                 0               1
            0                 1                 1               0
            1                 0                 0               1
            1                 0                 1               0
            1                 1                 0               0
            1                 1                 1               1
ผลรวมของผลคูณ (ต่อ)
          จาก 𝐹 = 𝐴 𝐵 𝐶 + 𝐴 𝐵𝐶 + 𝐴𝐵 𝐶 + 𝐴𝐵𝐶 จะ
เห็นได้ว่ามีทั้งหมด 4 เทอมที่ทาการบวก(OR) กันอยู่ เราเรียกแต่ละ
เทอมว่า มิน-เทอม (Minterms) ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า F คือผลรวมของ
4 มินเทอม
ผลรวมของผลคูณ (ต่อ)
       ฟังก์ชันบูลีน 3 ตัวแปร จะประกอบด้วยมินเทอมทั้งหมด 23=8
โดยแถวหนึ่งจะมี 1 มินเทอมเรียงตามลาดับจาก 0 – 7 มินเทอม
       มินเทอมแทนด้วยสัญลักษณ์
           m0, m1,m2,…,m2n-1      ;โดย n คือจานวนตัวแปร
ตัวอย่างมินเทอมของตัวแปร 3 ตัว
          เลขฐานสอง       มินเทอมของ A,B,C
     A       B        C
     0       0        0      𝑚0 = 𝐴 𝐵 𝐶
     0       0        1      𝑚1 = 𝐴 𝐵 𝐶
     0       1        0      𝑚2 = 𝐴 𝐵𝐶
     0       1        1      𝑚3 = 𝐴 𝐵𝐶
     1       0        0      𝑚4 = 𝐴𝐵 𝐶
     1       0        1      𝑚5 = 𝐴𝐵 𝐶
     1       1        0      𝑚6 = 𝐴𝐵𝐶
     1       1        1      𝑚7 = 𝐴𝐵𝐶
ผลคูณของผลบวก (The Product of Sum)
 เป็นเหมือนส่วนกลับของ “ผลรวมของผลคูณ” เพียงแค่เปลี่ยนเครื่องหมาย
  ตรงกันข้าม

F = A + B + C . A + B + C . A + B + C . (A + B + C)


       เราเรียกแต่ละเทอมว่า แมกซ์เทอม (Maxterms) เขียนสัญลักษณ์
แทนด้วย ตัว M ใหญ่ เพราะฉะนั้น F คือผลคูณของ 4 แม็กซ์เทอม
ผลคูณของผลบวก (ต่อ)
       ฟังก์ชันบูลีน 3 ตัวแปร จะประกอบด้วยแม็กเทอมทั้งหมด
23=8 โดยแถวหนึ่งจะมี 1 แม็กซ์เทอมเรียงตามลาดับจาก 0 – 7 แม็กซ์-
เทอม
       แม็กเทอมแทนด้วยสัญลักษณ์
           M0, M1,M2,…,M2n-1        ;โดย n คือจานวนตัวแปร
ตัวอย่างแม็กซ์เทอมของตัวแปร 3 ตัว
          เลขฐานสอง       แม็กซ์เทอมของ A,B,C
     A       B        C
     0       0        0    M0 = A + B + C
     0       0        1    M1 = A + B + C
     0       1        0    M2 = A + B + C
     0       1        1    M3 = A + B + C
     1       0        0    M4 = A + B + C
     1       0        1    M5 = A + B + C
     1       1        0    M6 = A + B + C
     1       1        1    M7 = A + B + C
การลดรูปวงจร
 มี 2 วิธี ดังนี้
    ใช้ทฤษฎีพีชคณิตบูลีน ( Boolean Algebra)

    แผนภาพคานอร์ (Karnaugh Map)
ลดรูปโดย ใช้ทฤษฎีพีชคณิตบูลีน

ลักษณะ
    อาศัยทฤษฎีของพีชคณิตบูลีน
    ต้องใช้ทักษะในการแก้โจทย์
    มีความยาก หากขนาดของวงจรใหญ่ๆ หรือ มีความซับซ้อน
ลดรูปโดย ใช้แผนผังคานอร์ (Karnaugh Map)
 เป็นระบบที่ดัดแปลงมาจาก พีชคณิตบูลีน ให้อยู่ในรูปตาราง
 ทาการลดรูปสมการลอจิกได้อย่างรวดเร็ว
 สามารถลดรูปสมการที่มีตัวแปรไม่เกิน 6 ตัว
K-Map
            A
        B         0      1
                                          AB
                                      C        00     01       11    10
        0
                                      0
        1
                                      1
                K-Map 2 ตัวแปร
                                                    K-Map 3 ตัวแปร
   AB
 CD   00          01     11      10
   00
   01
   11
                                               จานวนช่องตาราง = 2n
                                               ; n คือ จานวนตัวแปร
   10
                K-Map 4 ตัวแปร
K-Map แสดงตามรหัส
            A
        B         0      1
                                            AB
                                        C        00       01       11    10
         0       AB     AB
                                        0        AB C    ABC      ABC    ABC
         1       AB AB                  1        AB C    ABC      ABC    ABC
                K-Map 2 ตัวแปร
                                                        K-Map 3 ตัวแปร
    AB
  CD   00         01     11      10
   00   ABCD     ABCD   ABCD     ABCD

   01   ABCD     ABCD   ABCD     ABCD

   11   ABCD     ABCD   ABCD     ABCD

   10   ABCD     ABCD   ABCD     ABCD


                K-Map 4 ตัวแปร
การแทนสมการ K-Map
วิธีกำร
 ใส่ 1 ลงในช่องที่มีคุณสมบัติตรงกับ ผลบวกของผลคูณ (Min Term)
 ใส่ 0 ลงในช่องที่มีคุณสมบัติตรงกับ ผลคูณของผลบวก (Max Term)




              - Min Term ใส่ 1 ลงใน K-Map
              - Max Term ใส่ 0 ลงใน K-Map
ตัวอย่าง แทนMin Term สมการ 2 ตัวแปร
 Q1      = AB + AB + AB
วิธทำ
   ี
1.      สมการนี้มี 2 ตัวแปร ดังนั้น K-Map มีจานวนช่อง 22 = 4 ช่อง
2.      ใส่ 1 ลงในตาราง ตามตาแหน่ง Min Term โดย AB = 00, AB = 10,
        AB= 11
                                       A
                                   B       0   1

                                    0      1   1
                                    1          1
ตัวอย่าง2 แทนMin Term สมการ 3 ตัวแปร
    𝑄2 = 𝐴 𝐵 𝐶 + 𝐴 𝐵𝐶 + 𝐴 𝐵𝐶 + 𝐴𝐵 𝐶 + ABC
วิธทำ
   ี
1. สมการนี้มี 3 ตัวแปร ดังนั้น K-Map มีจานวนช่อง 23 = 8 ช่อง
2. ใส่ 1 ลงในตาราง ตามตาแหน่ง Min Term โดย𝐴 𝐵 𝐶 = 000, 𝐴 𝐵𝐶 =
      010, 𝐴 𝐵𝐶= 011, 𝐴𝐵 𝐶=101, ABC =111
                     AB
                C         00   01    11     10
                 0        1    1

                 1             1     1      1
ตัวอย่าง3 แทนMin Term สมการ 4 ตัวแปร
    𝑄3 = 𝐴 𝐵 𝐶 𝐷 + 𝐴 𝐵 𝐶𝐷 + 𝐴 𝐵𝐶𝐷 + 𝐴𝐵 𝐶 D +
     𝐴𝐵 𝐶𝐷 + 𝐴𝐵𝐶 𝐷+𝐴𝐵𝐶 𝐷 + 𝐴𝐵𝐶𝐷
วิธีทำ
1.   ABCD =0000,ABCD=0011, ABCD=0111,A BCD=0101,
     ABCD=1011, ABCD=1100, ABCD=1101, ABCD=1111
                AB
              CD   00    01   11   10
                00   1        1
                01            1    1
                11   1   1    1    1
                10
วิธีการรวมเทอมบน K-Map
 ใส่ 1 ในกรณี Min Term, 0 ในกรณี Max Term ในช่อง K-Map ที่มีคุณสมบัติ
  ตรงกัน
 รวมเทอมที่อยู่ติดกันได้ครั้งละ 2n ช่อง(1,2,4,8,16,…) ให้ได้มากที่สุด
 เทอมที่ถูกจับกลุ่มไปแล้วสามารถนามาจับกับกลุ่มอื่นได้อีก
 มองหาผลลัพธ์ โดยตัวแปรที่ซ้ากันบ้าง แล้วนามา AND กันถ้าเป็น Min Term
  หรือจับมา OR กันถ้าเป็น Max Term
 ผลลัพธ์สุดท้ายได้จาก
      นาผลลัพธ์มา ORกัน ในกรณีของ Min Term
      หรือนาผลลัพธ์มา AND กัน ในกรณีของ Max Term
ตัวอย่างการลดรูปโดยใช้ K-Map
   𝑄1 = 𝐴 𝐵 + 𝐴𝐵 + 𝐴𝐵 = 𝐴 + 𝐵

               A                 𝐁
           B       0     1

          0        1     1

          1              1

                                     A
ตัวอย่าง 2 การลดรูปโดยใช้ K-Map
 Q2   = AB + AB + AB = A + B

               A                𝐁
           B       0    1

           0       1    1

           1       1

                            𝐀
ตัวอย่าง 3 การลดรูปโดยใช้ K-Map
 Q3   = AB + AB + AB + AB   =1

               A              1
           B       0    1

           0       1    1

           1       1    1
Ch02 linear algrebra2

More Related Content

What's hot

ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดOwen Inkeaw
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...ssuser920267
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกลaoffiz
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตkanokwun131
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาfriend209
 

What's hot (20)

ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกล
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรมO-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
สมดุลกล1
สมดุลกล1สมดุลกล1
สมดุลกล1
 

Similar to Ch02 linear algrebra2

ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Thanuphong Ngoapm
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติThphmo
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมaass012
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์wisita42
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 
คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1Umaporn Suntornsatian
 
คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1Umaporn Suntornsatian
 
คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1kruplemlw
 
คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1Umaporn Suntornsatian
 
คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1Umaporn Suntornsatian
 
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ4821010054
 
Chapter1 vector
Chapter1 vectorChapter1 vector
Chapter1 vectorRangsit
 

Similar to Ch02 linear algrebra2 (20)

ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
Matrix2
Matrix2Matrix2
Matrix2
 
Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
 
chemical equilibrium
chemical equilibriumchemical equilibrium
chemical equilibrium
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
O traverse
O traverseO traverse
O traverse
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
Addition matrix
Addition matrixAddition matrix
Addition matrix
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1
 
คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1
 
คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1
 
คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1
 
คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1คณิตศาสตร์ ม.1
คณิตศาสตร์ ม.1
 
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
ว เคราะห แบบทดสอบ 5 ข_อ
 
Chapter1 vector
Chapter1 vectorChapter1 vector
Chapter1 vector
 
Conc mat กสพท54
Conc mat กสพท54Conc mat กสพท54
Conc mat กสพท54
 

Ch02 linear algrebra2

  • 2. เนื้อหา  พื้นฐานพีชคณิตบูลีน  กฎพื้นฐานและทฤษฎีต่างๆ  ตารางค่าความจริง  เกตตรรกะและวงจร  การลดรูปวงจร 2 วิชา 4442103 คณิตศาสตร์ดิสครีต คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสาน
  • 3. พื้นฐานพีชคณิตบูลีน จอร์จ บูล (George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ผู้คิดค้นพีชคณิตบูลีน
  • 4. พื้นฐานพีชคณิตบูลีน  ระบบของคณิ ต ศาสตร์ ทางตรรกะ ซึ่งเกี่ยวข้องกับทฤษฎี ของบูลีน (Boolean Theory) เป็นทฤษฎีที่ใช้ในการคานวณทางลอจิก โดยใช้ หลักเลขฐาน 2 (0 กับ 1)  มีความสาคัญในการออกแบบวงจรลอจิ กเกท เป็นพื้นฐานของการ ออกแบบอุปกรณ์ดิจิตอล  ผู้คิดค้น : จอร์จ บูล (George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ คิดค้นเมื่อปี ค.ศ. 1854
  • 5. กฎพื้นฐานและทฤษฎีต่างๆ  กฎของ OR  กฎของ AND  กฎของการคอมพลีเมนท์ (Laws of Complementation)  กฎการสลับที่ (Commutative Laws)  กฎการจัดกลุ่ม (Associative Laws)  กฎการกระจาย (Distributive Laws)  กฎการลดทอน (Absorbtive Laws)  ทฤษฎีของเดอมอร์แกน (DeMorgan’s Theorems)
  • 6. กฎของ OR กฎข้อที่ 1 𝐴+0= 𝐴 กฎข้อที่ 2 𝐴+1=1 กฎข้อที่ 3 𝐴+ 𝐴= 𝐴 กฎข้อที่ 4 𝐴+ 𝐴=1
  • 7. กฎของ AND กฎข้อที่ 5 𝐴 .0 = 0 กฎข้อที่ 6 𝐴 .1 = 𝐴 กฎข้อที่ 7 𝐴. 𝐴= 𝐴 กฎข้อที่ 8 𝐴. 𝐴=0
  • 8. กฎของการคอมพลีเมนท์ กฎข้อที่ 9 0=1 กฎข้อที่ 10 1=0 กฎข้อที่ 11 ถ้า 𝐴 = 0 แล้ว 𝐴จะเท่ากับ 1 กฎข้อที่ 12 ถ้า 𝐴 = 1 แล้ว 𝐴จะเท่ากับ 0 กฎข้อที่ 13 𝐴= 𝐴
  • 9. กฎการสลับที่  เป็นกฎของการสลับที่ AND Gate และ OR Gate กฎข้อที่ 14 𝐴+ 𝐵 = 𝐵+ 𝐴 กฎข้อที่ 15 𝐴. 𝐵 = 𝐵. 𝐴
  • 10. กฎการจัดกลุ่ม กฎข้อที่ 16 𝐴+ 𝐵+ 𝐶 = 𝐴+ 𝐵 + 𝐶 กฎข้อที่ 17 𝐴+ 𝐵 + 𝐶+ 𝐷 = 𝐴+ 𝐵+ 𝐶+ 𝐷 กฎข้อที่ 18 𝐴. 𝐵. 𝐶 = 𝐴. 𝐵 . 𝐶
  • 11. กฎการกระจาย กฎข้อที่ 19 𝐴 . 𝐵 + 𝐶 = 𝐴𝐵 + 𝐴𝐶 กฎข้อที่ 20 𝐴 + 𝐵𝐶 = (𝐴 + 𝐵)(𝐴 + 𝐶) กฎข้อที่ 21 𝐴 + 𝐴. 𝐵 = 𝐴 + 𝐵
  • 12. กฎการลดทอน  กฎข้อนี้ช่วยในการลดความซับซ้อนของวงจรลอจิกเกตให้อยู่ในรูป แบบอย่างง่าย ซึ่งมีกฎดังนี้ กฎข้อที่ 22 𝐴 + 𝐴𝐵 = 𝐴 กฎข้อที่ 23 𝐴. 𝐴 + 𝐵 = 𝐴 กฎข้อที่ 24 𝐴. 𝐴 + 𝐵 = 𝐴
  • 13. ตัวอย่าง1 - กฎการลดทอน  จงพิสูจน์ว่าสมการบูลีน AB+ABC =AB เป็นจริง วิธทำ ี F = AB + ABC = AB(1+C) : ดึงตัวร่วม กฎข้อที่ 19 = AB . 1 : เอกลักษณ์ กฎข้อที่ 2 ∴ F = AB : กฎข้อที่ 6
  • 14. ตัวอย่าง2 - กฎการลดทอน  จงพิสูจน์ว่า (A+B)(A+C)+BC = A+BC วิธทำ ี F = (A+B)(A+C)+BC = AA+AC+AB+BC+BC :กระจาย กฎข้อที่ 19 = A+AC+AB+BC+BC : กฎข้อที่ 7 = A+AB+AC+BC+BC : จัดรูป = A(1+B)+AC+BC(1+BC) : ดึงตัวร่วม กฎข้อที่ 19 = A+AC+BC :1+B = 1 กฎข้อที่ 2 = A(1+C)+BC : กฎข้อที่ 19 = A+BC : กฎข้อที่ 2
  • 15. ทฤษฎีของเดอมอร์แกน (DeMorgan’s Theorems)  ใช้ในการลดรูปสมการที่ซับซ้อน มีกฎอยู่ 2 ข้อ ดังนี้  กฎข้อที่ 1 𝐴 + 𝐵 = 𝐴. 𝐵  กฎข้อที่ 2 𝐴. 𝐵 = 𝐴 + 𝐵  เทคนิคการจา : การแยกตัวแปร เครื่องหมายตรงกันข้าม
  • 16. ตัวอย่าง - การลดทอนโดยใช้ทฤษฎีเดอมอร์แกน  𝐴 + 𝐵𝐶 วิธีทำ 𝐴 + 𝐵𝐶 = 𝐴 + 𝐵𝐶 ;เอาคอมพลีเมนท์ออก = 𝐴. (𝐵 + 𝐶) ; สลับเครื่องหมาย = 𝐴. (𝐵 + 𝐶 ) ; ใส่คอมพลีเมนท์คืน ∴ 𝐴 + 𝐵𝐶 = 𝐴. (𝐵 + 𝐶 )
  • 17. ตัวอย่าง2 - การลดทอนโดยใช้ทฤษฎีเดอมอร์แกน  𝐹 = (𝐴 + 𝐵)(𝐶 + 𝐷) วิธทำ ี 𝑭 = (𝐴 + 𝐵)(𝐶 + 𝐷) ; ใช้ทฤษฎีเดอมอร์แกน = (𝐴 + 𝐵)(𝐶 + 𝐷) ; เอาคอมพลีเมนท์ออก = 𝐴𝐵 + 𝐶𝐷 ; กลับเครื่องหมาย = 𝐴𝐵 + 𝐶𝐷 ; นาคอมพลีเมนท์มาใส่คืน ∴ 𝑭 = 𝐴𝐵 + 𝐶𝐷
  • 18. ตารางค่าความจริง (Truth Table)  เป็นตารางที่บอกถึงฟังก์ชันเอาท์พุทของวงจรลอจิก  มีความสัมพันธ์กับวงจรลอจิก  ใช้พิสูจน์หาค่าความจริงของสมการลอจิกได้
  • 19. รูปแบบมาตรฐานของฟังก์ชันบูลีน  Standard Form of Boolean Function  ฟังก์ชันบูลีนมีพื้นฐานบนเลขฐานสองกระทากัน มีค่าเป็น 0 หรือ 1  มักกระทากันด้วย AND GATE, OR GATE, NOT GATE (INVERTER)
  • 21. ผลรวมของผลคูณ (The Sum of Production)  โดยทั่วไปสมการจะถูกเขียนขึ้นแทนด้วย F ฟังก์ชัน  จานวนกรณีค่าความจริง คานวณได้จาก จานวนกรณี = 2n โดย n คือจานวนตัวแปร
  • 22. ตัวอย่างตารางค่าความจริง  𝐹 = 𝐴 𝐵 𝐶 + 𝐴 𝐵𝐶 + 𝐴𝐵 𝐶 + 𝐴𝐵𝐶  F มีตัวแปรทั้งหมด 3 ตัว ดังนั้นเป็นไปได้ทั้งหมด 23 = 8 กรณี A B C F 0 0 0 0 0 0 1 1 0 1 0 1 0 1 1 0 1 0 0 1 1 0 1 0 1 1 0 0 1 1 1 1
  • 23. ผลรวมของผลคูณ (ต่อ) จาก 𝐹 = 𝐴 𝐵 𝐶 + 𝐴 𝐵𝐶 + 𝐴𝐵 𝐶 + 𝐴𝐵𝐶 จะ เห็นได้ว่ามีทั้งหมด 4 เทอมที่ทาการบวก(OR) กันอยู่ เราเรียกแต่ละ เทอมว่า มิน-เทอม (Minterms) ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า F คือผลรวมของ 4 มินเทอม
  • 24. ผลรวมของผลคูณ (ต่อ) ฟังก์ชันบูลีน 3 ตัวแปร จะประกอบด้วยมินเทอมทั้งหมด 23=8 โดยแถวหนึ่งจะมี 1 มินเทอมเรียงตามลาดับจาก 0 – 7 มินเทอม มินเทอมแทนด้วยสัญลักษณ์ m0, m1,m2,…,m2n-1 ;โดย n คือจานวนตัวแปร
  • 25. ตัวอย่างมินเทอมของตัวแปร 3 ตัว เลขฐานสอง มินเทอมของ A,B,C A B C 0 0 0 𝑚0 = 𝐴 𝐵 𝐶 0 0 1 𝑚1 = 𝐴 𝐵 𝐶 0 1 0 𝑚2 = 𝐴 𝐵𝐶 0 1 1 𝑚3 = 𝐴 𝐵𝐶 1 0 0 𝑚4 = 𝐴𝐵 𝐶 1 0 1 𝑚5 = 𝐴𝐵 𝐶 1 1 0 𝑚6 = 𝐴𝐵𝐶 1 1 1 𝑚7 = 𝐴𝐵𝐶
  • 26. ผลคูณของผลบวก (The Product of Sum)  เป็นเหมือนส่วนกลับของ “ผลรวมของผลคูณ” เพียงแค่เปลี่ยนเครื่องหมาย ตรงกันข้าม F = A + B + C . A + B + C . A + B + C . (A + B + C) เราเรียกแต่ละเทอมว่า แมกซ์เทอม (Maxterms) เขียนสัญลักษณ์ แทนด้วย ตัว M ใหญ่ เพราะฉะนั้น F คือผลคูณของ 4 แม็กซ์เทอม
  • 27. ผลคูณของผลบวก (ต่อ) ฟังก์ชันบูลีน 3 ตัวแปร จะประกอบด้วยแม็กเทอมทั้งหมด 23=8 โดยแถวหนึ่งจะมี 1 แม็กซ์เทอมเรียงตามลาดับจาก 0 – 7 แม็กซ์- เทอม แม็กเทอมแทนด้วยสัญลักษณ์ M0, M1,M2,…,M2n-1 ;โดย n คือจานวนตัวแปร
  • 28. ตัวอย่างแม็กซ์เทอมของตัวแปร 3 ตัว เลขฐานสอง แม็กซ์เทอมของ A,B,C A B C 0 0 0 M0 = A + B + C 0 0 1 M1 = A + B + C 0 1 0 M2 = A + B + C 0 1 1 M3 = A + B + C 1 0 0 M4 = A + B + C 1 0 1 M5 = A + B + C 1 1 0 M6 = A + B + C 1 1 1 M7 = A + B + C
  • 29. การลดรูปวงจร  มี 2 วิธี ดังนี้  ใช้ทฤษฎีพีชคณิตบูลีน ( Boolean Algebra)  แผนภาพคานอร์ (Karnaugh Map)
  • 30. ลดรูปโดย ใช้ทฤษฎีพีชคณิตบูลีน ลักษณะ  อาศัยทฤษฎีของพีชคณิตบูลีน  ต้องใช้ทักษะในการแก้โจทย์  มีความยาก หากขนาดของวงจรใหญ่ๆ หรือ มีความซับซ้อน
  • 31. ลดรูปโดย ใช้แผนผังคานอร์ (Karnaugh Map)  เป็นระบบที่ดัดแปลงมาจาก พีชคณิตบูลีน ให้อยู่ในรูปตาราง  ทาการลดรูปสมการลอจิกได้อย่างรวดเร็ว  สามารถลดรูปสมการที่มีตัวแปรไม่เกิน 6 ตัว
  • 32. K-Map A B 0 1 AB C 00 01 11 10 0 0 1 1 K-Map 2 ตัวแปร K-Map 3 ตัวแปร AB CD 00 01 11 10 00 01 11 จานวนช่องตาราง = 2n ; n คือ จานวนตัวแปร 10 K-Map 4 ตัวแปร
  • 33. K-Map แสดงตามรหัส A B 0 1 AB C 00 01 11 10 0 AB AB 0 AB C ABC ABC ABC 1 AB AB 1 AB C ABC ABC ABC K-Map 2 ตัวแปร K-Map 3 ตัวแปร AB CD 00 01 11 10 00 ABCD ABCD ABCD ABCD 01 ABCD ABCD ABCD ABCD 11 ABCD ABCD ABCD ABCD 10 ABCD ABCD ABCD ABCD K-Map 4 ตัวแปร
  • 34. การแทนสมการ K-Map วิธีกำร  ใส่ 1 ลงในช่องที่มีคุณสมบัติตรงกับ ผลบวกของผลคูณ (Min Term)  ใส่ 0 ลงในช่องที่มีคุณสมบัติตรงกับ ผลคูณของผลบวก (Max Term) - Min Term ใส่ 1 ลงใน K-Map - Max Term ใส่ 0 ลงใน K-Map
  • 35. ตัวอย่าง แทนMin Term สมการ 2 ตัวแปร  Q1 = AB + AB + AB วิธทำ ี 1. สมการนี้มี 2 ตัวแปร ดังนั้น K-Map มีจานวนช่อง 22 = 4 ช่อง 2. ใส่ 1 ลงในตาราง ตามตาแหน่ง Min Term โดย AB = 00, AB = 10, AB= 11 A B 0 1 0 1 1 1 1
  • 36. ตัวอย่าง2 แทนMin Term สมการ 3 ตัวแปร  𝑄2 = 𝐴 𝐵 𝐶 + 𝐴 𝐵𝐶 + 𝐴 𝐵𝐶 + 𝐴𝐵 𝐶 + ABC วิธทำ ี 1. สมการนี้มี 3 ตัวแปร ดังนั้น K-Map มีจานวนช่อง 23 = 8 ช่อง 2. ใส่ 1 ลงในตาราง ตามตาแหน่ง Min Term โดย𝐴 𝐵 𝐶 = 000, 𝐴 𝐵𝐶 = 010, 𝐴 𝐵𝐶= 011, 𝐴𝐵 𝐶=101, ABC =111 AB C 00 01 11 10 0 1 1 1 1 1 1
  • 37. ตัวอย่าง3 แทนMin Term สมการ 4 ตัวแปร  𝑄3 = 𝐴 𝐵 𝐶 𝐷 + 𝐴 𝐵 𝐶𝐷 + 𝐴 𝐵𝐶𝐷 + 𝐴𝐵 𝐶 D + 𝐴𝐵 𝐶𝐷 + 𝐴𝐵𝐶 𝐷+𝐴𝐵𝐶 𝐷 + 𝐴𝐵𝐶𝐷 วิธีทำ 1. ABCD =0000,ABCD=0011, ABCD=0111,A BCD=0101, ABCD=1011, ABCD=1100, ABCD=1101, ABCD=1111 AB CD 00 01 11 10 00 1 1 01 1 1 11 1 1 1 1 10
  • 38. วิธีการรวมเทอมบน K-Map  ใส่ 1 ในกรณี Min Term, 0 ในกรณี Max Term ในช่อง K-Map ที่มีคุณสมบัติ ตรงกัน  รวมเทอมที่อยู่ติดกันได้ครั้งละ 2n ช่อง(1,2,4,8,16,…) ให้ได้มากที่สุด  เทอมที่ถูกจับกลุ่มไปแล้วสามารถนามาจับกับกลุ่มอื่นได้อีก  มองหาผลลัพธ์ โดยตัวแปรที่ซ้ากันบ้าง แล้วนามา AND กันถ้าเป็น Min Term หรือจับมา OR กันถ้าเป็น Max Term  ผลลัพธ์สุดท้ายได้จาก  นาผลลัพธ์มา ORกัน ในกรณีของ Min Term  หรือนาผลลัพธ์มา AND กัน ในกรณีของ Max Term
  • 39. ตัวอย่างการลดรูปโดยใช้ K-Map  𝑄1 = 𝐴 𝐵 + 𝐴𝐵 + 𝐴𝐵 = 𝐴 + 𝐵 A 𝐁 B 0 1 0 1 1 1 1 A
  • 40. ตัวอย่าง 2 การลดรูปโดยใช้ K-Map  Q2 = AB + AB + AB = A + B A 𝐁 B 0 1 0 1 1 1 1 𝐀
  • 41. ตัวอย่าง 3 การลดรูปโดยใช้ K-Map  Q3 = AB + AB + AB + AB =1 A 1 B 0 1 0 1 1 1 1 1