SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
หนวยที่ 3
การวัดกําลังไฟฟา
3.1 เครื่องวัดกําลังไฟฟา (Watt meter)
วัตตมิเตอรเปนเครื่องวัดกําลังไฟฟา สวนมากวัตตมิเตอรแบบมีเข็มเบี่ยงเบนใชวัดปริมาณ
กําลังไฟฟาไดทั้งไฟฟากระแสตรงและกระแสสลับ วัตตมิเตอรที่เราพบมากที่สุดเปนแบบอีเล็กโทร
ไดนาโมมิเตอรซึ่งมีลักษณะดังรูปที่ 3.1
รูปที่ 3.1 แสดงวัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอร
วัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอร (Electrodynamometer Watt Meter)
เครื่องวัดกําลังไฟฟาแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอรมีสวนประกอบสําคัญ 2 สวนคือ ขดลวด
สนามแมเหล็กอยูกับที่ และขดลวดเคลื่อนที่ ดังรูปที่ 3.1 ขดลวดสนามแมเหล็กอยูกับที่ (Stationary
field coil) จะตออนุกรมกับไลน (Line)
ดังนั้น ฟลักสแมเหล็กที่เกิดขึ้นที่ขดลวดสนามแมเหล็กนี้ จะขึ้นอยูกับกระแสไฟฟาของ
โหลด ขดลวดสนามแมเหล็กอยูกับที่เรียกวา Stationary field coil ขดลวดเคลื่อนที่ (Moving coil)
จะตอครอมกับ Line ทําใหฟลักสแมเหล็กของขดลวดเคลื่อนทีเปนสัดสวนกับแรงดันไฟฟาใน
ขดลวดเคลื่อนที่ ขดลวดเคลื่อนที่นี้โดยทั่วไปเรียกวา Potential coil
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
2
รูปที่ 3.2 แสดงสวนประกอบของวัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอร
การตอวงจรของรูปขางบนแสดงใหเห็นวาแรงบิดชั่วขณะที่ทําใหเกิดการเบี่ยงเบนของเข็ม
สวนใหญเกิดจากผลคูณของกระแสไฟฟาชั่วขณะใน Stationary field coil ( ขดลวดกระแส) กับ
แรงดันไฟฟาชั่วขณะที่ Potential coil (ขดลวดแรงดัน) ดังนั้นสเกลของวัตตมิเตอรแบบอีเล็ปโทร
ไดนาโมมิเตอรจึงมีขนาดชองเทาๆกัน (Linear scale) ตางจากแอมมิเตอรและโวลทมิเตอรแบบอีเล็ก
โทรไดนาโมมิเตอรที่มีสเกลที่มีขนาดชองไมเทากัน (Non linear scale)
3.1.1. หลักการวัดกําลังไฟฟา
ในการใชเครื่องวัดประเภทนี้วัดกําลังไฟฟาในวงจรไฟฟากระแสสลับ การเบี่ยงเบนของเข็ม
ไมขึ้นอยูกับกระแสไฟฟาใน Stationary field coil ( ขดลวดกระแส) และแรงดันไฟฟาใน Potential
coil (ขดลวดแรงดัน) เทานั้น แตยังขึ้นอยูกับ คาเพาเวอรแฟคเตอร ของโหลดที่ตองการวัดอีกดวย
และสามารถเขียนเปนสมการไดคือ
P = VI cos θ …….…………………(3-1)
กําหนดสเกลของวัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอร จะตองมีการเทียบคาระหวางมุม
ที่เกิดจากการเบี่ยงเบนของเข็มกับปริมาณของกําลังไฟฟาที่ตองการทราบคา คาที่ไดจากสมการเทียบ
คานี้เราเรียกวาคา คงที่ของเครื่องวัด (Instrument Constant : KM) ดังนั้นถาเราทราบคาปริมาณ
กําลังไฟฟา คาคงที่ของเครื่องวัดจะทําใหหาคามุมการเบี่ยงเบนของเข็มไดดังสมการ
θM = KM VI cosθ ………………………. (3-2)
เมื่อ
θM = มุมเบี่ยงเบนของเข็ม
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
3
V = คา RMS ของแรงดันไฟฟาที่ขดลวด Potential coil
KM = คาคงที่ของเครื่องวัด
I = คา RMS ของกระแสไฟฟาที่ขดลวด Current coil
Cos θ = Power factor
ตัวอยางที่ 3.1 วัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอรมีคา KM = 80
/Watt เมื่อนํามาวัด
กําลังไฟฟาในวงจรไฟฟากระแสสลับ ขณะที่โหลดมีคาแรงดันไฟฟา 110 V และกระแสไฟฟา มี
คา 0.05 A Power factor มีคา 0.8 จงหามุมการเบี่ยงเบนของเข็มในเครื่องวัดนี้
วิธีทํา จากสมการ θM = KM VI cosθ
= 8 × 110 × 0.05 × 0.8
= 35.2 0
3.1.2 การตอวัตตมิเตอรในระบบไฟฟาในระบบไฟฟา 1 เฟส และ 3 เฟส
1.) การตอวัตตมิเตอรในระบบไฟฟา 1 เฟส
การตอวัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอร มีหลักการคือ ตองพิจารณาทิศทางของ
กระแสไฟฟาชั่วขณะในขดลวดแตละตัว เพราะขดลวดดังกลาวทําหนาที่กําหนดทิศทาง ของฟลักส
แมเหล็กสวนฟลักสแมเหล็กกําหนดทิศทางของแรงบิดที่ทําใหเข็มเบี่ยงเบน
รูปที่ 3.3 แสดงวงจรภายในวัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอรในระบบไฟฟา 1 เฟส
ขดลวดกระแส
ขดลวดแรงดัน
ขดลวดกระแส ขดลวดกระแส
ขดลวดแรงดัน
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
4
รูปที่ 3.4 แสดงการตอวัตตมิเตอรในระบบไฟฟา 1 เฟส
ถาตอวัตตมิเตอรเขากับวงจรไฟฟาที่มีโหลด โดยกระแสไฟฟาที่โหลด ไหลผาน Current
coil และแรงดันไฟฟาที่ตกครอม Potential coil วัตตมิเตอรจะอานคากําลังไฟฟาที่โหลดได การตอ
วัตตมิเตอรแบบนี้ตองใหกระแสไฟฟาที่โหลดเขาที่ขั้วบวกของ Current coil สวนขั้วบวกของ
Potential coil จะตอไวกับตําแหนงที่แสดงในรูปที่ 3.4 จะทําให Potential coil มีแรงดันไฟฟาที่
ปลายทั้งสองขางแตกตางกัน ทําใหเข็มของวัตตมิเตอรเคลื่อนตัวไปทางขวา หรืออานคาเปนบวก แต
ถาขั้ว Potential coil หรือ Current coil ผิดตําแหนงจะทําใหเข็มเคลื่อนตัวไปทาง ซายและอานคา
เปนลบ
2.) การตอวัตตมิเตอร 1 เฟส ในระบบไฟฟา 3 เฟส
การตอวัตตมิเตอร 1 เฟส ในระบบไฟฟา 3 เฟส กระทําได 2 วิธีคือ ใชวัตตมิเตอร 1 เฟส
จํานวน 3 เครื่อง และใชวัตตมิเตอร 1 เฟส จํานวน 2 เครื่อง ดังนี้
2.1 การใชวัตตมิเตอร 1 เฟส จํานวน 3 เครื่องวัดกําลังไฟฟาระบบ 3 เฟส
การใชวัตตมิเตอร 3 เครื่องเพื่อวัดกําลังไฟฟาของวงจร ที่มีโหลดตอแบบ สตาร
ชนิด 3 เฟส 4 สาย ดังรูปที่ 5 จะเห็นวา Statinary field coil ของวัตตมิเตอรทั้ง 3 ตัว ตอแบบอนุกรม
กับสาย A,B และ C เพื่อวัดกระแสไฟฟาที่ line ซึ่งเปนการวัดกระแสไฟฟาในแตละเฟสดวย สวน
potential coil ของวัตตมิเตอรทั้ง 3 ตัว ตอขั้วบวกเขาที่สาย A,B และ C สวนขั้วลบตอเขากับสาย
Neutral ลักษณะเชนนี้ Potential coil ของเครื่องวัดทั้ง สามเครื่องจะตอแบบสตาร เพื่ออานคา
แรงดันไฟฟาในแตละเฟส ไดเชนกัน
Voltage coil
Current coil
R
SUPPLY
Load
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
5
รูปที่ 2. 57 แสดงการตอวัตตมิเตอร 3 เครื่องในระบบไฟฟา 3 เฟส
รูปที่ 3.5 แสดงการตอวัตตมิเตอร 3 เครื่องในระบบไฟฟา 3 เฟส
สมมุติวา กระแสไฟฟาที่เฟส A ลาหลังแรงดันไฟฟาที่เฟส AAN เปนมุม θA และ
กระแสไฟฟาเฟส B และC นําหนาแรงดันไฟฟาที่ VAN เปนมุม θB และ θC ตามลําดับ จะเขียนเฟส
เซอรไดอะแกรมไดดังรูปที่ 3.5 (ข) เมื่อนําสมการ P = VI cos θ มาพิจารณาจะได
WA = VAN IA cos θA …………………………………(3-25)
WB = VBN IB cos θB ………………………………….(3-25)
WC = VCN IC cos θC ………………………………….(3-27)
จากสมการทําใหทราบวา วัตตมิเตอร A,B,C จะอานคากําลังไฟฟาไดที่เฟส A,B,C
ตามลําดับ ดังนั้นกําลังไฟฟาทั้งสามเฟส จึงเขียนเปนสมการไดดังนี้
PT = WA+ WB+ WC ………………………………….(3-28)
ตัวอยางที่ 3.2 จากรูปที่ 3.5 (ข) ถาวัตตมิเตอร WA WB WC อานคาได 840 W , 915 W , -175 W
ตามลําดับ จงหาคากําลังไฟฟาทั้งหมดของวงจร
วิธีทํา จากสมการ PT = WA+ WB+ WC
= 840 + 915 –175
= 1,580 W
= 1.58 KW
A
B
C
WA
WB
WC
N
Load
A
B
C
WA
WB
Load
WC
ข. การตอแบบเดลตาก.การตอแบบสตาร
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
6
2.2) การตอวัตตมิเตอร 1 เฟส 2 เครื่อง วัดกําลังไฟฟาระบบ 3 เฟส
การตอวัตตมิเตอร 1 เฟส 2 เครื่อง ที่แสดงใหเห็นในรูปที่ 3.6 ใชวัดกําลังไฟฟาที่มีโหลด
สมดุล หรือไมสมดุลก็ได แตกรณีนี้จะแสดงใหเห็นเฉพาะแบบโหลดสมดุลเทานั้น
รูปที่ 3.6 แสดงการตอวัตตมิเตอร 1 เฟส 2 เครื่องวัดกําลังไฟฟา 3 เฟส
จากรูปที่ 3.6 แสดงใหเห็นการตอวัตตมิเตอร 1 เฟส 2 เครื่อง กับโหลดแบบสมดุลที่มี
คาอิมพิแดนซของโหลดเทากับ Z θ∠ ทั้งสามเฟส ถาการเรียงลําดับเฟส ของวงจรเปนแบบ ABC
และกระแสไฟฟาในแตละเฟสลาหลังแรงดันไฟฟาเปนมุม θ ทําใหเขียนเฟสเซอรไดอะแกรมไดดัง
รูป ที่ 3.6 (ข)
เมื่อนําสมการ P = VI cos θ มาพิจารณาจะได คาจากวัตตมิเตอร A และ C จะได
A
AB
cosVW ABA IA=
และ
C
CB
cosVW CBC IC=
กําหนดให
A
AB
∠ = มุมตางเฟสของกระแสไฟฟาที่สาย A กับแรงดันไฟฟาที่สาย VAB
C
CB
∠ = มุมตางเฟสของกระแสไฟฟาที่สาย C กับแรงดันไฟฟาที่สาย VCB
A
B
C
WA
WB
Load
A
B
C
WA
WB
Load
ข. การตอแบบเดลตาก. การตอแบบสตาร
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
7
จากในรูปที่ 3.6 จะไดวา
)-(30
B
CB
และ)(30
A
AB
θ=θ+= °°
แทนคาในสมการ จะได
)(30cosIVW AABA θ+=
และ
)-30cos(IVW CCBC θ=
จากสมการจึงสรุปไดวา การใชวัตตมิเตอรวัดคากําลังไฟฟาของโหลดแบบสมดุล วัตต
มิเตอรตัวหนึ่งจะอานคาได VL ILcos (30° + θ ) และอีกตัวหนึ่งอานคา VL IL cos (30° - θ)
ถากําหนดให W1 และW2 แทนคา WA และ WC
ในสมการ รวมทั้งหลักการทางตรีโกณมิติ
sinYsin XYcosXcos)YXcos( ±=±
ทําใหได
W1 = VL IL (cos 30° cos θ - sin 30° sin θ)
W2 = VL IL (cos 30° cos θ + sin 30° sin θ)
จากสมการจะได
W1 + W2 = θcosIV3 LL
W1 - W2 = θsinIV LL
และนําสมการ W1 + W2 หารดวยสมการ W1 - W2 จะได
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+
=θ
WW
WW
21
12
3tan …………………………………..(3-7)
ในการติดตั้งตําแหนงของวัตตมิเตอรจะติดตั้งที่เฟสคูใดคูหนึ่งก็ได ถาการเรียงลําดับเปน
แบบ ABC อาจพิจารณาไดดังนี้
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
8
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+
−
=θ
WW
WW
AC
AC
3tan
ถาการเรียงลําดับเฟสเปนแบบ CBA จะได
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+
=θ
WW
WW
CA
CA
3tan
จากสมการชวยใหหาคา Power factor ของโหลดสมดุลไดดังตัวอยาง
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+
=θ
WW
WW
tan
AC
AC1
3
ดังนั้น จะไดวา
Power factor = cos θ ……………………….(2.30)
ตัวอยางที่ 3.3 จากรูป 3.7 เปนการตอวัตตมิเตอรเพื่อวัดคากําลังไฟฟาในระบบไฟฟา 3 เฟส ที่มี
โหลดสมดุล ถาคาที่อานไดมีดังนี้คือ 6717 W 2658 W และการเรียงลําดับเฟสเปนแบบ CBA จงหา
คา Power factor ของโหลด
รูปที่ 3.7 การวัดกําลังไฟฟา 3 เฟส ดวยวัตตมิเตอร 2 เครื่องเมื่อโหลดตอแบบเดลตา
วิธีทํา จากสมการ
L1
L2
L3
WA
WC
Load
การตอแบบเดลตา
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
9
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+
−
=θ
WW
WW
AC
AC
3tan
= ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+
−
67172658
67172658
3
= - 0.7499
หาคา มุม θ ไดดังนี้
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+
=θ
WW
WW
tan
AC
AC1
3
= -36.86 °
ดังนั้น Power factor = cos (-36.86°)
= 0.8
3.2. เครื่องวัดพลังงานไฟฟา
กิโลวัตตฮาวรมิเตอรเฟสเดียวแบบอาศัยการเหนี่ยวนําไฟฟา
เครื่องวัดที่อาศัยการเหนี่ยวนําไฟฟาเปนแบบที่ใชกันทั่ว ๆ ไปในเครื่อง
วัดไฟฟากระแสสลับ และมักจะไดพบเห็นเสมอทั้งในบานและในโรงงานอุตสาหกรรม มิเตอรแบบ
นี้จะวัดพลังงานไฟฟาในหนวยกิโลวัตต ฮาวร หรือกิโลวัตตชั่วโมงหลักการทํางานเหมือนกันกับ
เครื่องวัดไฟฟาที่ทํางานดวยการเหนี่ยวนําไฟฟา
สวนประกอบที่เหมือนกันก็คือเคอรเรนคอยล และโวลทเตจคอยล สวนที่แตกตางกันก็คือ
ในเครื่องวัดกําลังไฟฟาหรือวัตตมิเตอรแบบใชสปริง และเข็มชี้ สวนวัตตฮาวรมิเตอรจะใชแผนเหล็ก
หนวง
จากสมการ
C
CB
cosและ
A
AB
cos VWVW CBCABA ∠=∠= II CA
3.2.1 หลักการเครื่องวัดพลังงานไฟฟา
แมเหล็กหนวงจะทําใหเกิดกระแสไหลวนขึ้น ในจานอลูมิเนียม ที่หมุนตลอดเวลา แทนที่
จะใหจานเคลื่อนไปเปนมุมหนึ่งมุมใด เหมือนวัตตมิเตอรที่กลาวมาแลว สวนประกอบ เครื่องวัด
ไฟฟาแบบนี้ประกอบดวยแมเหล็กไฟฟา 2 ชุด คือแมเหล็กไฟฟา M1 และ M2 แมเหล็ก M1
แมเหล็กขนาน ( shunt magnet ) ขดลวดที่ทําใหเกิดแมเหล็กไฟฟาชุดนี้จะตอขนานกับแรงดันของ
โหลด
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
10
กระแสไฟฟา ที่ไหลผานขดลวดชุดนี้ จะแปรผันโดยตรงกับแรงดันของโหลด V
แมเหล็กอีกชุดหนึ่งคือ M2 เรียกวาแมเหล็กอันดับ (series magnet) ขดลวดที่ทําใหเกิดแมเหล็กไฟฟา
ชุดนี้ตออันดับกับโหลด กระแสไฟฟาที่ไหลผานขดลวดชุดนี้จะแปรผันโดยตรงกับกระแสของ
โหลด แมเหล็ก M2 นี้จะสรางเสนแรงแมเหล็ก φ2 ขึ้นมา และแมเหล็ก M1 จะสรางเสนแรงเหล็ก
φ 1 ขึ้นมา
ดังนั้นจึงกลาวไดวา φ2 จะแปรผันโดยตรงกับกระแสของโหลด I และมีเฟสเดียวกับกระแส
ของโหลด I ดวยสวน φ1 จะแปรผันโดยตรงกับแรงดันของโหลด V และมุมตางเฟสกัน 90 องศา ลา
หลังแรงดันของโหลด มุมตางเฟสอันนี้สามารถที่จะปรับแตงไดโดยการปรับตําแหนงของแหวน
ทองแดง C ที่สวมอยูแกนกลางของแมเหล็กขนาน M 1 ดังรูปที่ 3.8
รูปที่ 3.8 แสดงอินดักชั่นมิเตอร
เสนแรงแมเหล็ก φ1 สวนใหญจะเคลื่อนผานชองวางไปยังแกนดานขางของแมเหล็ก M1
แตมีเสนแรงแมเหล็กอีกจํานวนหนึ่งที่มีจํานวนนอยที่เคลื่อนที่ผานจาน D และจะเปนเสนแรง
แมเหล็กที่ทําใหเกิดแรงบิดบายเบนขึ้น เสนแรงแมเหล็ก φ1 และφ2 จะทําใหเกิดแรงดันไฟฟา
เหนี่ยวนําขึ้นในจาน D จะเกิดกระแสไฟฟาไหลวนขึ้นในจาน D ดวย
ปฏิกิริยาระหวางเสนแรงแมเหล็กทั้งสองทั้งสองจํานวนกับกระแสไหลวนทั้งสอง จะทําให
เกิดแรงบิดหรือแรงขับขึ้นมาที่จาน D สวนแรงหนวงหรือแรงบิดควบคุมเกิดขึ้นไดจากแมเหล็กถาวร
หนึ่งคูดังรูปที่ 3.8 ซึ่งติดตั้งเปนแนวเสนตรงตามแนวเสนผาศูนยกลางของจานและใหมีทิศทางของ
อํานาจแมเหล็กของ M1 และ M2 ทั้งนี้เพื่อจะลด ปฏิกิริยาระหวางอํานาจแมเหล็กของ M1 และ M2
LOAD
M1C1
C2
M2
C
D
I I
φ1
φ2
SUPPLY
VOLTAGE V
S N
N S
BRAKING MAGNET
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
11
เมื่อขอบของจาน D เคลื่อนที่ผานชองวางระหวางขั้ว N และขั้ว S ของแมเหล็กหนวงก็จะทํา
ใหเกิดกระแสไฟฟาไหลวนเหนี่ยวนําขึ้นในจาน กระแสไฟจํานวนนี้จะทําใหเกิดแรงหนวงขึ้นซึ่งแรง
หนวง TB จะมีคาดังนี้
r
N
=T
2
B
Φ
……………………………..(3-9)
φ = เสนแรงแมเหล็กของเหล็กหนวง
N = ความเร็วของจานหมุน
r = ความตานทานของวงจรกระแสไหลวนในจาน
∴
TB α N (เพราะวา φ และ r มีคาคงที่เสมอ)
จากรูปที่ 3.9 เปนสวนประกอบของกิโลวัตตฮาวรมิเตอรแบบหนึ่งเฟส หนาปดเปนแบบเข็ม
ชี้ สวนรูป ที่ 3.11 เปนวงจรการตอกิโลวัตตฮาวรมิเตอรเพื่อใชงาน
รูปที่ 3.9 แสดงคอยลแมเหล็ก จานหมุน แมเหล็กหนวง และชุดบอกปริมาณไฟฟา
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
12
3.2.2. การวัดพลังงานไฟฟาในระบบไฟฟา 1 เฟส และ 3 เฟส
1) การวัดพลังงานไฟฟาในระบบไฟฟา 1 เฟส
รูปที่ 3.10 แสดงการตอกิโลวัตตฮาวรมิเตอร 1 เฟส
รูปที่ 3.11 ชุดบอกปริมาณของพลังงานไฟฟา
ชุดบอกปริมาณ ของพลังงานไฟฟา อาจเปนแบบเข็มชี้ หรือแบบไซโคลมิเตอร
(Cyclometor) ชุดบอกปริมาณไฟฟาแบบเกาจะประกอบดวยชุดเฟองทด (เฟองตัวเล็กขับเฟองตัว
ใหญ) 4-6 ตัวที่มีเข็มชี้ยึดติดอยูทุกตัว ใหเข็มชี้เคลื่อนที่ไปบนหนาปทมที่มีสเกลบอกไว สเกลบน
หนาปทมของเฟองหรือเข็มชี้เข็มชี้แตละตัวจะแบงออกไวเปน 10 ชุดเทาๆ กัน
สเกลบนหนาปทมของเฟองตัวใหญจะมีคามากกวาสเกลบนหนาปทมของเฟองตัวเล็ก 10
เทา คือเมื่อเฟองตัวเล็กหมุนไปได 10 รอบ เฟองตัวใหญอยูถัดไปจะหมุนได 1 รอบ โดยเพลาของ
เฟองตัวเล็กจะเปนเพลาเดียวกัน กับเพลาของระบบเคลื่อนที่ของเครื่องวัดพลังงาน ดังเชนรูปที่ 3.12
ลักษณะของกิโลวัตตฮาวรดังแสดงในรูปที่ 3.12
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
13
รูปที่ 3.12 แสดงกิโลวัตตฮาวรมิเตอร
ไดอธิบายมาแลววา แรงบิดบายเบนหรือแรงขับของเครื่องวัดแบบนี้จะเปนสัดสวนกําลัง
ของไฟฟาในวงจรไฟฟานั้น ๆ
∴ Td α VI cos φ ………………………….(3-10)
เมื่อความเร็วของเครื่องวัดคงที่ (Steady speed)
TB = Td
Q TB α N
∴ N α VI cos φ α กําลังไฟฟา (W)
หรือ
N α
10003600
t.cos.I.V
×
φ
RPM
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
14
รูปที่ 3.13 แสดงการตอกิโลวัตตฮาวรมิเตอรรวมกับวัตตมิเตอร แอมปมิเตอร และโวลทมิเตอร
∴ N = K
10003600
t.cos.I.V
×
φ
= K
10003600
t.W
×
(รอบ)
T =
W.K
10003600×
(วินาที)
เมื่อ
K = คาคงที่ของเครื่องวัด (จํานวนรอบ/กิโลวัตตชั่วโมง)
ดังนั้นจํานวนรอบทั้งหมดของเครื่องวัดจะเปนสัดสวนกับพลังงานไฟฟาของจงจรไฟฟา
นั่นเอง วงจรสําหรับการปรับแตงสเกลของเครื่องวัดวัตตอาวรมิเตอรดังรูปที่ 3.14
2. การวัดพลังงานไฟฟาในระบบ 3 เฟส
กิโลวัตตอาวรมิเตอรสามเฟสแบบอาศัยการเหนี่ยวนําไฟฟา
เครื่องวัดแบบนี้เหมือนกับวัตตมิเตอรแบบ 1 เฟสที่กลาวมาแลวคืออาจจะเอากิโลวัตตอาวร
มิเตอร 1 เฟส 3 ตัวมาประกอบรวมกันเปนกิโลวัตตฮาวรมิเตอรสามเฟสชนิดจานหมุน 3 จาน ดังรูปที่
3 . 1 4 (ก) หรืออาจเอากิโลวัตตอารวมิเตอรหนึ่งเฟสสองตัวมาประกอบรวมกันเปนกิโลวัตตอารว
มิเตอรสามเฟสชนิดจานหมุน 2 จาน ดังรูปที่ 3 . 1 4 (ข)
Kwh
Load
Watthour meter
Wattmeter
Voltmeter
Ammeter
P
AC source
I
E
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
15
รูปที่ 3.14 แสดงกิโลวัตตฮาวรมิเตอร 3 เฟส
รูปที่ 3.15 การตอเครื่องวัดไฟฟาเพื่อวัดกําลัง ไฟฟา 3 เฟส ดวยกิโลวัตตอาวรมิเตอร 3 ตัว
ตัวอยางที่ 3.4 วัตตอาวรมิเตอร 1 เฟสขนาด 220 โวลท กระแสไหลผานโหลด 5 แอมปตลอดเวลา 4
ชม.ที่เพาเวอรแฟคเตอร 100% ถาจานของมิเตอรหมุนได 1056 รอบ จงคํานวณหาคาคงที่ของมิเตอร
ในหนวย รอบ/กิโลวัตตชั่วโมง ถาเพาเวอรแฟคเตอร 0.8 อยากทราบวาจะหมุนกี่รอบในเวลาเทาเดิม
วิธีทํา คาพลังงานที่มิเตอรอานไดในเวลา 4 ชั่วโมง
= 1000
45220 ××
= 4.4 kWh
∴ คาคงที่ในหนวยรอบ/kWh =
4.4
1056
= 240 รอบ/kWh
A
B
C
0
A
B
C
ก. ใชกิโลวัตตฮาวรมิเตอร 3 ตัว ข. ใชกิโลวัตตฮาวรมิเตอร 2 ตัว
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
16
เพาเวอรแฟคเตอร 1.0 มิเตอรหมุนได 1056 รอบ
ถาเพาเวอรแฟคเตอร 0.8 มิเตอรหมุนไดเทากับ
1056×0.8 = 844.8 รอบ
ตัวอยางที่ 3.5 คาคงที่ของวัตตฮาวรมิเตอรขนาด 25 แอมป 220 โวลท = 500 รอบ/กิโลวัตตชั่วโมง
ในขณะที่วัดกําลังไฟฟาที่โหลดเต็มที่ (full load) 4400 วัตต จานหมุนได 50 รอบในเวลา 83 วินาที จง
คํานวณหาความคลาดเคลื่อนของมิเตอร
วิธีทํา พลังงาน 1 kWh มิเตอรหมุนได = 500 รอบ
ถา 1000
4400
kWh มิเตอรจะหมุน =
1000
4400500×
รอบ
= 2200 รอบ
∴ ความเร็วใน 1 นาที = 60
2200
= 36.7 รอบ
ถาหากมิเตอรหมุน 50 รอบจะใชเวลา = 7.36
501×
นาที
=
7.36
5060×
วินาที
= 81.7 วินาที
แตเวลาที่ใชในการหมุนจริง ๆ 50 รอบ = 83 วินาที
∴ มิเตอรหมุนชากวาความเปนจริง = 83-81.7
= 1.3 วินาที
∴ % ความคลาดเคลื่อน = 100
7.81
7.8183
×
= 1.59 %
ความคลาดเคลื่อนของกิโลวัตตฮาวมิเตอร
สําหรับความคลาดเคลื่อนของกิโลวัตตฮาวรมิเตอร จะเกิดขึ้นเนื่องจากหลายแหงดวยกัน
ดังนี้
1. ความตางเฟส ไดกลาวมาแลววาเสนแรงแมเหล็กของแมเหล็กขนานจะมีมุมตางเฟสกับ
แรงดัน 90 องศา แตที่จริงแลวไมเปนเชนนั้น เพราะวาในขดลวดแมเหล็กขนานนั้นยังมีคาความ
ตานทานรวมอยูดวย เพราะฉะนั้นที่คาเพาเวอรศูนย แรงบิดจะมีคาไมเปนศูนย ความคลาดเคลื่อนอันนี้
แกไขดวยการปรับแตงตําแหนงของแหวนทองแดง (Shading ring) ที่สวมอยูบนแกนของแมเหล็ก
ขนาน ดังนั้นจึงเรียกแหวนทองแดงนี้วา เครื่องแกเพาเวอรแฟคเตอร (Power factor compensatory)
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
17
2. ความเร็ว ถาใชเครื่องวัดพลังงานไฟฟาไปวัดพลังงานไฟาในวงจรที่มีโหลดเปนความ
ตานทานอยางเดียว เครื่องวัดจะมีความเร็วสูงเกินไปจากความเปนจริง แตเราก็สามารถปรับความเร็ว
ได โดยปรับตําแหนงของแมเหล็กหนวง (braking magnet) ที่เปนแมเหล็กถาวรใหเลื่อนเขาหรือเลื่อน
ออกจากจานได ถาปรับตําแหนงของแมเหล็กหนวง ใหเขาใกลกับจุดศูนยของจานจะทําใหแรง
หนวง (braking torque) ลดลง และถาดึงแมเหล็กออก จะทําใหแรงหนวงเพิ่มขึ้น (full load
adjustment)
พิกัดของวัตตฮาวรมิเตอร หรือกิโลวัตตฮาวรมิเตอรเชนขนาดของแรงดัน กระแส และ
จํานวนรอบตอกิโลวัตตชั่วโมงจะมีบอกไวที่แผนปาย (name plate)
3. ความเสียดทาน ความเสียดทานเกิดขึ้นได เนื่องจากแบริ่งที่รองรับระบบเคลื่อนที่ และ
เกิดจากชุดบอกปริมาณพลังงานไฟฟา แรงเสียดทานหรือความเสียดทานที่เกิดขึ้นนี้อาจทําใหลดลงได
โดยทําใหอัตราสวนของเสนแรงแมเหล็ก φ1และφ2 มีคามากขึ้น โดยใชแหวนทองแดง 2 ชุดเขาชวย
แหวนทองแดงนี้จะสวมอยูที่ปลายของแกนสองแกนที่อยูดานขางทั้งสองของแมเหล็กขนาน
ดังนั้นจะเห็นวาจะมีกระแสไหลวนเกิดขึ้นในแหวนทองแดงทั้งสองนี้ดวย ผลดันนี้จะทําให
เกิดแรงบิดบายเบนขึ้นที่จานดวย แรงบิดบายเบนที่ทําใหเกิดขึ้นเพื่อแกแรงเสียดทานนี้จะมีคามาก
หรือนอยขึ้นอยูกับการปรับตําแหนงของแกนสองแกนที่อยูดานขางทั้งสองของแมเหล็กขนาน วิธีแก
ความเสียดทานนี้จะตองทดลองทําในขณะที่ปอนแรงดันไฟฟาใหกับมิเตอรอยางเดียวเทานั้น โดย
จะตองไมใหระบบเคลื่อนที่หรือจานอลูมิเนียมหมุน (no-load adjustment)
4. เมื่อระบบเคลื่อนที่หมุนชา ๆ (creeping or slow) แตหมุนติดตอกันเรื่อยไปในขณะที่ยัง
ไมมีกระแสของโหลด (ปอนแตแรงดันใหอยางเดียว) อาการแบบนี้อาจจะเนื่องจากการแกแรงเสียด
ทานไมถูกตอง หรือการสั่น (vibration) จากที่อื่น หรือจากสนามแมเหล็กรั่วไหลจากที่อื่น หรือแรงดัน
ที่ปอนใหสูงกวาปกติ วิธีแกไขคือ เจาะรูสองรูบนจานใหอยูในแนวเดียวกันแตลุดานของเพลา การ
เจาะรูเพื่อทําใหสนามแมเหล็กขนานเกิดการบิดเบนตัว (distortion) เมื่อรูหนึ่งบนจานเคลื่อนที่ผาน
ขั้วแมเหล็กขนาน ซึ่งเปนวิธีการที่ปองกันไมใหจานหมุนเมื่อยังไมมีโหลด
5. อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง แทบจะพูดไดวาไมมีผลตอการทํางานของเครื่องวัดแบบนี้เลย
เพราะทุกอยางจะเปลี่ยนแปลงไปพรอม ๆ กันหมด
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
18
3.3 เครื่องวัดตัวประกอบกําลัง
3.3.1 หลักการวัดตัวประกอบกําลัง
1. การวัดกําลังรีแอกทีฟ
การวัดกําลังรีแอกทีฟ มีความสําคัญในการเฝาตรวจโหลด การวัดดังกลาวทําใหผูทํางานได
ขอมูลเกี่ยวกับธรรมชาติของโหลด และทําหนาที่เปนตัวตรวจสอบสําหรับการวัดตัวประกอบกําลัง
เพราะวาอัตราสวนของกําลังรีแอกทีฟตอกําลังจริงคือ คาแทนเจนตของมุมตัวประกอบกําลัง
(Tangent ของมุม φ) นอกจากนั้นเราสามารถไดคากําลังปรากฎจากการวัดกําลังจริงและกําลังรีแอก
ทีฟอีกดวย
วารมิเตอรหนึ่งเฟส ในวงจรเฟสเดียว จะสามารถวัดกําลังรีแอกทีฟโดยใชวารมิเตอรซึ่งเปน
เครื่องวัดแบบอิเล็กโตรไดนาโมมิเตอรเชนเดียวกับวัตตมิเตอร โดยวงจรแรงดันจะมีรีแอกแตนซเชิง
ความเหนี่ยวนําคามากตออนุกรมอยูกับขดลวดเคลื่อนที่แทนความตานทานคาสูง เพื่อทําใหกระแสที่
ไหลในขดลวดเคลื่อนที่ตามแรงดันที่ปอน 90 องศา ดังแสดงในรูปที่ 3.16
รูปที่ 3.16 วารมิเตอร
การวัดกําลังรีแอกทีฟโดยวัตตมิเตอรสองเครื่อง
จากวงจรการตอตามรูปที่ 3..17
รูปที่ 3.17 การตอวัตตมิเตอรสองเครื่อง
Z3 Z2
Z1
1
23
I1
I2
I3
Current coil
L1
R
Movvingcoil
Potentialcoil
LoadLine
Voltage
±
±
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
19
และจากสมการผลตางของกําลังไฟฟาของวัตตมิเตอรทั้งสองเราจะได
tan φ =
3(P -P )2 1
(P -P )2 1
………………( 7-15 )
เพราะวาแทนเจนตของมุมการตาม (Lag) ระหวางกระแสเฟสและแรงดันเฟสของวงจร จะ
เทากับอัตราสวนของกําลังรีแอกทีฟตอกําลังจริง ดังนั้น 3(P -P )2 1 จะแทนกําลังรีแอกทีฟ ดังนั้น
สําหรับโหลดแบบสมดุล กําลังรีแอกทีฟจะเทากับ 3 เทาของผลตางของคาที่อานจากวัตตมิเตอร
สองเครื่องที่ใชในการวัดกําลัง 3 เฟส โดยวีธีวัตตมิเตอร 2 เครื่อง
ซึ่งจาก P2-P1 = VLILsin φ ไดพิสูจนใหเห็นแลววา
3(P -P )2 1 = VLILsin φ ..……………(3-11)
การวัดกําลังรีแอกทีฟดวยวัตตมิเตอรหนึ่งเครื่อง โดยการตอวัตตมิเตอร ดังรูปที่ 3.18 ขณะนี้
กระแสที่ไหลผานขดลวดกระแสเทากับ IB และขดลวดแรงดันคือ VRY จากแผนภาพเฟสเซอรจะเห็น
วามุมระหวาง VRY กับ IB คือ 90 - φ ดังนั้นคาที่อานไดจากวัตตมิเตอรคือ
P = VRY IB cos(90 - φ) = VRY IB sin φ …….…………(3-12)
สําหรับกรณีโหลดแบบสมดุล VRY เทากับ VL และ IB เทากับ IL ดังนั้น
P = VLIL sin φ ...…….. ……...(3-13)
VR
VY
VB
IB
VRY
โหลด
3 เฟส
ขดแรงดัน
ขดกระแส
±
±
R
Y
B
รูปที่ 3.18 การวัดกําลังรีแอกทีฟดวยวัตตมิเตอรหนึ่งเครื่อง
เพระวา กําลังรีแอกทีฟทั้งหมดของโหลดเทากับ 3V IL L sin φ ดังนั้นเพื่อใหไดคากําลังมีแอกทีฟ
ทั้งหมด จะตองคูณคาที่อานไดจากวัตตมิเตอรดวย 3
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
20
3.3.2 การวัดตัวประกอบกําลังในระบบไฟฟา 1 เฟสและ 3 เฟส
เครื่องวัดตัวประกอบกําลัง ( Power Factor Meter )
เปนการดัดแปลงสวนเครื่องวัดที่เปนแบบลิเล็กโทรไดนาโมมิเตอร โดยติดตั้งขดลวด
เคลื่อนที่ 2 ชุด ไขวครอมตั้งฉากซึ่งกันและกันอยูในขดลวดที่อยูกับที่ตามรูปที่ 3.19
รูปที่ 3.19 โครงสรางพื้นฐาน
โดยเหตุที่ไมใชสปริงควบคุม ดังนั้นเมื่อขดลวดสวนเคลื่อนที่อยูในตําแหนงสมดุล แรงบิด
ที่เกิดขึ้นที่ขดลวดเคลื่อนที่แตละชุดจะตองเทากัน แตมีทิศตรงขามกัน
การจัดเรียงในลักษณะนี้ จะเปนพื้นฐานของเครื่องวัดคาตัวประกอบกําลัง ตามรูปที่ 3.20
ขดลวดเคลื่อนที่ที่ติดตั้งฉากซึ่งกันและกัน ขดหนึ่ง ( P2) ตออนุกรมกับ R ( Non - inductive
Resistor) อีกขดหนึ่ง (P1) ตออนุกรมกับ L ดังนั้นกระแสในขดลวดเคลื่อนที่ทั้งสองจะหางกัน 90
องศา
รูปที่ 3.20 เครื่องวัดตัวประกอบกําลัง
ชุดขดลวดกระแส ( Current Coil ) จะตออนุกรมกับสาย ดังนั้นกระแสจะ Inphase กับ
กระแสสาย ถาหากตัวประกอบกําลังเทากับ 1 กระแสในขดลวดเคลื่อนที่ที่อนุกรมกับ R (P2) จะ
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
21
Inphase กับกระแสในขดลวดกระแส แรงบิดที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงระหวางขดลวดทั้งสอง (P2กับ
C) จะทําใหสวนเคลื่อนที่หมุนไปจนกระทั่งระนาบของขดลวดทั้งสอง (P2,C) ขนานกัน ที่ตําแหนง
นี้ ระนาบของ P2 จะตั้งฉากกับสนามเนื่องจากขดกระแส และใหเข็มชี้ชี้คาตัวประกอบกําลังเปน
1.0 (เพราะวากระแสที่เขาสูขดลวดอีกขดหนึ่งจะตางเฟสไป 90 องศา ดังนั้นจะไมมีแรงบิดเกิดที่
ขดลวดนี้)
ที่คาตัวประกอบกําลังเปนศูนย กระแสในขดลวดเคลื่อนที่ที่ตออนุกรมกับ L (P1) จะ
Inphase กับกระแสในขดลวดกระแส ทําใหขดลวดเคลื่อนที่หมุนจะระนาบของขดลวดทั้งสอง
(P1,C) ขนานกัน กระแสในขดลวดเคลื่อนที่ที่ตออนุกรมกับ R (P2) จะตางเฟสไป 90 องศากับ
กระแสที่ผานขดลวดกระแส ดังนั้นขดลวดนี้จะไมเกิดแรงบิด
ที่คาตัวประกอบกําลังกลาง ๆ การเบี่ยงเบนของเข็มจะขึ้นอยูกับเฟสคามุม ∅ เนื่องจากไม
มีแรงบิดตาน ดังนั้น ระบบสวนเครื่องเคลื่อนที่จะตองวางแนวตัวเองเพื่อจะไมใหมีแรงบิดลัพธ
ดังนั้น
( )0 2dMdM1
VI cos +VIcos -90 =0
dφ d
φ φ
φ
.……………………(3-14)
ถากําหนดใหความเหนี่ยวนํารวมระหวางขดลวดกระแสกับขด P1 เปน
1 1M = k cosθ …………………..(3-15)
และถากําหนดใหความเหนี่ยวนํารวมระหวางขดลวดกระแสกับขด P2 เปน
2 1M = k sinθ ……………………(3-16)
ดังนั้นตําแหนงหยุดของเครื่องวัดนี้ เกิดขึ้นเมื่อ
θ = φ ……………………(3-17)
เพาเวอรแฟคเตอรมิเตอรสําหรับระบบไฟฟา 3 - เฟส
เพาเวอรแฟคเตอรมิเตอรที่ใชกับระบบไฟฟา 3- เฟส นั้น แตกตางไปจากเพาเวอรแฟค
เตอรที่ใชกับระบบไฟฟา 1 – เฟส โดยขดลวดแรงเคลื่อนไฟฟาทั้ง 2 ชุด มีเพียงการตอความ
ตานทานเทานั้น วงจรการตอตามมาตรฐานดังรูปที่ 3.21 ก) 21 II = กระแสไฟฟา ไหลผาน
ขดลวดแรงเคลื่อนไฟฟาทั้งสองและอินเฟสกับ 12U และ 13U ตามลําดับ 1U รูปที่ 3.21 ข)
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
22
ก) ข)
รูปที่ 3.21 วงจรภายในเครื่องวัดอิเล็กโทรไดนามิคแบบขดลวดไขว สําหรับเพาเวอรแฟคเตอรของ
ภาระไฟฟา 3 – เฟส ในระบบไฟฟา 3 – เฟส ก) การตอเครื่องวัดทางออม ข) เวคเตอร
ไดอแกรมกระแสไฟฟา 1I , 2I และ 3I
จากสมการของเข็มชี้
F(∝) = ( )
( )0
1
0
2
30cos.
30cos.
+
−
ϕ
ϕ
I
I
= ( )
( )0
0
30cos
30cos
.1
+
−
ϕ
ϕ
จากสมการขางบนนี้แสดงใหเห็นวา อยางไรก็ตามเข็มชี้ของเครื่องวัดยังคงขึ้นอยูกับมุมตาง
เฟสระหวางแรงเคลื่อนไฟฟาและกระแสไฟฟาของภาระไฟฟา ซึ่งเราสามารถทําการคาลิเบรทสเกล
ใหอานเปน cosϕ ไดเชนเดียวกัน
--------------------------
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
23
แบบฝกหัดหนวยที่ 3
1.

More Related Content

What's hot

ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1Theerawat Duangsin
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2Teerapong Iemyong
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1MaloNe Wanger
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์Jiraporn
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2Apinya Phuadsing
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...suffaval
 

What's hot (18)

ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
Electronic
ElectronicElectronic
Electronic
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
เทวินิน
เทวินินเทวินิน
เทวินิน
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
 

Similar to Meter

หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าNapasorn Juiin
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าการประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptxkhwanchaipawasan2
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knokZHEZA
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2Somporn Laothongsarn
 

Similar to Meter (20)

Lesson11
Lesson11Lesson11
Lesson11
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
A ccircuit
A ccircuitA ccircuit
A ccircuit
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
Lab9 (1)
Lab9 (1)Lab9 (1)
Lab9 (1)
 
Electricity atom energy
Electricity atom energyElectricity atom energy
Electricity atom energy
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าการประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
 
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
Electricity atom energy
Electricity atom energyElectricity atom energy
Electricity atom energy
 
Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knok
 
Ohm law
Ohm lawOhm law
Ohm law
 
Electricity lecture 2012 Week01
Electricity lecture 2012  Week01Electricity lecture 2012  Week01
Electricity lecture 2012 Week01
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 

Meter

  • 1. หนวยที่ 3 การวัดกําลังไฟฟา 3.1 เครื่องวัดกําลังไฟฟา (Watt meter) วัตตมิเตอรเปนเครื่องวัดกําลังไฟฟา สวนมากวัตตมิเตอรแบบมีเข็มเบี่ยงเบนใชวัดปริมาณ กําลังไฟฟาไดทั้งไฟฟากระแสตรงและกระแสสลับ วัตตมิเตอรที่เราพบมากที่สุดเปนแบบอีเล็กโทร ไดนาโมมิเตอรซึ่งมีลักษณะดังรูปที่ 3.1 รูปที่ 3.1 แสดงวัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอร วัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอร (Electrodynamometer Watt Meter) เครื่องวัดกําลังไฟฟาแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอรมีสวนประกอบสําคัญ 2 สวนคือ ขดลวด สนามแมเหล็กอยูกับที่ และขดลวดเคลื่อนที่ ดังรูปที่ 3.1 ขดลวดสนามแมเหล็กอยูกับที่ (Stationary field coil) จะตออนุกรมกับไลน (Line) ดังนั้น ฟลักสแมเหล็กที่เกิดขึ้นที่ขดลวดสนามแมเหล็กนี้ จะขึ้นอยูกับกระแสไฟฟาของ โหลด ขดลวดสนามแมเหล็กอยูกับที่เรียกวา Stationary field coil ขดลวดเคลื่อนที่ (Moving coil) จะตอครอมกับ Line ทําใหฟลักสแมเหล็กของขดลวดเคลื่อนทีเปนสัดสวนกับแรงดันไฟฟาใน ขดลวดเคลื่อนที่ ขดลวดเคลื่อนที่นี้โดยทั่วไปเรียกวา Potential coil
  • 2. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 2 รูปที่ 3.2 แสดงสวนประกอบของวัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอร การตอวงจรของรูปขางบนแสดงใหเห็นวาแรงบิดชั่วขณะที่ทําใหเกิดการเบี่ยงเบนของเข็ม สวนใหญเกิดจากผลคูณของกระแสไฟฟาชั่วขณะใน Stationary field coil ( ขดลวดกระแส) กับ แรงดันไฟฟาชั่วขณะที่ Potential coil (ขดลวดแรงดัน) ดังนั้นสเกลของวัตตมิเตอรแบบอีเล็ปโทร ไดนาโมมิเตอรจึงมีขนาดชองเทาๆกัน (Linear scale) ตางจากแอมมิเตอรและโวลทมิเตอรแบบอีเล็ก โทรไดนาโมมิเตอรที่มีสเกลที่มีขนาดชองไมเทากัน (Non linear scale) 3.1.1. หลักการวัดกําลังไฟฟา ในการใชเครื่องวัดประเภทนี้วัดกําลังไฟฟาในวงจรไฟฟากระแสสลับ การเบี่ยงเบนของเข็ม ไมขึ้นอยูกับกระแสไฟฟาใน Stationary field coil ( ขดลวดกระแส) และแรงดันไฟฟาใน Potential coil (ขดลวดแรงดัน) เทานั้น แตยังขึ้นอยูกับ คาเพาเวอรแฟคเตอร ของโหลดที่ตองการวัดอีกดวย และสามารถเขียนเปนสมการไดคือ P = VI cos θ …….…………………(3-1) กําหนดสเกลของวัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอร จะตองมีการเทียบคาระหวางมุม ที่เกิดจากการเบี่ยงเบนของเข็มกับปริมาณของกําลังไฟฟาที่ตองการทราบคา คาที่ไดจากสมการเทียบ คานี้เราเรียกวาคา คงที่ของเครื่องวัด (Instrument Constant : KM) ดังนั้นถาเราทราบคาปริมาณ กําลังไฟฟา คาคงที่ของเครื่องวัดจะทําใหหาคามุมการเบี่ยงเบนของเข็มไดดังสมการ θM = KM VI cosθ ………………………. (3-2) เมื่อ θM = มุมเบี่ยงเบนของเข็ม
  • 3. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 3 V = คา RMS ของแรงดันไฟฟาที่ขดลวด Potential coil KM = คาคงที่ของเครื่องวัด I = คา RMS ของกระแสไฟฟาที่ขดลวด Current coil Cos θ = Power factor ตัวอยางที่ 3.1 วัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอรมีคา KM = 80 /Watt เมื่อนํามาวัด กําลังไฟฟาในวงจรไฟฟากระแสสลับ ขณะที่โหลดมีคาแรงดันไฟฟา 110 V และกระแสไฟฟา มี คา 0.05 A Power factor มีคา 0.8 จงหามุมการเบี่ยงเบนของเข็มในเครื่องวัดนี้ วิธีทํา จากสมการ θM = KM VI cosθ = 8 × 110 × 0.05 × 0.8 = 35.2 0 3.1.2 การตอวัตตมิเตอรในระบบไฟฟาในระบบไฟฟา 1 เฟส และ 3 เฟส 1.) การตอวัตตมิเตอรในระบบไฟฟา 1 เฟส การตอวัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอร มีหลักการคือ ตองพิจารณาทิศทางของ กระแสไฟฟาชั่วขณะในขดลวดแตละตัว เพราะขดลวดดังกลาวทําหนาที่กําหนดทิศทาง ของฟลักส แมเหล็กสวนฟลักสแมเหล็กกําหนดทิศทางของแรงบิดที่ทําใหเข็มเบี่ยงเบน รูปที่ 3.3 แสดงวงจรภายในวัตตมิเตอรแบบอีเล็กโทรไดนาโมมิเตอรในระบบไฟฟา 1 เฟส ขดลวดกระแส ขดลวดแรงดัน ขดลวดกระแส ขดลวดกระแส ขดลวดแรงดัน
  • 4. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 4 รูปที่ 3.4 แสดงการตอวัตตมิเตอรในระบบไฟฟา 1 เฟส ถาตอวัตตมิเตอรเขากับวงจรไฟฟาที่มีโหลด โดยกระแสไฟฟาที่โหลด ไหลผาน Current coil และแรงดันไฟฟาที่ตกครอม Potential coil วัตตมิเตอรจะอานคากําลังไฟฟาที่โหลดได การตอ วัตตมิเตอรแบบนี้ตองใหกระแสไฟฟาที่โหลดเขาที่ขั้วบวกของ Current coil สวนขั้วบวกของ Potential coil จะตอไวกับตําแหนงที่แสดงในรูปที่ 3.4 จะทําให Potential coil มีแรงดันไฟฟาที่ ปลายทั้งสองขางแตกตางกัน ทําใหเข็มของวัตตมิเตอรเคลื่อนตัวไปทางขวา หรืออานคาเปนบวก แต ถาขั้ว Potential coil หรือ Current coil ผิดตําแหนงจะทําใหเข็มเคลื่อนตัวไปทาง ซายและอานคา เปนลบ 2.) การตอวัตตมิเตอร 1 เฟส ในระบบไฟฟา 3 เฟส การตอวัตตมิเตอร 1 เฟส ในระบบไฟฟา 3 เฟส กระทําได 2 วิธีคือ ใชวัตตมิเตอร 1 เฟส จํานวน 3 เครื่อง และใชวัตตมิเตอร 1 เฟส จํานวน 2 เครื่อง ดังนี้ 2.1 การใชวัตตมิเตอร 1 เฟส จํานวน 3 เครื่องวัดกําลังไฟฟาระบบ 3 เฟส การใชวัตตมิเตอร 3 เครื่องเพื่อวัดกําลังไฟฟาของวงจร ที่มีโหลดตอแบบ สตาร ชนิด 3 เฟส 4 สาย ดังรูปที่ 5 จะเห็นวา Statinary field coil ของวัตตมิเตอรทั้ง 3 ตัว ตอแบบอนุกรม กับสาย A,B และ C เพื่อวัดกระแสไฟฟาที่ line ซึ่งเปนการวัดกระแสไฟฟาในแตละเฟสดวย สวน potential coil ของวัตตมิเตอรทั้ง 3 ตัว ตอขั้วบวกเขาที่สาย A,B และ C สวนขั้วลบตอเขากับสาย Neutral ลักษณะเชนนี้ Potential coil ของเครื่องวัดทั้ง สามเครื่องจะตอแบบสตาร เพื่ออานคา แรงดันไฟฟาในแตละเฟส ไดเชนกัน Voltage coil Current coil R SUPPLY Load
  • 5. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 5 รูปที่ 2. 57 แสดงการตอวัตตมิเตอร 3 เครื่องในระบบไฟฟา 3 เฟส รูปที่ 3.5 แสดงการตอวัตตมิเตอร 3 เครื่องในระบบไฟฟา 3 เฟส สมมุติวา กระแสไฟฟาที่เฟส A ลาหลังแรงดันไฟฟาที่เฟส AAN เปนมุม θA และ กระแสไฟฟาเฟส B และC นําหนาแรงดันไฟฟาที่ VAN เปนมุม θB และ θC ตามลําดับ จะเขียนเฟส เซอรไดอะแกรมไดดังรูปที่ 3.5 (ข) เมื่อนําสมการ P = VI cos θ มาพิจารณาจะได WA = VAN IA cos θA …………………………………(3-25) WB = VBN IB cos θB ………………………………….(3-25) WC = VCN IC cos θC ………………………………….(3-27) จากสมการทําใหทราบวา วัตตมิเตอร A,B,C จะอานคากําลังไฟฟาไดที่เฟส A,B,C ตามลําดับ ดังนั้นกําลังไฟฟาทั้งสามเฟส จึงเขียนเปนสมการไดดังนี้ PT = WA+ WB+ WC ………………………………….(3-28) ตัวอยางที่ 3.2 จากรูปที่ 3.5 (ข) ถาวัตตมิเตอร WA WB WC อานคาได 840 W , 915 W , -175 W ตามลําดับ จงหาคากําลังไฟฟาทั้งหมดของวงจร วิธีทํา จากสมการ PT = WA+ WB+ WC = 840 + 915 –175 = 1,580 W = 1.58 KW A B C WA WB WC N Load A B C WA WB Load WC ข. การตอแบบเดลตาก.การตอแบบสตาร
  • 6. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 6 2.2) การตอวัตตมิเตอร 1 เฟส 2 เครื่อง วัดกําลังไฟฟาระบบ 3 เฟส การตอวัตตมิเตอร 1 เฟส 2 เครื่อง ที่แสดงใหเห็นในรูปที่ 3.6 ใชวัดกําลังไฟฟาที่มีโหลด สมดุล หรือไมสมดุลก็ได แตกรณีนี้จะแสดงใหเห็นเฉพาะแบบโหลดสมดุลเทานั้น รูปที่ 3.6 แสดงการตอวัตตมิเตอร 1 เฟส 2 เครื่องวัดกําลังไฟฟา 3 เฟส จากรูปที่ 3.6 แสดงใหเห็นการตอวัตตมิเตอร 1 เฟส 2 เครื่อง กับโหลดแบบสมดุลที่มี คาอิมพิแดนซของโหลดเทากับ Z θ∠ ทั้งสามเฟส ถาการเรียงลําดับเฟส ของวงจรเปนแบบ ABC และกระแสไฟฟาในแตละเฟสลาหลังแรงดันไฟฟาเปนมุม θ ทําใหเขียนเฟสเซอรไดอะแกรมไดดัง รูป ที่ 3.6 (ข) เมื่อนําสมการ P = VI cos θ มาพิจารณาจะได คาจากวัตตมิเตอร A และ C จะได A AB cosVW ABA IA= และ C CB cosVW CBC IC= กําหนดให A AB ∠ = มุมตางเฟสของกระแสไฟฟาที่สาย A กับแรงดันไฟฟาที่สาย VAB C CB ∠ = มุมตางเฟสของกระแสไฟฟาที่สาย C กับแรงดันไฟฟาที่สาย VCB A B C WA WB Load A B C WA WB Load ข. การตอแบบเดลตาก. การตอแบบสตาร
  • 7. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 7 จากในรูปที่ 3.6 จะไดวา )-(30 B CB และ)(30 A AB θ=θ+= °° แทนคาในสมการ จะได )(30cosIVW AABA θ+= และ )-30cos(IVW CCBC θ= จากสมการจึงสรุปไดวา การใชวัตตมิเตอรวัดคากําลังไฟฟาของโหลดแบบสมดุล วัตต มิเตอรตัวหนึ่งจะอานคาได VL ILcos (30° + θ ) และอีกตัวหนึ่งอานคา VL IL cos (30° - θ) ถากําหนดให W1 และW2 แทนคา WA และ WC ในสมการ รวมทั้งหลักการทางตรีโกณมิติ sinYsin XYcosXcos)YXcos( ±=± ทําใหได W1 = VL IL (cos 30° cos θ - sin 30° sin θ) W2 = VL IL (cos 30° cos θ + sin 30° sin θ) จากสมการจะได W1 + W2 = θcosIV3 LL W1 - W2 = θsinIV LL และนําสมการ W1 + W2 หารดวยสมการ W1 - W2 จะได ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + =θ WW WW 21 12 3tan …………………………………..(3-7) ในการติดตั้งตําแหนงของวัตตมิเตอรจะติดตั้งที่เฟสคูใดคูหนึ่งก็ได ถาการเรียงลําดับเปน แบบ ABC อาจพิจารณาไดดังนี้
  • 8. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 8 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + − =θ WW WW AC AC 3tan ถาการเรียงลําดับเฟสเปนแบบ CBA จะได ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + =θ WW WW CA CA 3tan จากสมการชวยใหหาคา Power factor ของโหลดสมดุลไดดังตัวอยาง ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + =θ WW WW tan AC AC1 3 ดังนั้น จะไดวา Power factor = cos θ ……………………….(2.30) ตัวอยางที่ 3.3 จากรูป 3.7 เปนการตอวัตตมิเตอรเพื่อวัดคากําลังไฟฟาในระบบไฟฟา 3 เฟส ที่มี โหลดสมดุล ถาคาที่อานไดมีดังนี้คือ 6717 W 2658 W และการเรียงลําดับเฟสเปนแบบ CBA จงหา คา Power factor ของโหลด รูปที่ 3.7 การวัดกําลังไฟฟา 3 เฟส ดวยวัตตมิเตอร 2 เครื่องเมื่อโหลดตอแบบเดลตา วิธีทํา จากสมการ L1 L2 L3 WA WC Load การตอแบบเดลตา
  • 9. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 9 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + − =θ WW WW AC AC 3tan = ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + − 67172658 67172658 3 = - 0.7499 หาคา มุม θ ไดดังนี้ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + =θ WW WW tan AC AC1 3 = -36.86 ° ดังนั้น Power factor = cos (-36.86°) = 0.8 3.2. เครื่องวัดพลังงานไฟฟา กิโลวัตตฮาวรมิเตอรเฟสเดียวแบบอาศัยการเหนี่ยวนําไฟฟา เครื่องวัดที่อาศัยการเหนี่ยวนําไฟฟาเปนแบบที่ใชกันทั่ว ๆ ไปในเครื่อง วัดไฟฟากระแสสลับ และมักจะไดพบเห็นเสมอทั้งในบานและในโรงงานอุตสาหกรรม มิเตอรแบบ นี้จะวัดพลังงานไฟฟาในหนวยกิโลวัตต ฮาวร หรือกิโลวัตตชั่วโมงหลักการทํางานเหมือนกันกับ เครื่องวัดไฟฟาที่ทํางานดวยการเหนี่ยวนําไฟฟา สวนประกอบที่เหมือนกันก็คือเคอรเรนคอยล และโวลทเตจคอยล สวนที่แตกตางกันก็คือ ในเครื่องวัดกําลังไฟฟาหรือวัตตมิเตอรแบบใชสปริง และเข็มชี้ สวนวัตตฮาวรมิเตอรจะใชแผนเหล็ก หนวง จากสมการ C CB cosและ A AB cos VWVW CBCABA ∠=∠= II CA 3.2.1 หลักการเครื่องวัดพลังงานไฟฟา แมเหล็กหนวงจะทําใหเกิดกระแสไหลวนขึ้น ในจานอลูมิเนียม ที่หมุนตลอดเวลา แทนที่ จะใหจานเคลื่อนไปเปนมุมหนึ่งมุมใด เหมือนวัตตมิเตอรที่กลาวมาแลว สวนประกอบ เครื่องวัด ไฟฟาแบบนี้ประกอบดวยแมเหล็กไฟฟา 2 ชุด คือแมเหล็กไฟฟา M1 และ M2 แมเหล็ก M1 แมเหล็กขนาน ( shunt magnet ) ขดลวดที่ทําใหเกิดแมเหล็กไฟฟาชุดนี้จะตอขนานกับแรงดันของ โหลด
  • 10. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 10 กระแสไฟฟา ที่ไหลผานขดลวดชุดนี้ จะแปรผันโดยตรงกับแรงดันของโหลด V แมเหล็กอีกชุดหนึ่งคือ M2 เรียกวาแมเหล็กอันดับ (series magnet) ขดลวดที่ทําใหเกิดแมเหล็กไฟฟา ชุดนี้ตออันดับกับโหลด กระแสไฟฟาที่ไหลผานขดลวดชุดนี้จะแปรผันโดยตรงกับกระแสของ โหลด แมเหล็ก M2 นี้จะสรางเสนแรงแมเหล็ก φ2 ขึ้นมา และแมเหล็ก M1 จะสรางเสนแรงเหล็ก φ 1 ขึ้นมา ดังนั้นจึงกลาวไดวา φ2 จะแปรผันโดยตรงกับกระแสของโหลด I และมีเฟสเดียวกับกระแส ของโหลด I ดวยสวน φ1 จะแปรผันโดยตรงกับแรงดันของโหลด V และมุมตางเฟสกัน 90 องศา ลา หลังแรงดันของโหลด มุมตางเฟสอันนี้สามารถที่จะปรับแตงไดโดยการปรับตําแหนงของแหวน ทองแดง C ที่สวมอยูแกนกลางของแมเหล็กขนาน M 1 ดังรูปที่ 3.8 รูปที่ 3.8 แสดงอินดักชั่นมิเตอร เสนแรงแมเหล็ก φ1 สวนใหญจะเคลื่อนผานชองวางไปยังแกนดานขางของแมเหล็ก M1 แตมีเสนแรงแมเหล็กอีกจํานวนหนึ่งที่มีจํานวนนอยที่เคลื่อนที่ผานจาน D และจะเปนเสนแรง แมเหล็กที่ทําใหเกิดแรงบิดบายเบนขึ้น เสนแรงแมเหล็ก φ1 และφ2 จะทําใหเกิดแรงดันไฟฟา เหนี่ยวนําขึ้นในจาน D จะเกิดกระแสไฟฟาไหลวนขึ้นในจาน D ดวย ปฏิกิริยาระหวางเสนแรงแมเหล็กทั้งสองทั้งสองจํานวนกับกระแสไหลวนทั้งสอง จะทําให เกิดแรงบิดหรือแรงขับขึ้นมาที่จาน D สวนแรงหนวงหรือแรงบิดควบคุมเกิดขึ้นไดจากแมเหล็กถาวร หนึ่งคูดังรูปที่ 3.8 ซึ่งติดตั้งเปนแนวเสนตรงตามแนวเสนผาศูนยกลางของจานและใหมีทิศทางของ อํานาจแมเหล็กของ M1 และ M2 ทั้งนี้เพื่อจะลด ปฏิกิริยาระหวางอํานาจแมเหล็กของ M1 และ M2 LOAD M1C1 C2 M2 C D I I φ1 φ2 SUPPLY VOLTAGE V S N N S BRAKING MAGNET
  • 11. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 11 เมื่อขอบของจาน D เคลื่อนที่ผานชองวางระหวางขั้ว N และขั้ว S ของแมเหล็กหนวงก็จะทํา ใหเกิดกระแสไฟฟาไหลวนเหนี่ยวนําขึ้นในจาน กระแสไฟจํานวนนี้จะทําใหเกิดแรงหนวงขึ้นซึ่งแรง หนวง TB จะมีคาดังนี้ r N =T 2 B Φ ……………………………..(3-9) φ = เสนแรงแมเหล็กของเหล็กหนวง N = ความเร็วของจานหมุน r = ความตานทานของวงจรกระแสไหลวนในจาน ∴ TB α N (เพราะวา φ และ r มีคาคงที่เสมอ) จากรูปที่ 3.9 เปนสวนประกอบของกิโลวัตตฮาวรมิเตอรแบบหนึ่งเฟส หนาปดเปนแบบเข็ม ชี้ สวนรูป ที่ 3.11 เปนวงจรการตอกิโลวัตตฮาวรมิเตอรเพื่อใชงาน รูปที่ 3.9 แสดงคอยลแมเหล็ก จานหมุน แมเหล็กหนวง และชุดบอกปริมาณไฟฟา
  • 12. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 12 3.2.2. การวัดพลังงานไฟฟาในระบบไฟฟา 1 เฟส และ 3 เฟส 1) การวัดพลังงานไฟฟาในระบบไฟฟา 1 เฟส รูปที่ 3.10 แสดงการตอกิโลวัตตฮาวรมิเตอร 1 เฟส รูปที่ 3.11 ชุดบอกปริมาณของพลังงานไฟฟา ชุดบอกปริมาณ ของพลังงานไฟฟา อาจเปนแบบเข็มชี้ หรือแบบไซโคลมิเตอร (Cyclometor) ชุดบอกปริมาณไฟฟาแบบเกาจะประกอบดวยชุดเฟองทด (เฟองตัวเล็กขับเฟองตัว ใหญ) 4-6 ตัวที่มีเข็มชี้ยึดติดอยูทุกตัว ใหเข็มชี้เคลื่อนที่ไปบนหนาปทมที่มีสเกลบอกไว สเกลบน หนาปทมของเฟองหรือเข็มชี้เข็มชี้แตละตัวจะแบงออกไวเปน 10 ชุดเทาๆ กัน สเกลบนหนาปทมของเฟองตัวใหญจะมีคามากกวาสเกลบนหนาปทมของเฟองตัวเล็ก 10 เทา คือเมื่อเฟองตัวเล็กหมุนไปได 10 รอบ เฟองตัวใหญอยูถัดไปจะหมุนได 1 รอบ โดยเพลาของ เฟองตัวเล็กจะเปนเพลาเดียวกัน กับเพลาของระบบเคลื่อนที่ของเครื่องวัดพลังงาน ดังเชนรูปที่ 3.12 ลักษณะของกิโลวัตตฮาวรดังแสดงในรูปที่ 3.12
  • 13. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 13 รูปที่ 3.12 แสดงกิโลวัตตฮาวรมิเตอร ไดอธิบายมาแลววา แรงบิดบายเบนหรือแรงขับของเครื่องวัดแบบนี้จะเปนสัดสวนกําลัง ของไฟฟาในวงจรไฟฟานั้น ๆ ∴ Td α VI cos φ ………………………….(3-10) เมื่อความเร็วของเครื่องวัดคงที่ (Steady speed) TB = Td Q TB α N ∴ N α VI cos φ α กําลังไฟฟา (W) หรือ N α 10003600 t.cos.I.V × φ RPM
  • 14. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 14 รูปที่ 3.13 แสดงการตอกิโลวัตตฮาวรมิเตอรรวมกับวัตตมิเตอร แอมปมิเตอร และโวลทมิเตอร ∴ N = K 10003600 t.cos.I.V × φ = K 10003600 t.W × (รอบ) T = W.K 10003600× (วินาที) เมื่อ K = คาคงที่ของเครื่องวัด (จํานวนรอบ/กิโลวัตตชั่วโมง) ดังนั้นจํานวนรอบทั้งหมดของเครื่องวัดจะเปนสัดสวนกับพลังงานไฟฟาของจงจรไฟฟา นั่นเอง วงจรสําหรับการปรับแตงสเกลของเครื่องวัดวัตตอาวรมิเตอรดังรูปที่ 3.14 2. การวัดพลังงานไฟฟาในระบบ 3 เฟส กิโลวัตตอาวรมิเตอรสามเฟสแบบอาศัยการเหนี่ยวนําไฟฟา เครื่องวัดแบบนี้เหมือนกับวัตตมิเตอรแบบ 1 เฟสที่กลาวมาแลวคืออาจจะเอากิโลวัตตอาวร มิเตอร 1 เฟส 3 ตัวมาประกอบรวมกันเปนกิโลวัตตฮาวรมิเตอรสามเฟสชนิดจานหมุน 3 จาน ดังรูปที่ 3 . 1 4 (ก) หรืออาจเอากิโลวัตตอารวมิเตอรหนึ่งเฟสสองตัวมาประกอบรวมกันเปนกิโลวัตตอารว มิเตอรสามเฟสชนิดจานหมุน 2 จาน ดังรูปที่ 3 . 1 4 (ข) Kwh Load Watthour meter Wattmeter Voltmeter Ammeter P AC source I E
  • 15. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 15 รูปที่ 3.14 แสดงกิโลวัตตฮาวรมิเตอร 3 เฟส รูปที่ 3.15 การตอเครื่องวัดไฟฟาเพื่อวัดกําลัง ไฟฟา 3 เฟส ดวยกิโลวัตตอาวรมิเตอร 3 ตัว ตัวอยางที่ 3.4 วัตตอาวรมิเตอร 1 เฟสขนาด 220 โวลท กระแสไหลผานโหลด 5 แอมปตลอดเวลา 4 ชม.ที่เพาเวอรแฟคเตอร 100% ถาจานของมิเตอรหมุนได 1056 รอบ จงคํานวณหาคาคงที่ของมิเตอร ในหนวย รอบ/กิโลวัตตชั่วโมง ถาเพาเวอรแฟคเตอร 0.8 อยากทราบวาจะหมุนกี่รอบในเวลาเทาเดิม วิธีทํา คาพลังงานที่มิเตอรอานไดในเวลา 4 ชั่วโมง = 1000 45220 ×× = 4.4 kWh ∴ คาคงที่ในหนวยรอบ/kWh = 4.4 1056 = 240 รอบ/kWh A B C 0 A B C ก. ใชกิโลวัตตฮาวรมิเตอร 3 ตัว ข. ใชกิโลวัตตฮาวรมิเตอร 2 ตัว
  • 16. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 16 เพาเวอรแฟคเตอร 1.0 มิเตอรหมุนได 1056 รอบ ถาเพาเวอรแฟคเตอร 0.8 มิเตอรหมุนไดเทากับ 1056×0.8 = 844.8 รอบ ตัวอยางที่ 3.5 คาคงที่ของวัตตฮาวรมิเตอรขนาด 25 แอมป 220 โวลท = 500 รอบ/กิโลวัตตชั่วโมง ในขณะที่วัดกําลังไฟฟาที่โหลดเต็มที่ (full load) 4400 วัตต จานหมุนได 50 รอบในเวลา 83 วินาที จง คํานวณหาความคลาดเคลื่อนของมิเตอร วิธีทํา พลังงาน 1 kWh มิเตอรหมุนได = 500 รอบ ถา 1000 4400 kWh มิเตอรจะหมุน = 1000 4400500× รอบ = 2200 รอบ ∴ ความเร็วใน 1 นาที = 60 2200 = 36.7 รอบ ถาหากมิเตอรหมุน 50 รอบจะใชเวลา = 7.36 501× นาที = 7.36 5060× วินาที = 81.7 วินาที แตเวลาที่ใชในการหมุนจริง ๆ 50 รอบ = 83 วินาที ∴ มิเตอรหมุนชากวาความเปนจริง = 83-81.7 = 1.3 วินาที ∴ % ความคลาดเคลื่อน = 100 7.81 7.8183 × = 1.59 % ความคลาดเคลื่อนของกิโลวัตตฮาวมิเตอร สําหรับความคลาดเคลื่อนของกิโลวัตตฮาวรมิเตอร จะเกิดขึ้นเนื่องจากหลายแหงดวยกัน ดังนี้ 1. ความตางเฟส ไดกลาวมาแลววาเสนแรงแมเหล็กของแมเหล็กขนานจะมีมุมตางเฟสกับ แรงดัน 90 องศา แตที่จริงแลวไมเปนเชนนั้น เพราะวาในขดลวดแมเหล็กขนานนั้นยังมีคาความ ตานทานรวมอยูดวย เพราะฉะนั้นที่คาเพาเวอรศูนย แรงบิดจะมีคาไมเปนศูนย ความคลาดเคลื่อนอันนี้ แกไขดวยการปรับแตงตําแหนงของแหวนทองแดง (Shading ring) ที่สวมอยูบนแกนของแมเหล็ก ขนาน ดังนั้นจึงเรียกแหวนทองแดงนี้วา เครื่องแกเพาเวอรแฟคเตอร (Power factor compensatory)
  • 17. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 17 2. ความเร็ว ถาใชเครื่องวัดพลังงานไฟฟาไปวัดพลังงานไฟาในวงจรที่มีโหลดเปนความ ตานทานอยางเดียว เครื่องวัดจะมีความเร็วสูงเกินไปจากความเปนจริง แตเราก็สามารถปรับความเร็ว ได โดยปรับตําแหนงของแมเหล็กหนวง (braking magnet) ที่เปนแมเหล็กถาวรใหเลื่อนเขาหรือเลื่อน ออกจากจานได ถาปรับตําแหนงของแมเหล็กหนวง ใหเขาใกลกับจุดศูนยของจานจะทําใหแรง หนวง (braking torque) ลดลง และถาดึงแมเหล็กออก จะทําใหแรงหนวงเพิ่มขึ้น (full load adjustment) พิกัดของวัตตฮาวรมิเตอร หรือกิโลวัตตฮาวรมิเตอรเชนขนาดของแรงดัน กระแส และ จํานวนรอบตอกิโลวัตตชั่วโมงจะมีบอกไวที่แผนปาย (name plate) 3. ความเสียดทาน ความเสียดทานเกิดขึ้นได เนื่องจากแบริ่งที่รองรับระบบเคลื่อนที่ และ เกิดจากชุดบอกปริมาณพลังงานไฟฟา แรงเสียดทานหรือความเสียดทานที่เกิดขึ้นนี้อาจทําใหลดลงได โดยทําใหอัตราสวนของเสนแรงแมเหล็ก φ1และφ2 มีคามากขึ้น โดยใชแหวนทองแดง 2 ชุดเขาชวย แหวนทองแดงนี้จะสวมอยูที่ปลายของแกนสองแกนที่อยูดานขางทั้งสองของแมเหล็กขนาน ดังนั้นจะเห็นวาจะมีกระแสไหลวนเกิดขึ้นในแหวนทองแดงทั้งสองนี้ดวย ผลดันนี้จะทําให เกิดแรงบิดบายเบนขึ้นที่จานดวย แรงบิดบายเบนที่ทําใหเกิดขึ้นเพื่อแกแรงเสียดทานนี้จะมีคามาก หรือนอยขึ้นอยูกับการปรับตําแหนงของแกนสองแกนที่อยูดานขางทั้งสองของแมเหล็กขนาน วิธีแก ความเสียดทานนี้จะตองทดลองทําในขณะที่ปอนแรงดันไฟฟาใหกับมิเตอรอยางเดียวเทานั้น โดย จะตองไมใหระบบเคลื่อนที่หรือจานอลูมิเนียมหมุน (no-load adjustment) 4. เมื่อระบบเคลื่อนที่หมุนชา ๆ (creeping or slow) แตหมุนติดตอกันเรื่อยไปในขณะที่ยัง ไมมีกระแสของโหลด (ปอนแตแรงดันใหอยางเดียว) อาการแบบนี้อาจจะเนื่องจากการแกแรงเสียด ทานไมถูกตอง หรือการสั่น (vibration) จากที่อื่น หรือจากสนามแมเหล็กรั่วไหลจากที่อื่น หรือแรงดัน ที่ปอนใหสูงกวาปกติ วิธีแกไขคือ เจาะรูสองรูบนจานใหอยูในแนวเดียวกันแตลุดานของเพลา การ เจาะรูเพื่อทําใหสนามแมเหล็กขนานเกิดการบิดเบนตัว (distortion) เมื่อรูหนึ่งบนจานเคลื่อนที่ผาน ขั้วแมเหล็กขนาน ซึ่งเปนวิธีการที่ปองกันไมใหจานหมุนเมื่อยังไมมีโหลด 5. อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง แทบจะพูดไดวาไมมีผลตอการทํางานของเครื่องวัดแบบนี้เลย เพราะทุกอยางจะเปลี่ยนแปลงไปพรอม ๆ กันหมด
  • 18. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 18 3.3 เครื่องวัดตัวประกอบกําลัง 3.3.1 หลักการวัดตัวประกอบกําลัง 1. การวัดกําลังรีแอกทีฟ การวัดกําลังรีแอกทีฟ มีความสําคัญในการเฝาตรวจโหลด การวัดดังกลาวทําใหผูทํางานได ขอมูลเกี่ยวกับธรรมชาติของโหลด และทําหนาที่เปนตัวตรวจสอบสําหรับการวัดตัวประกอบกําลัง เพราะวาอัตราสวนของกําลังรีแอกทีฟตอกําลังจริงคือ คาแทนเจนตของมุมตัวประกอบกําลัง (Tangent ของมุม φ) นอกจากนั้นเราสามารถไดคากําลังปรากฎจากการวัดกําลังจริงและกําลังรีแอก ทีฟอีกดวย วารมิเตอรหนึ่งเฟส ในวงจรเฟสเดียว จะสามารถวัดกําลังรีแอกทีฟโดยใชวารมิเตอรซึ่งเปน เครื่องวัดแบบอิเล็กโตรไดนาโมมิเตอรเชนเดียวกับวัตตมิเตอร โดยวงจรแรงดันจะมีรีแอกแตนซเชิง ความเหนี่ยวนําคามากตออนุกรมอยูกับขดลวดเคลื่อนที่แทนความตานทานคาสูง เพื่อทําใหกระแสที่ ไหลในขดลวดเคลื่อนที่ตามแรงดันที่ปอน 90 องศา ดังแสดงในรูปที่ 3.16 รูปที่ 3.16 วารมิเตอร การวัดกําลังรีแอกทีฟโดยวัตตมิเตอรสองเครื่อง จากวงจรการตอตามรูปที่ 3..17 รูปที่ 3.17 การตอวัตตมิเตอรสองเครื่อง Z3 Z2 Z1 1 23 I1 I2 I3 Current coil L1 R Movvingcoil Potentialcoil LoadLine Voltage ± ±
  • 19. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 19 และจากสมการผลตางของกําลังไฟฟาของวัตตมิเตอรทั้งสองเราจะได tan φ = 3(P -P )2 1 (P -P )2 1 ………………( 7-15 ) เพราะวาแทนเจนตของมุมการตาม (Lag) ระหวางกระแสเฟสและแรงดันเฟสของวงจร จะ เทากับอัตราสวนของกําลังรีแอกทีฟตอกําลังจริง ดังนั้น 3(P -P )2 1 จะแทนกําลังรีแอกทีฟ ดังนั้น สําหรับโหลดแบบสมดุล กําลังรีแอกทีฟจะเทากับ 3 เทาของผลตางของคาที่อานจากวัตตมิเตอร สองเครื่องที่ใชในการวัดกําลัง 3 เฟส โดยวีธีวัตตมิเตอร 2 เครื่อง ซึ่งจาก P2-P1 = VLILsin φ ไดพิสูจนใหเห็นแลววา 3(P -P )2 1 = VLILsin φ ..……………(3-11) การวัดกําลังรีแอกทีฟดวยวัตตมิเตอรหนึ่งเครื่อง โดยการตอวัตตมิเตอร ดังรูปที่ 3.18 ขณะนี้ กระแสที่ไหลผานขดลวดกระแสเทากับ IB และขดลวดแรงดันคือ VRY จากแผนภาพเฟสเซอรจะเห็น วามุมระหวาง VRY กับ IB คือ 90 - φ ดังนั้นคาที่อานไดจากวัตตมิเตอรคือ P = VRY IB cos(90 - φ) = VRY IB sin φ …….…………(3-12) สําหรับกรณีโหลดแบบสมดุล VRY เทากับ VL และ IB เทากับ IL ดังนั้น P = VLIL sin φ ...…….. ……...(3-13) VR VY VB IB VRY โหลด 3 เฟส ขดแรงดัน ขดกระแส ± ± R Y B รูปที่ 3.18 การวัดกําลังรีแอกทีฟดวยวัตตมิเตอรหนึ่งเครื่อง เพระวา กําลังรีแอกทีฟทั้งหมดของโหลดเทากับ 3V IL L sin φ ดังนั้นเพื่อใหไดคากําลังมีแอกทีฟ ทั้งหมด จะตองคูณคาที่อานไดจากวัตตมิเตอรดวย 3
  • 20. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 20 3.3.2 การวัดตัวประกอบกําลังในระบบไฟฟา 1 เฟสและ 3 เฟส เครื่องวัดตัวประกอบกําลัง ( Power Factor Meter ) เปนการดัดแปลงสวนเครื่องวัดที่เปนแบบลิเล็กโทรไดนาโมมิเตอร โดยติดตั้งขดลวด เคลื่อนที่ 2 ชุด ไขวครอมตั้งฉากซึ่งกันและกันอยูในขดลวดที่อยูกับที่ตามรูปที่ 3.19 รูปที่ 3.19 โครงสรางพื้นฐาน โดยเหตุที่ไมใชสปริงควบคุม ดังนั้นเมื่อขดลวดสวนเคลื่อนที่อยูในตําแหนงสมดุล แรงบิด ที่เกิดขึ้นที่ขดลวดเคลื่อนที่แตละชุดจะตองเทากัน แตมีทิศตรงขามกัน การจัดเรียงในลักษณะนี้ จะเปนพื้นฐานของเครื่องวัดคาตัวประกอบกําลัง ตามรูปที่ 3.20 ขดลวดเคลื่อนที่ที่ติดตั้งฉากซึ่งกันและกัน ขดหนึ่ง ( P2) ตออนุกรมกับ R ( Non - inductive Resistor) อีกขดหนึ่ง (P1) ตออนุกรมกับ L ดังนั้นกระแสในขดลวดเคลื่อนที่ทั้งสองจะหางกัน 90 องศา รูปที่ 3.20 เครื่องวัดตัวประกอบกําลัง ชุดขดลวดกระแส ( Current Coil ) จะตออนุกรมกับสาย ดังนั้นกระแสจะ Inphase กับ กระแสสาย ถาหากตัวประกอบกําลังเทากับ 1 กระแสในขดลวดเคลื่อนที่ที่อนุกรมกับ R (P2) จะ
  • 21. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 21 Inphase กับกระแสในขดลวดกระแส แรงบิดที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงระหวางขดลวดทั้งสอง (P2กับ C) จะทําใหสวนเคลื่อนที่หมุนไปจนกระทั่งระนาบของขดลวดทั้งสอง (P2,C) ขนานกัน ที่ตําแหนง นี้ ระนาบของ P2 จะตั้งฉากกับสนามเนื่องจากขดกระแส และใหเข็มชี้ชี้คาตัวประกอบกําลังเปน 1.0 (เพราะวากระแสที่เขาสูขดลวดอีกขดหนึ่งจะตางเฟสไป 90 องศา ดังนั้นจะไมมีแรงบิดเกิดที่ ขดลวดนี้) ที่คาตัวประกอบกําลังเปนศูนย กระแสในขดลวดเคลื่อนที่ที่ตออนุกรมกับ L (P1) จะ Inphase กับกระแสในขดลวดกระแส ทําใหขดลวดเคลื่อนที่หมุนจะระนาบของขดลวดทั้งสอง (P1,C) ขนานกัน กระแสในขดลวดเคลื่อนที่ที่ตออนุกรมกับ R (P2) จะตางเฟสไป 90 องศากับ กระแสที่ผานขดลวดกระแส ดังนั้นขดลวดนี้จะไมเกิดแรงบิด ที่คาตัวประกอบกําลังกลาง ๆ การเบี่ยงเบนของเข็มจะขึ้นอยูกับเฟสคามุม ∅ เนื่องจากไม มีแรงบิดตาน ดังนั้น ระบบสวนเครื่องเคลื่อนที่จะตองวางแนวตัวเองเพื่อจะไมใหมีแรงบิดลัพธ ดังนั้น ( )0 2dMdM1 VI cos +VIcos -90 =0 dφ d φ φ φ .……………………(3-14) ถากําหนดใหความเหนี่ยวนํารวมระหวางขดลวดกระแสกับขด P1 เปน 1 1M = k cosθ …………………..(3-15) และถากําหนดใหความเหนี่ยวนํารวมระหวางขดลวดกระแสกับขด P2 เปน 2 1M = k sinθ ……………………(3-16) ดังนั้นตําแหนงหยุดของเครื่องวัดนี้ เกิดขึ้นเมื่อ θ = φ ……………………(3-17) เพาเวอรแฟคเตอรมิเตอรสําหรับระบบไฟฟา 3 - เฟส เพาเวอรแฟคเตอรมิเตอรที่ใชกับระบบไฟฟา 3- เฟส นั้น แตกตางไปจากเพาเวอรแฟค เตอรที่ใชกับระบบไฟฟา 1 – เฟส โดยขดลวดแรงเคลื่อนไฟฟาทั้ง 2 ชุด มีเพียงการตอความ ตานทานเทานั้น วงจรการตอตามมาตรฐานดังรูปที่ 3.21 ก) 21 II = กระแสไฟฟา ไหลผาน ขดลวดแรงเคลื่อนไฟฟาทั้งสองและอินเฟสกับ 12U และ 13U ตามลําดับ 1U รูปที่ 3.21 ข)
  • 22. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 22 ก) ข) รูปที่ 3.21 วงจรภายในเครื่องวัดอิเล็กโทรไดนามิคแบบขดลวดไขว สําหรับเพาเวอรแฟคเตอรของ ภาระไฟฟา 3 – เฟส ในระบบไฟฟา 3 – เฟส ก) การตอเครื่องวัดทางออม ข) เวคเตอร ไดอแกรมกระแสไฟฟา 1I , 2I และ 3I จากสมการของเข็มชี้ F(∝) = ( ) ( )0 1 0 2 30cos. 30cos. + − ϕ ϕ I I = ( ) ( )0 0 30cos 30cos .1 + − ϕ ϕ จากสมการขางบนนี้แสดงใหเห็นวา อยางไรก็ตามเข็มชี้ของเครื่องวัดยังคงขึ้นอยูกับมุมตาง เฟสระหวางแรงเคลื่อนไฟฟาและกระแสไฟฟาของภาระไฟฟา ซึ่งเราสามารถทําการคาลิเบรทสเกล ใหอานเปน cosϕ ไดเชนเดียวกัน --------------------------