SlideShare a Scribd company logo
1 of 89
กายภาพบำบัดชุมชน Tadsawiya Padkao,PT, M.Sc. School of Allied Health Sciences NareasuanPrayao University 1 Padkao T
Outline To know principles and important roles of physical therapy practice in primary health care To analyze PT’s problem and know need of population in community To know and apply principles of community based rehabilitation (CBR)   To apply PT’s instruments and interventions to the community 2 Padkao T
Physical Therapy พระราชบัญญัติ วิชาชีพกายภาพบำบัด พ.ศ. 2547 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร ให้ไว้ ณ วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2547  เป็นปีที่ 59 ในรัชกาลปัจจุบัน  3 Padkao T
		"วิชาชีพกายภาพบำบัด" หมายความว่า วิชาชีพที่กระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจประเมินการวินิจฉัย และการบำบัดความบกพร่องของร่างกายซึ่งเกิดเนื่องจากภาวะของโรคหรือการเคลื่อนไหวที่ไม่ปกติ การป้องกัน การแก้ไขและการฟื้นฟูความเสื่อมสภาพความพิการของร่างกาย รวมทั้งการส่งเสริมสุขภาพร่างกายและจิตใจ ........” 4 Padkao T
กายภาพบำบัดคืออะไร...? 		“ กายภาพบำบัดเป็นวิชาชีพด้านสุขภาพที่มีเป้าหมายในการบริการคือ ให้ประชาชนมีอิสรภาพในการเคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง โดยการปรับสภาพร่างกายและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับสภาวะของบุคคลนั้น เพื่อส่งเสริมคุณค่าความเป็นมนุษย์และคุณภาพชีวิตให้ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ” ผศ.ดร.กานดา ชัยภิญโญ นายกสมาคมกายภาพบำบัดแห่งประเทศไทย 30 สิงหาคม 2552 5 Padkao T
นักกายภาพบำบัดทำอะไรได้บ้าง...? 1. ออกแบบ สอน และให้คำแนะนำในการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ บำบัดโรคและภาวะต่างๆ รวมถึงการออกกำลังกายเพื่อฟื้นฟูความสามารถในการเคลื่อนไหวที่มีความเฉพาะเจาะจงเป็นรายบุคคล(Individualized therapeutic exercise prescription) 6 Padkao T
2. ตรวจประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายในขณะอยู่นิ่งและขณะเคลื่อนไหว  	a. เพื่อหาสาเหตุที่เกี่ยวข้องที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวที่ไม่ปกติ เช่นความบกพร่องของกำลังกล้ามเนื้อ ความยาวกล้ามเนื้อ ความตึงตัวของกล้ามเนื้อและเอ็น แนวการจัดวางตัวของกระดูกข้อต่อ  	b. เพื่อประเมินคุณภาพของการเคลื่อนไหวในผู้ที่ต้องการพัฒนาให้การเคลื่อนไหวมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่นในนักกีฬาประเภทต่างๆ โดยการประเมินลักษณะและรูปแบบการเคลื่อนไหว กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และข้อต่อที่เกี่ยวข้อง 7 Padkao T
3. ออกแบบ วางแผน และให้คำแนะนำในการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับศักยภาพในการเคลื่อนไหวของแต่ละบุคคล เช่นผู้สูงอายุ ผู้พิการ หรือผู้ที่ไม่สามารถใช้อวัยวะบางส่วนได้ตามปกติ 4. ให้การบำบัดรักษา โดยใช้การเคลื่อนไหว ดัดดึงข้อต่อ ยืดกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นเพื่อส่งเสริมให้เกิดการเคลื่อนไหวที่ปกติ และไม่มีอาการปวดจากการเคลื่อนไหว เช่น การบำบัดรักษาผู้ที่มีอาการปวดคอ ปวดหลัง ปวดเข่า เป็นต้น 8 Padkao T
5. ให้การบำบัดรักษา โดยใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางกายภาพ เช่น คลื่นไฟฟ้าความถี่สูงซึ่งประกอบด้วย คลื่นเหนือเสียง (Therapeutic ultrasound) คลื่นไมโคร (Microwave diathermy) และคลื่นสั้น (Shortwave diathermy) การใช้กระแสไฟฟ้าความถี่ต่ำในการกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อ และการใช้ความร้อนและความเย็นในการบำบัดอาการปวด  9 Padkao T
ทำไมนักกายภาพบำบัดจึงมีความสำคัญต่องานบริการปฐมภูมิ? 10 Padkao T
นักกายภาพบำบัดระดับปฐมภูมิในอดีต น้อมจิตต์ นวลเนตร์ 11 Padkao T
สาเหตุจาก ... น้อมจิตต์ นวลเนตร์ 12 Padkao T
นักกายภาพบำบัดในระดับปฐมภูมิในปัจจุบัน น้อมจิตต์ นวลเนตร์ 13 Padkao T
Declaration of Principle Physical Therapy Services  in Primary Health Care www.wcpt.com (WCPT Declaration of principle-Primary health care. Revised and re-approved June 2007) 14 Padkao T
Principles of the health service Health services are equally accessible to all (การเข้าถึงบริการสุขภาพโดยเท่าเทียมกัน) Local communities and individuals are partners involved in health care/service delivery, planning, operating and monitoring (ชุมชนท้องถิ่นและบุคคลเป็นหุ้นส่วนในการดูแลสุขภาพ ทั้งการวางแผน การดำเนินงานและการติดตามตรวจสอบ) The model is developed in response to an assessment of local needs, mindful of the ethical use of resources (รูปแบบการให้บริการพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองต่อผลการประเมินความต้องการของชุมชนท้องถิ่น โดยตระหนักถึงจริยธรรมของการใช้ทรัพยากร) 15 Padkao T
Principles of the health service Services are developed taking account of local cultural and social norms (วิธีการบริการกายภาพบำบัดควรพัฒนาขึ้นโดยคำนึงถึงวัฒนธรรมของท้องถิ่นและสังคม) Multi-professional, inter-agency and inter-sectoral collaboration at all levels is advocated (สนับสนุนการให้บริการแบบสหสาขาวิชา โดยมีหน่วยงานร่วมทุกระดับชั้น) 16 Padkao T
Principles of the health service 6.	In acknowledging the roles that different health care/services personnel are able to contribute to service delivery, where appropriate, physical therapists should contribute to their education and ongoing development (ตระหนักว่าผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่แตกต่างกันมีบทบาทร่วมกันในการให้บริการสุขภาพ โดยนักกายภาพบำบัดควรมีส่วนในการแลกเปลี่ยนถ่ายทอดความรู้กับทีม) 17 Padkao T
Principles of the health service Where appropriate, communities and individuals are supported to be self-reliant (ในสภาวะที่เหมาะสมชุมชนและบุคคลควรได้รับการสนับสนุนให้สามารถพึ่งตนเองได้)  while rehabilitation may be the area of greatest need, health promotion and disease prevention should also be addressed and treatment/intervention provided as necessary (การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคควรได้รับการเอาใจใส่ และดำเนินการ ถึงแม้ว่าในขณะนั้นการฟื้นฟูจะเป็นสิ่งที่มีความต้องการมากที่สุด) 18 Padkao T
Principles of the health service Relevant research and evaluation findings are implemented ensuring best practice (การวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการประเมินผลที่ค้นพบต่างๆถูกนำมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม) Monitoring and evaluation of services is in place with mechanisms for review and modification (มีระบบการติดตามประเมินผลการให้บริการเพื่อประโยชน์ในการทบทวนและปรับปรุงการให้บริการ) 19 Padkao T
Physical therapists have an important role to play in primary health care as: (WCPT Declaration of principle-Primary health care. Revised and re-approved June 2007) 20 Padkao T
Role of PT in Primary Care Direct and indirect providers of services (เป็นผู้ให้บริการโดยตรงและโดยอ้อม) Members of multi-professional teams (เป็นสมาชิกของทีมสหสาขาวิชาชีพ) Consultants to Government, Non-Governmental Organisations (NGOs) and Disabled People’s Organisations (DPOs) (เป็นผู้ให้คำปรึกษาแก่องค์กรของรัฐ องค์กรเอกชน และองค์กรเพื่อผู้พิการ) 21 Padkao T
Developers, implementers and managers of services (เป็นผู้พัฒนา ผู้ดำเนินการ และผู้จัดการโครงการบริการสุขภาพ) Educators of other health personnel and support staff (เป็นผู้ให้ความรู้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพสุขภาพอื่นๆรวมถึงผู้ให้การสนับสนุนอื่นๆในด้านที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวและคุณภาพชีวิต) Role of PT in Primary Care 22 Padkao T
ขีดความสามารถในการให้บริการทางกายภาพบาบัดของหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ 23 Padkao T
24 Padkao T
นักกายภาพบำบัดทำงานที่ไหนบ้าง บทบาทด้านส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคแก่ประชาชน 		- ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพต่างๆ 		- ศูนย์บริการผู้สูงอายุและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (เมือง/ชนบท) 		- โรงงานอุตสาหกรรม 		- สถานพยาบาลระดับปฐมภูมิ (ศูนย์แพทย์ชุมชน/หน่วยบริการปฐมภูมิ/สถานีอนามัย/ศูนย์บริการสาธารณสุขของ กทม.) 25 Padkao T
นักกายภาพบำบัดทำงานที่ไหนบ้าง บทบาทด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย 		- สถานพยาบาลระดับตติยภูมิหรือระดับทุติยภูมิ (โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย/โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลขนาด 90 เตียง) 		- คลินิกเอกชน 		- สถานบริการเฉพาะทาง (ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพแห่งชาติ/บ้านพักคนชรา) 		- การดูแลสุขภาพที่บ้าน (Home visits/Home health care) 26 Padkao T
วิธีการศึกษาชุมชน 27 Padkao T
วัตถุประสงค์การศึกษาชุมชน *เป็นกระบวนการที่จะทำให้นิสิตสามารถวิเคราะห์ชุมชนได้ วัตถุประสงค์ หาข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน ทดสอบความรู้เดิมให้มีความเชื่อถือมากยิ่งขึ้น เพื่อนำข้อเท็จจริงไปใช้ประโยชน์ในงานพัฒนา 28 Padkao T
วิธีการศึกษาชุมชน การสังเกตการณ์  		- แบบมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด 		- แบบไม่มีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด 2.	การสัมภาษณ์ 		- แบบเจาะจง 		- แบบไม่กำหนดคำตอบไว้ล่วงหน้า 		- แบบลึกซึ้ง/เชิงลึก 		- ซ้ำ 3.	การประเมินสภาวะเร่งด่วน 4.	การสนทนากลุ่ม 29 Padkao T
การวิเคราะห์ชุมชน 30 Padkao T
วัตถุประสงค์การวิเคราะห์ชุมชน ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน ศึกษาสาเหตุของปัญหา ศึกษาความสามารถในการแก้ไขปัญหา ศึกษาลู่ทางในการแก้ไขปัญหา (5 วิธี) I. ประชุมและสรุปโดยผู้สำรวจ/ผู้ปฏิบัติ/ผู้เชี่ยวชาญ II. ผู้สำรวจ/ผู้ปฏิบัติ/ผู้เชี่ยวชาญ III. แยกประชุมและสรุประหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่ IV. ทุกฝ่ายในชุมชนพิจารณาร่วมกันโดย จนท. เป็นที่ปรึกษา V. ทุกฝ่ายในชุมชนพิจารณากันเอง 31 Padkao T
กระบวนการเรียนรู้ชุมชน การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) (PAR) การประเมินสภาวะชนบทแบบเร่งด่วน (Rapid Rural Appraisal) (RRA) กระบวนการเทคนิค A-I-C (Appreciation Influence Control) * กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Process) 32 Padkao T
กระบวนการเทคนิค A-I-C ** เป็นเทคนิคการระดมความคิดที่ให้ความสำคัญต่อความคิด และการมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน มี 3 ขั้นตอน A – สมาชิกเสนอความคิดเห็นและข้อมูลตามมุมมองของตน A1 – เป็นการวิเคราะห์สภาพของหมู่บ้าน A2 - เป็นการสร้างภาพการพัฒนาหมู่บ้านที่พึงปรารถนา I – สมาชิกคิดแนวทางในการพัฒนาร่วมกัน I1 – การคิดค้นวิธีการ/โครงการ/กิจกรรม I2 - การคิดเลือกจัดลำดับความสำคัญของกิจกรรม C - นำเอาแนวคิดมาวางแผนปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม 33 Padkao T
Community Based Rehabilitation การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการโดยชุมชน 34 Padkao T
CBR has been defined as 		“a strategy within general community development for rehabilitation, equalization of opportunities and social inclusion of all people with disabilities.” (Joint Position Paper from ILO, UNESCO, and WHO, 2004) “ หลักยุทธศาสตร์ที่รวมอยู่ในการพัฒนาชุมชนโดยมีเป้าหมายเพื่อ 1) การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ 2) ความเท่าเทียมกันของโอกาส และ 3) ให้คนพิการมีส่วนร่วมและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคม ” 35 Padkao T
ลักษณะของ CBR CBR is implemented through the combined efforts of:  	1. disabled persons themselves 	2. their families and communities With the appropriate networking of: 	1. health service 	2. education services 	3. vocational service 	4. social service 36 Padkao T
ลักษณะของ CBR 1.       เป็นยุทธศาสตร์ “เชิงรุก” เข้าถึงคนพิการในชุมชน โดยคนพิการและครอบครัว ตลอดจน  ชุมชนต้องมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่  2.       การดำเนินงานต้องเป็นไปตามความต้องการของชุมชน เน้นการค้นหาและพัฒนาศักยภาพของคนพิการ ครอบครัวและชุมชน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์และสังคม โดยสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในกระบวนการฟื้นฟูทั้งในระดับการวางแผนและการดำเนินงาน ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ และมีการประสานงานกัน 37 Padkao T
แสวงหาและใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาชาวบ้าน ความรู้เดิมของชุมชน เทคโนโลยีพื้นบ้าน และทรัพยากรในท้องถิ่นที่มีอยู่แล้ว หรืออาจกล่าวว่าจะต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนนั้นให้เป็นประโยชน์ต่อการฟื้นฟูสมรรถภาพให้มากที่สุด ไม่พึ่งพิงทรัพยากรภายนอกมากนัก ใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้อง เหมาะสมและประหยัด 38 Padkao T
เงื่อนไขของ CBR 		กิจกรรมหรือโครงการที่จัดว่าเป็น CBR จะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขต่อไปนี้ 1. คนพิการจะต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรม/โครงการนั้นทุกขั้นตอนของโครงการนับตั้งแต่เริ่มการออกแบบโครงการ2. วัตถุประสงค์หลักของโครงการจะต้องเพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิต (Quality of Life, QOL) ของคนพิการ ให้คนพิการสามารถดำรงชีวิตได้อย่างอิสระ (Independent Living) 3. มุ่งเน้นในการทำงานกับชุมชนเพื่อส่งเสริมให้คนพิการเกิดทัศนคติทางบวกและให้สมาชิกในชุมชนมีแรงจูงใจที่จะให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมกับโครงการ CBR4. ต้องเป็นโครงการที่มีความยืดหยุ่นเหมาะสมสอดคล้องกับลักษณะของชุมชนแต่ละแห่ง 39 Padkao T
บุคคลที่เกี่ยวข้องใน CBR 	1.       คนพิการในชุมชนนั้น2.       ครอบครัวของคนพิการ3.       ชุมชนของคนพิการ4.       หน่วยงานภาครัฐ ทั้งในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ5.       องค์กรเอกชน ทั้งในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค ประเทศ และต่างประเทศ6.       บุคลากรทางการแพทย์ นักการศึกษา นักสังคมสงเคราะห์ และวิชาชีพอื่นๆที่เกี่ยวข้อง7.       นักธุรกิจ 40 Padkao T
คุณค่าของงาน CBR CBR มีคุณค่าและมีความสำคัญต่อการพัฒนาสังคมไทย โดยนำไปสู่สิ่งต่างๆ ดังนี้1.       การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน2.       การจัดการทรัพยากรที่ประหยัดและมีประสิทธิภาพ3.       การสนับสนุนการปรับทัศนคติในทางบวกแก่คนในชุมชนและตัวคนพิการเอง4.       การสนับสนุนโอกาสและสิทธิของคนพิการ5.       การสนับสนุนการฟื้นฟูสภาพทุกส่วนตามศักยภาพที่มีอยู่ของคนพิการ6.       การสนับสนุนให้คนพิการอยู่ร่วมกับชุมชนในฐานะสมาชิกที่เสมอภาคในชุมชน มีความสุขและความอบ 41 Padkao T
CBR กับประเทศไทย เริ่มจากความร่วมมือระหว่างองค์การอนามัยโลกกับกระทรวงสาธารณสุขใน พ.ศ.2526: แปลคู่มือ – อบรมอาสาสมัคร ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติได้ดำเนินงาน CBR อย่างต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน 10 ปีที่ผ่านมา หน่วยงานอื่นที่ทำงานเกี่ยวข้องกับคนพิการหรือมีความสนใจในงานคนพิการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มองค์กรพัฒนาเอกชน เช่น มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ มูลนิธิศรีบุญเรืองเพื่อคนพิการ มูลนิธิช่วยเหลือเด็กพิการ อุบลราชธานี เป็นต้น 42 Padkao T
 PTs have an important contribution to make in CBR:  both urban and rural settings  By providing interventions aimed at health promotion, disease prevention, treatment and rehabilitation (โดยจัดให้มีการบริการทั้งทางการส่งเสริมสุขภาพ, การป้องกันโรค, การรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ) By educating and transferring skills to other staff, carers and the community to achieve the fulfillment of physical therapy and patient/client goals (โดยให้การศึกษาและถ่ายทอดทักษะความรู้ไปยังผู้ร่วมงานคนอื่นๆ ผู้ดูแลและสังคมเพื่อให้เป็นไปตามเป้าประสงค์ของทั้งการรักษาทางกายภาพบำบัดและตัวผู้ป่วยเอง) 43 Padkao T
 PTs have an important contribution to make in CBR:  Through consultancy, advice, support and supervision to other health, education and social care/service personnel (ให้คำปรึกษา แนะนำ สนับสนุนและผู้ควบคุม แก่บุคลากรด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านการดูและ/บริการทางสังคม) As initiators and managers of programmes(เสมือนเป็นผู้กระตุ้น/ผู้ริเริ่มและเป็นผู้จัดการโปรแกรมการฟื้นฟูนั้นๆ) 44 Padkao T
 PTs have an important contribution to make in CBR:  As policy advisers to Governments, Non-Governmental Organisations (NGOs) and Disabled People’s Organisations (DPOs) (เป็นที่ปรึกษาทางด้านนโยบายของทางราชการ เอกชน และองค์กรของผู้พิการ) 45 Padkao T
ตัวอย่างการจัดกิจกรรมตามหลัก CBR “ศูนย์ฟื้นฟูเด็กพิการ” เดิม: “เน้นที่การฟื้นฟูพัฒนาการเรียนรู้และการให้บริการกายภาพบำบัดแก่เด็กเป็นรายกรณีตามลักษณะและปัญหาของเด็กโดยตรง” ใหม่: “หันมาให้ความสำคัญต่อครอบครัวและชุมชนในการฟื้นฟูเด็กพิการ” 46 Padkao T
โครงการฟื้นฟูเด็กพิการโดยชุมชน “ค่ายเยาวชนคนพิการ”  งานฟื้นฟูเด็กพิการโดยชุมชน (CBR) ของมูลนิธิฯ ได้รับการยกย่องว่าเป็นโครงการที่เหมาะสมและมีประสิทธิผลมาก ดนตรีเพื่อคนพิการ( Asia  Wataboshi  Music  Festival ) 47 Padkao T
การเขียนโครงการ 48 Padkao T
การเขียนโครงการเพื่อของงบประมาณ ชื่อโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการ ระยะเวลาดำเนินการ หลักการและเหตุผล เป้าหมาย วัตถุประสงค์ การดำเนินการ สถานที่ งบประมาณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ปฏิทินงาน/กำหนดการ 49 Padkao T
หลักการเขียนรายงานเพื่อของบประมาณ กำหนดหัวข้อเรื่อง กำหนดขอบเขต วางโครงเรื่อง รวบรวมข้อมูลจากเอกสาร รวบรวมข้อมูลสนาม เขียนฉบับร่าง แก้ไขและขัดเกลา ส่งให้เพื่อน/ผู้รู้อ่านและวิจารณ์ เขียนฉบับสมบูรณ์ 50 Padkao T
โครงสร้างหลักของรายงานหลังเสร็จสิ้นโครงการ ส่วนนำ: ปกนอก / ปกใน / กิตติกรรมประกาศ / สารบัญ ส่วนเนื้อเรื่อง:  		*บทนำ – ความเป็นมาของเรื่อง วัตถุประสงค์ ขอบเขต * วิธีการดำเนินงาน – กิจกรรม / ขั้นตอน * ผลการดำเนินงาน - ผลที่ได้จากการศึกษาทั้งหมด * สรุปผลและข้อเสนอแนะ 3. ส่วนอ้างอิง: เอกสารอ้างอิง / ภาคผนวก 51 Padkao T
52 Padkao T
กิจกรรมงานกายภาพบำบัด“กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน” Padkao T 53 สถานีอนามัยพุดซา  ต.พุดซา อ.เมือง จ.นครราชสีมา
การเยี่ยมบ้าน (Home Visit/Home Health Care) 54 Padkao T
Type of Home Visit ,[object Object]
การเยี่ยมบ้านแบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม คือ1. Illness Home Visit 	2. Dying Patient Home Visit 	3. Assessment Home Visit 	4. Hospitalization follow-up home visit 55 Padkao T
1. การเยี่ยมบ้านกรณีเจ็บป่วย (Illness Home Visit) กรณีฉุกเฉิน (Emergency) 		เป็นการเยี่ยมบ้านเพื่อช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินกับผู้ป่วยในครอบครัว เช่น หอบมาก หมดสติ อุบัติเหตุ ใจสั่น 2. โรคฉับพลัน (Acute Illness) 		เป็นการเยี่ยมบ้านเพื่อช่วยประเมินและเพื่อช่วยเหลือเบื้องต้น เช่น โรคหวัด ท้องร่วง  3. โรคเรื้อรัง (Chronic Illness) 		เป็นการเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินและวางแผนช่วยเหลือผู้ป่วย ญาติ หรือหน่วยงานใดในการช่วยเหลือผู้ป่วย เช่น อัมพาต ทุพลภาพ โรคเบาหวาน โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 56 Padkao T
2. การเยี่ยมบ้านผู้ป่วยใกล้เสียชีวิต (Dying patient home visit)  เช่น ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย  เป็นต้น วัตถุประสงค์ คือ  การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 		เป็นผู้ป่วยที่ทรมานจากการปวด บวม หรือหอบ ประคับประคองภาวะโศกเศร้า 		เป็นการประคับประคองทั้งทางร่างกายและจิตใจแก่สมาชิกในครอบครัวตั้งแต่ระยะที่รู้ว่าผู้ป่วยอยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิตจนถึงเสียชีวิตลงไป และประเมินความผิดปกติที่เกิดขึ้นแก่สมาชิกในครอบครัว เมื่อภาวะโศกเศร้าไม่หายไปในระยะเวลาที่สมควร 57 Padkao T
3. การเยี่ยมบ้านเพื่อประเมิน (Assessment home visit) ประเมินสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพผู้ป่วย (Home situation) ประเมินการใช้แหล่งบริการทางสุขภาพมากเกินไป (Excessive use of health care service) ประเมินความเสี่ยงของสมาชิกในบ้านที่อาจจะถูกละเลยหรือถูกทำร้ายจากสมาชิกในครอบครัว (Abuse & Neglect) ประเมินผู้ป่วยที่จำเป็นต้องไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล (Need to health care service) ประเมินร่วมกับสมาชิกในครอบตัวเมื่อเกินความสามารถของสมาชิกในครอบครัวที่จะดูแลผู้ป่วยได้  58 Padkao T
4. การเยี่ยมบ้านหลังจากออกโรงพยาบาล (Hospital follow-up visits) ผู้ป่วยที่นอนโรงพยาบาลโดยโรคฉับพลัน, อุบัติเหตุ หรือการผ่าตัด 			ผู้ป่วยประเภทนี้หลังจากออกจากโรงพยาบาลสามารถติดตามเยี่ยมบ้านต่อได้ ครอบครัวและบุตรที่เกิดใหม่ 			เพื่อช่วยเหลือพ่อ แม่ ที่มีบุตรใหม่ที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการดูแลลูก รวมถึงการประเมินสิ่งแวดล้อมในครอบครัวเพื่อให้เกิดการดูและใหม่อย่างดี ผู้ป่วยที่ไม่มาตามนัด 			การเยี่ยมบ้านจะช่วยประเมินสาเหตุหรือเหตุผลของผู้ป่วยที่ไม่มาตามนัด หรือมีเหตุการณ์ที่ไม่สามารถมาได้	 59 Padkao T
ข้อปฏิบัติในขณะเยี่ยมบ้าน ประกอบด้วย การเตรียมตัวก่อนเยี่ยมบ้าน ข้อปฏิบัติในขณะทำการเยี่ยมบ้าน การวางแผนเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัว การประเมินผล 60 Padkao T
1. การเตรียมตัวก่อนเยี่ยมบ้าน  1.1 กำหนดวัตถุประสงค์ในการเยี่ยม ให้ชัดเจนเพื่อเกิดประโยชน์ในแต่ละครั้ง  1.2 เครื่องแต่งกายสะอาด เรียบร้อย  1.3 ศึกษาประวัติของผู้ป่วยที่จะเยี่ยม  1.4 จดชื่อ นามสกุล ของผู้ป่วย พร้อมทั้งแผนที่ เพื่อสะดวกในการหาบ้าน  1.5 ตรวจดูความเรียบร้อยของกระเป๋าเยี่ยมบ้านก่อนออกปฏิบัติจริง  61 Padkao T
2. ข้อปฏิบัติในขณะทำการเยี่ยมบ้าน  2.1 ศึกษาข้อมูลทั่วไปของคนในครอบครัว  2.2 ท่าทีเป็นกันเอง มีความจริงใจต่อครอบครัว  2.3 สิ่งที่เกิดขึ้นในครอบครัวต้องเป็นความลับ  2.4 ควรหาข้อมูลโดยการซักถามด้วยความสุภาพ เคารพสิทธิของผู้ป่วยและครอบครัว  2.5 การใช้คำถามในเรื่องส่วนบุคคลควรถามด้วยความระมัดระวัง  2.6 ให้คำพูดให้เหมาะสมกับพื้นความรู้ของผู้ฟัง  2.7 คำแนะนำควรเหมาะสมกับสภาพครอบครัว  2.8 การเยี่ยมครั้งต่อไปดูผลการแนะนำในครั้งก่อนว่าปฏิบัติได้หรือไม่ มีอุปสรรคอะไรบ้างจะได้แก้ไข  2.9 บันทึกผลการเยี่ยมบ้านสั้นๆ เพื่อกันลืม กลับมาแล้วจึงเขียนรายงาน เพื่อประเมินปัญหาและความต้องการ  62 Padkao T
3. วางแผนเพื่อช่วยเหลือโดยแบ่งพิจารณาเป็น  3.1 เป้าหมายที่ต้องการ  3.2 แนวทางปฏิบัติหรือวิธีแก้ปัญหา  63 Padkao T
4. การประเมินผล  โดยภาพรวมสิ่งที่เราต้องประเมินคือ  1.1 ผู้ป่วยและครอบครัวมีสุขภาพดีขึ้น ปัญหาบรรเทาลง และไม่มีผลแทรกซ้อน  1.2 ผู้ปฏิบัติงานมีการทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีทักษะเพิ่มขึ้น  ( การประเมินผล อาจพิจารณาเฉพาะผู้ป่วยและครอบครัว เป็นแต่ละรายไป ขึ้นกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้ในการแก้ปัญหาตั้งแต่ต้น )  64 Padkao T
65 Padkao T
66 Padkao T
67 Padkao T
68 Padkao T
69 Padkao T
70 Padkao T
INHOMESSS 71 Padkao T
INHOMESSS เป็น Mnemonic ที่ใช้ช่วยในการประเมินขณะเยี่ยมบ้าน  ไม่ได้เป็นสิ่งที่ต้องยึดถือ แต่มีไว้เพื่อช่วยจำเท่านั้น เพราะในความเป็นจริงการเยี่ยมบ้านในผู้ป่วยแต่ละรายนั้นย่อมมีความแตกต่างกัน ดังนั้นนักกายภาพบำบัดจึงควรพิจารณาประเด็นอื่นๆร่วมด้วยทุกครั้ง “ INHOMESSS ” ย่อมาจาก  72 Padkao T
I : Impairment / Immobility เป็นการประเมินสิ่งที่ผู้ป่วยสามารถทำได้ในชีวิตประจำวัน ที่เราเรียกว่า activities of daily living ( ADL : bathing, transfer, dressing, toileting, feeding, continence), Bed mobility, Balance, Hand function, Sensory impairment 73 Padkao T
N : Nutrition ประเมินเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของผู้ป่วย ไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรมการรับประทาน ชนิดของอาหาร อาจหมายถึงต้องเปิดดูในตู้เย็น ในตู้กับข้าว การประเมินจำนวนแคลอรี่ก็จำเป็นในผู้ป่วยบางราย เช่น โรคอ้วน 74 Padkao T
H : Home Environment สิ่งแวดล้อมรอบบ้าน ความสัมพันธ์ในชุมชน และเพื่อนบ้านที่ดี มีผลต่อสภาพจิตใจรวมทั้งความปลอดภัยด้วย โดยเฉพาะผู้สูงอายุ การมีเพื่อนบ้านที่ดีเป็นสิ่งดีมาก เช่น ช่วยในการขนย้ายผู้ป่วย การเป็นเพื่อนคุย บางครั้งอาจมีการจัดตั้งเป็นชมรม เพื่อทำกิจกรรมต่างๆที่สนใจ เช่น ชมรมรำมวยจีน ชมรมคนรักสุขภาพ ชมรมเดินเพื่อสุขภาพ สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้ป่วยตระหนักถึงคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ และส่งผลให้การรักษาดีขึ้นได้. 75 Padkao T
O : Other People สมาชิกในบ้านและเพื่อนเป็นสิ่งสำคัญอีกอย่างที่ต้องประเมิน ใครจะเป็นคนนำส่งโรงพยาบาล ใครมีบทบาทและมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการรักษา เมื่ออยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิตใครจะเป็นคนตัดสินใจ  ผู้ป่วยมี living will ไว้อย่างไร *ผู้ดูแล ( caregiver ) ว่ามีความต้องการ รวมทั้งความเสี่ยง ทางด้านสุขภาพกายและจิตใจอย่างไร เนื่องจากเป็นบุคคลที่ถูกกระทบมากที่สุดจากความเจ็บป่วยรองจากตัวผู้ป่วยเอง 76 Padkao T
M : Medications ทำ Home Medication Review = ชนิดของยาที่ใช้ จำนวน วิธีการรับประทาน ความถี่ในการรับประทานยา เหล่านี้มีผลต่อการเกิด drug-drug หรือ drug-food interactions ได้  ปัญหาที่มักพบบ่อยคือ การให้ยาหลายชนิด (polypharmacy ) โดยไม่จำเป็น ( compliance ไม่ดี / drug interactions ) บางรายอาจมีปัญหา doctor shopping หรือ เรื่องการใช้ยาสมุนไพร หรือ ซื้อยารับประทานเอง ก็ควรทำเช่นกัน 77 Padkao T
E : Examination ยังคงเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องทำขณะเยี่ยมบ้าน  การทดสอบการเคลื่อนไหวที่ใช้จริงๆ ขณะอยู่ที่บ้าน เช่น ให้ผู้ป่วยเดินเข้าห้องน้ำ การเดินขึ้นบันไดและอื่นๆ 78 Padkao T
S : Safety บ้านสำหรับผู้ป่วยควรเป็นสถานที่ ที่รู้สึกสบายและปลอดภัย  เฟอร์นิเจอร์ไม่เกะกะเวลาที่ผู้ป่วยเดิน   ควรมีสิ่งช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ป่วย เช่น การมีแสงสว่างที่เพียงพอ ภายในห้องน้ำมีราวจับกันล้ม หากผู้ป่วยรู้สึกไม่สบายสามารถกดโทรศัพท์เบอร์ฉุกเฉินได้ง่าย 79 Padkao T
S : Spiritual Health. นักกายภาพบำบัดควรประเมินในเรื่องของความเชื่อ วัฒนธรรม เนื่องจากอาจมีผลต่อการแก้ปัญหา การตัดสินใจ การรักษาโรค ของทั้งผู้ป่วย ญาติ และชุมชน 80 Padkao T
S : Services การเข้าระบบบริการทางสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญ เพราะมีผลต่อการรักษาที่เท่าเทียม สม่ำเสมอ และต่อเนื่อง  ในชุมชนบางแห่งอยู่ห่างไกลไปมากหรือเข้าถึงได้ยาก ทำให้การเข้ามารับบริการทางสุขภาพทำได้ลำบาก ทำให้รับการรักษาได้ไม่สม่ำเสมอ ซึ่งหากในชุมชนดังกล่าวมีการจัดตั้งตัวแทน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน หรือ มีอนามัยที่สามารถให้การรักษาเบื้องต้น และ ให้การดูแลส่งเสริมสุขภาพได้ดี ก็จะสามารถลดปัญหาดังกล่าวได้มาก 81 Padkao T
การสรุปและประเมินผลหลังการเยี่ยมบ้าน สิ่งที่ต้องทำเป็นอันดับแรก - การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้มาทั้งหมด (Integrate data post home visit ) ทำ Multidisciplinary conference  เข้าใจปัญหาถูกต้อง  แก้ปัญหาได้หลายมุมมอง ทำ Comprehensive treatment and future work plans : หากมีปัญหา-หาเครือข่าย เพื่อขอความช่วยเหลือได้ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและทักษะ 82 Padkao T
งานที่ต้องส่งภายหลังการเยี่ยมบ้าน Home Visit Report Story Telling Photo Telling 83 Padkao T
Story Telling เมื่อลุงทิวไม่อยู่บ้าน…. อากาศที่ร้อนอบอ้าวเนื่องจากความชื้นสัมพัทธ์ที่สูงมักชวนให้ใครหลายคนรู้สึกหงุดหงิดได้ง่าย  โดยเฉพาะกับคนที่ชอบใช้อารมณ์อยู่เหนือเหตุผล  ฉะนั้นก็คงไม่แปลกถ้าจะเจอใครหลายคนแสดงความหงุดหงิดไม่พอใจให้เห็นในช่วงนี้…ถือเสียว่าเป็นการฝึกความอดทนอย่างหนึ่งเสียก็คงจะดี   วันที่พวกเราไปออกเยี่ยมบ้านลุงทิวครั้งที่สองก็เป็นอีกวันที่อากาศร้อนอ้าว แต่ได้มีเหตุการณ์ไม่คาดฝันเกิดขึ้น!    “ลุงทิวไม่อยู่บ้าน!”   “โทรติดต่อลูกสาวเขาไม่ได้เลย”   “หา OPD Card ก็ไม่เจอ”  84 Padkao T
“ทำไงกันดีละ”   กล้ามเนื้อบนใบหน้าของทุกคนเริ่มตึงเครียดขึ้นมาทีเดียวด้วยความเซ็ง เซ็งเนื่องจากอากาศร้อน แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นกลับยิ่งทำให้อากาศมันร้อนขึ้นกว่าเดิมอีกนะสิ   ไม่เป็นไร…. ทุกอย่างย่อมมีทางแก้….   ลองโทรหาลูกสาวลุงทิวอีกทีดีกว่า   ตื้ด…ตื้ด…ตื้ด… ตื้ด…ตื้ด…ตื้ด…ตื้ด… ตื้ด…ตื้ด…ตื้ด…ตื้ด…ตื้ด… ไม่มีคนรับสาย….. ตัดสินใจโทรกระหน่ำไปอีก 4-5 ครั้งแล้วกัน…. จนในที่สุดก็มีคนรับสาย   85 Padkao T
“ฮัลโหล” เสียงปลายสายที่กล่าวทักทายฟังดูไม่ค่อยจะต้อนรับเท่าใดนัก   “สวัสดีค่ะ พวกหนูเป็นนิสิตแพทย์ จาก มศว นะคะ ที่จะไปเยี่ยมบ้านคุณลุงทิวกันวันนี้นะค่ะ เห็นว่าลุงทิวไม่อยู่บ้านแล้วหรอคะ”   “อ๋อ ค่า ลุงทิวไปปากช่องกับญาติเมื่อเช้านี่เองค่ะ” น้ำเสียงคนปลายสายเริ่มอ่อนลงหน่อย   “อ๋อ อย่างนั้นหรือคะ แล้วไม่ทราบว่าตอนนี้มีคนอยู่ที่บ้านลุงทิวไหมคะ”   “ก็มีพี่นี่แหละค่ะ แต่ว่าตอนนี้ออกมาทำธุระข้างนอก เดี๋ยวอีกซักชั่วโมงถึงจะกลับนะค่ะ”   เอาไงดีหว่า….แต่ไหนๆ วันนี้มาแล้วก็ไปเยี่ยมบ้านเลยแล้วกัน “ถ้าอย่างนั้น พวกหนูจะขอไปเยี่ยมบ้านคุณลุงทิวอีกหนึ่งชั่วโมง คุณพี่จะสะดวกไหมคะ”   “ได้สิคะ ค่ะ แล้วเจอกันค่ะ”   86 Padkao T
แล้วอีกหนึ่งชั่วโมงต่อมา พวกเราก็เดินทางกันมาบ้านลุงทิว บรรยากาศคราวนี้ดูเงียบเหงาผิดสังเกต คงเพราะไม่เห็นชายชรากับไม้ค้ำคนเดิมที่เปี่ยมด้วยอารมณ์ขัน แต่เป็นลูกสาวคนโตของคุณลุงทิวที่มาต้อนรับพวกเราแทน หลังจากพูดคุยกับลูกสาวของคุณลุงทิวได้หนึ่งชั่วโมง สอบถามสิ่งที่พอจะถามเก็บเอาไว้เป็นข้อมูลได้แล้ว พวกเราก็ลากลับ แม้ว่าวันนี้จะไม่ค่อยได้อะไรมากนัก แต่สิ่งที่เราได้เรียนรู้เพิ่มเติมก็คือ ลูกสาวคนโตของลุงทิว กับความกตัญญูของเธอ การที่เราพูดคุยผ่านมุมมองของเธอก็ทำให้เราเข้าใจลุงทิวมากขึ้น และก็ได้สะท้อนมุมมองความคิดของลูกสาวลุงทิวอีกด้วย แม้ว่าในเบื้องต้นจะมีปัญหาบ้างก็ตาม แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นก็ก่อให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ตามมาในที่สุด 87 Padkao T
Photo Telling 88 Padkao T

More Related Content

What's hot

โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยSurasak Tumthong
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐWC Triumph
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพsoftganz
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 

What's hot (7)

โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
ความเข้มแข็ง
ความเข้มแข็งความเข้มแข็ง
ความเข้มแข็ง
 
Quntity sulin
Quntity sulinQuntity sulin
Quntity sulin
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 

Similar to Physical Therapy in Community_Padkao T

การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28Borwornsom Leerapan
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพThira Woratanarat
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...Pattie Pattie
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยAuamporn Junthong
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospitalDMS Library
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้าDr.Suradet Chawadet
 

Similar to Physical Therapy in Community_Padkao T (20)

Structure of Health Systems
Structure of Health Systems Structure of Health Systems
Structure of Health Systems
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
Alter medpart2 n
Alter medpart2 n Alter medpart2 n
Alter medpart2 n
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
Functions of Health Systems
Functions of Health SystemsFunctions of Health Systems
Functions of Health Systems
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
Access&quality of care
Access&quality of careAccess&quality of care
Access&quality of care
 

More from School of Allied Health Science of NPU (9)

Pulmonary diseases (payao uni)
Pulmonary diseases (payao uni)Pulmonary diseases (payao uni)
Pulmonary diseases (payao uni)
 
Pulmonay Surgery_Padkao T
Pulmonay Surgery_Padkao TPulmonay Surgery_Padkao T
Pulmonay Surgery_Padkao T
 
Cardiac surgeries_Padkao T
Cardiac surgeries_Padkao TCardiac surgeries_Padkao T
Cardiac surgeries_Padkao T
 
Pulmonary function test
Pulmonary function testPulmonary function test
Pulmonary function test
 
Cxr example and test 2010
Cxr example and test 2010Cxr example and test 2010
Cxr example and test 2010
 
Cxr for pt 2010
Cxr for pt 2010Cxr for pt 2010
Cxr for pt 2010
 
Endurance exercise_Padkao T
Endurance exercise_Padkao TEndurance exercise_Padkao T
Endurance exercise_Padkao T
 
Exercise Stress Testing_Padkao T
Exercise Stress Testing_Padkao TExercise Stress Testing_Padkao T
Exercise Stress Testing_Padkao T
 
Psychological Development in Pediatrics _ Padkao T
Psychological Development in Pediatrics _ Padkao TPsychological Development in Pediatrics _ Padkao T
Psychological Development in Pediatrics _ Padkao T
 

Physical Therapy in Community_Padkao T

  • 1. กายภาพบำบัดชุมชน Tadsawiya Padkao,PT, M.Sc. School of Allied Health Sciences NareasuanPrayao University 1 Padkao T
  • 2. Outline To know principles and important roles of physical therapy practice in primary health care To analyze PT’s problem and know need of population in community To know and apply principles of community based rehabilitation (CBR) To apply PT’s instruments and interventions to the community 2 Padkao T
  • 3. Physical Therapy พระราชบัญญัติ วิชาชีพกายภาพบำบัด พ.ศ. 2547 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร ให้ไว้ ณ วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2547 เป็นปีที่ 59 ในรัชกาลปัจจุบัน 3 Padkao T
  • 4. "วิชาชีพกายภาพบำบัด" หมายความว่า วิชาชีพที่กระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจประเมินการวินิจฉัย และการบำบัดความบกพร่องของร่างกายซึ่งเกิดเนื่องจากภาวะของโรคหรือการเคลื่อนไหวที่ไม่ปกติ การป้องกัน การแก้ไขและการฟื้นฟูความเสื่อมสภาพความพิการของร่างกาย รวมทั้งการส่งเสริมสุขภาพร่างกายและจิตใจ ........” 4 Padkao T
  • 5. กายภาพบำบัดคืออะไร...? “ กายภาพบำบัดเป็นวิชาชีพด้านสุขภาพที่มีเป้าหมายในการบริการคือ ให้ประชาชนมีอิสรภาพในการเคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง โดยการปรับสภาพร่างกายและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับสภาวะของบุคคลนั้น เพื่อส่งเสริมคุณค่าความเป็นมนุษย์และคุณภาพชีวิตให้ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ” ผศ.ดร.กานดา ชัยภิญโญ นายกสมาคมกายภาพบำบัดแห่งประเทศไทย 30 สิงหาคม 2552 5 Padkao T
  • 6. นักกายภาพบำบัดทำอะไรได้บ้าง...? 1. ออกแบบ สอน และให้คำแนะนำในการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ บำบัดโรคและภาวะต่างๆ รวมถึงการออกกำลังกายเพื่อฟื้นฟูความสามารถในการเคลื่อนไหวที่มีความเฉพาะเจาะจงเป็นรายบุคคล(Individualized therapeutic exercise prescription) 6 Padkao T
  • 7. 2. ตรวจประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายในขณะอยู่นิ่งและขณะเคลื่อนไหว a. เพื่อหาสาเหตุที่เกี่ยวข้องที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวที่ไม่ปกติ เช่นความบกพร่องของกำลังกล้ามเนื้อ ความยาวกล้ามเนื้อ ความตึงตัวของกล้ามเนื้อและเอ็น แนวการจัดวางตัวของกระดูกข้อต่อ b. เพื่อประเมินคุณภาพของการเคลื่อนไหวในผู้ที่ต้องการพัฒนาให้การเคลื่อนไหวมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่นในนักกีฬาประเภทต่างๆ โดยการประเมินลักษณะและรูปแบบการเคลื่อนไหว กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และข้อต่อที่เกี่ยวข้อง 7 Padkao T
  • 8. 3. ออกแบบ วางแผน และให้คำแนะนำในการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับศักยภาพในการเคลื่อนไหวของแต่ละบุคคล เช่นผู้สูงอายุ ผู้พิการ หรือผู้ที่ไม่สามารถใช้อวัยวะบางส่วนได้ตามปกติ 4. ให้การบำบัดรักษา โดยใช้การเคลื่อนไหว ดัดดึงข้อต่อ ยืดกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นเพื่อส่งเสริมให้เกิดการเคลื่อนไหวที่ปกติ และไม่มีอาการปวดจากการเคลื่อนไหว เช่น การบำบัดรักษาผู้ที่มีอาการปวดคอ ปวดหลัง ปวดเข่า เป็นต้น 8 Padkao T
  • 9. 5. ให้การบำบัดรักษา โดยใช้อุปกรณ์และเครื่องมือทางกายภาพ เช่น คลื่นไฟฟ้าความถี่สูงซึ่งประกอบด้วย คลื่นเหนือเสียง (Therapeutic ultrasound) คลื่นไมโคร (Microwave diathermy) และคลื่นสั้น (Shortwave diathermy) การใช้กระแสไฟฟ้าความถี่ต่ำในการกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อ และการใช้ความร้อนและความเย็นในการบำบัดอาการปวด 9 Padkao T
  • 12. สาเหตุจาก ... น้อมจิตต์ นวลเนตร์ 12 Padkao T
  • 14. Declaration of Principle Physical Therapy Services in Primary Health Care www.wcpt.com (WCPT Declaration of principle-Primary health care. Revised and re-approved June 2007) 14 Padkao T
  • 15. Principles of the health service Health services are equally accessible to all (การเข้าถึงบริการสุขภาพโดยเท่าเทียมกัน) Local communities and individuals are partners involved in health care/service delivery, planning, operating and monitoring (ชุมชนท้องถิ่นและบุคคลเป็นหุ้นส่วนในการดูแลสุขภาพ ทั้งการวางแผน การดำเนินงานและการติดตามตรวจสอบ) The model is developed in response to an assessment of local needs, mindful of the ethical use of resources (รูปแบบการให้บริการพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองต่อผลการประเมินความต้องการของชุมชนท้องถิ่น โดยตระหนักถึงจริยธรรมของการใช้ทรัพยากร) 15 Padkao T
  • 16. Principles of the health service Services are developed taking account of local cultural and social norms (วิธีการบริการกายภาพบำบัดควรพัฒนาขึ้นโดยคำนึงถึงวัฒนธรรมของท้องถิ่นและสังคม) Multi-professional, inter-agency and inter-sectoral collaboration at all levels is advocated (สนับสนุนการให้บริการแบบสหสาขาวิชา โดยมีหน่วยงานร่วมทุกระดับชั้น) 16 Padkao T
  • 17. Principles of the health service 6. In acknowledging the roles that different health care/services personnel are able to contribute to service delivery, where appropriate, physical therapists should contribute to their education and ongoing development (ตระหนักว่าผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่แตกต่างกันมีบทบาทร่วมกันในการให้บริการสุขภาพ โดยนักกายภาพบำบัดควรมีส่วนในการแลกเปลี่ยนถ่ายทอดความรู้กับทีม) 17 Padkao T
  • 18. Principles of the health service Where appropriate, communities and individuals are supported to be self-reliant (ในสภาวะที่เหมาะสมชุมชนและบุคคลควรได้รับการสนับสนุนให้สามารถพึ่งตนเองได้) while rehabilitation may be the area of greatest need, health promotion and disease prevention should also be addressed and treatment/intervention provided as necessary (การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคควรได้รับการเอาใจใส่ และดำเนินการ ถึงแม้ว่าในขณะนั้นการฟื้นฟูจะเป็นสิ่งที่มีความต้องการมากที่สุด) 18 Padkao T
  • 19. Principles of the health service Relevant research and evaluation findings are implemented ensuring best practice (การวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการประเมินผลที่ค้นพบต่างๆถูกนำมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม) Monitoring and evaluation of services is in place with mechanisms for review and modification (มีระบบการติดตามประเมินผลการให้บริการเพื่อประโยชน์ในการทบทวนและปรับปรุงการให้บริการ) 19 Padkao T
  • 20. Physical therapists have an important role to play in primary health care as: (WCPT Declaration of principle-Primary health care. Revised and re-approved June 2007) 20 Padkao T
  • 21. Role of PT in Primary Care Direct and indirect providers of services (เป็นผู้ให้บริการโดยตรงและโดยอ้อม) Members of multi-professional teams (เป็นสมาชิกของทีมสหสาขาวิชาชีพ) Consultants to Government, Non-Governmental Organisations (NGOs) and Disabled People’s Organisations (DPOs) (เป็นผู้ให้คำปรึกษาแก่องค์กรของรัฐ องค์กรเอกชน และองค์กรเพื่อผู้พิการ) 21 Padkao T
  • 22. Developers, implementers and managers of services (เป็นผู้พัฒนา ผู้ดำเนินการ และผู้จัดการโครงการบริการสุขภาพ) Educators of other health personnel and support staff (เป็นผู้ให้ความรู้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพสุขภาพอื่นๆรวมถึงผู้ให้การสนับสนุนอื่นๆในด้านที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวและคุณภาพชีวิต) Role of PT in Primary Care 22 Padkao T
  • 25. นักกายภาพบำบัดทำงานที่ไหนบ้าง บทบาทด้านส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคแก่ประชาชน - ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพต่างๆ - ศูนย์บริการผู้สูงอายุและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (เมือง/ชนบท) - โรงงานอุตสาหกรรม - สถานพยาบาลระดับปฐมภูมิ (ศูนย์แพทย์ชุมชน/หน่วยบริการปฐมภูมิ/สถานีอนามัย/ศูนย์บริการสาธารณสุขของ กทม.) 25 Padkao T
  • 26. นักกายภาพบำบัดทำงานที่ไหนบ้าง บทบาทด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย - สถานพยาบาลระดับตติยภูมิหรือระดับทุติยภูมิ (โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย/โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลขนาด 90 เตียง) - คลินิกเอกชน - สถานบริการเฉพาะทาง (ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพแห่งชาติ/บ้านพักคนชรา) - การดูแลสุขภาพที่บ้าน (Home visits/Home health care) 26 Padkao T
  • 28. วัตถุประสงค์การศึกษาชุมชน *เป็นกระบวนการที่จะทำให้นิสิตสามารถวิเคราะห์ชุมชนได้ วัตถุประสงค์ หาข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน ทดสอบความรู้เดิมให้มีความเชื่อถือมากยิ่งขึ้น เพื่อนำข้อเท็จจริงไปใช้ประโยชน์ในงานพัฒนา 28 Padkao T
  • 29. วิธีการศึกษาชุมชน การสังเกตการณ์ - แบบมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด - แบบไม่มีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด 2. การสัมภาษณ์ - แบบเจาะจง - แบบไม่กำหนดคำตอบไว้ล่วงหน้า - แบบลึกซึ้ง/เชิงลึก - ซ้ำ 3. การประเมินสภาวะเร่งด่วน 4. การสนทนากลุ่ม 29 Padkao T
  • 31. วัตถุประสงค์การวิเคราะห์ชุมชน ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน ศึกษาสาเหตุของปัญหา ศึกษาความสามารถในการแก้ไขปัญหา ศึกษาลู่ทางในการแก้ไขปัญหา (5 วิธี) I. ประชุมและสรุปโดยผู้สำรวจ/ผู้ปฏิบัติ/ผู้เชี่ยวชาญ II. ผู้สำรวจ/ผู้ปฏิบัติ/ผู้เชี่ยวชาญ III. แยกประชุมและสรุประหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่ IV. ทุกฝ่ายในชุมชนพิจารณาร่วมกันโดย จนท. เป็นที่ปรึกษา V. ทุกฝ่ายในชุมชนพิจารณากันเอง 31 Padkao T
  • 32. กระบวนการเรียนรู้ชุมชน การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) (PAR) การประเมินสภาวะชนบทแบบเร่งด่วน (Rapid Rural Appraisal) (RRA) กระบวนการเทคนิค A-I-C (Appreciation Influence Control) * กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Process) 32 Padkao T
  • 33. กระบวนการเทคนิค A-I-C ** เป็นเทคนิคการระดมความคิดที่ให้ความสำคัญต่อความคิด และการมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน มี 3 ขั้นตอน A – สมาชิกเสนอความคิดเห็นและข้อมูลตามมุมมองของตน A1 – เป็นการวิเคราะห์สภาพของหมู่บ้าน A2 - เป็นการสร้างภาพการพัฒนาหมู่บ้านที่พึงปรารถนา I – สมาชิกคิดแนวทางในการพัฒนาร่วมกัน I1 – การคิดค้นวิธีการ/โครงการ/กิจกรรม I2 - การคิดเลือกจัดลำดับความสำคัญของกิจกรรม C - นำเอาแนวคิดมาวางแผนปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม 33 Padkao T
  • 34. Community Based Rehabilitation การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการโดยชุมชน 34 Padkao T
  • 35. CBR has been defined as “a strategy within general community development for rehabilitation, equalization of opportunities and social inclusion of all people with disabilities.” (Joint Position Paper from ILO, UNESCO, and WHO, 2004) “ หลักยุทธศาสตร์ที่รวมอยู่ในการพัฒนาชุมชนโดยมีเป้าหมายเพื่อ 1) การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ 2) ความเท่าเทียมกันของโอกาส และ 3) ให้คนพิการมีส่วนร่วมและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคม ” 35 Padkao T
  • 36. ลักษณะของ CBR CBR is implemented through the combined efforts of: 1. disabled persons themselves 2. their families and communities With the appropriate networking of: 1. health service 2. education services 3. vocational service 4. social service 36 Padkao T
  • 37. ลักษณะของ CBR 1.       เป็นยุทธศาสตร์ “เชิงรุก” เข้าถึงคนพิการในชุมชน โดยคนพิการและครอบครัว ตลอดจน  ชุมชนต้องมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ 2.       การดำเนินงานต้องเป็นไปตามความต้องการของชุมชน เน้นการค้นหาและพัฒนาศักยภาพของคนพิการ ครอบครัวและชุมชน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์และสังคม โดยสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในกระบวนการฟื้นฟูทั้งในระดับการวางแผนและการดำเนินงาน ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ และมีการประสานงานกัน 37 Padkao T
  • 38. แสวงหาและใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาชาวบ้าน ความรู้เดิมของชุมชน เทคโนโลยีพื้นบ้าน และทรัพยากรในท้องถิ่นที่มีอยู่แล้ว หรืออาจกล่าวว่าจะต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนนั้นให้เป็นประโยชน์ต่อการฟื้นฟูสมรรถภาพให้มากที่สุด ไม่พึ่งพิงทรัพยากรภายนอกมากนัก ใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้อง เหมาะสมและประหยัด 38 Padkao T
  • 39. เงื่อนไขของ CBR กิจกรรมหรือโครงการที่จัดว่าเป็น CBR จะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขต่อไปนี้ 1. คนพิการจะต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรม/โครงการนั้นทุกขั้นตอนของโครงการนับตั้งแต่เริ่มการออกแบบโครงการ2. วัตถุประสงค์หลักของโครงการจะต้องเพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิต (Quality of Life, QOL) ของคนพิการ ให้คนพิการสามารถดำรงชีวิตได้อย่างอิสระ (Independent Living) 3. มุ่งเน้นในการทำงานกับชุมชนเพื่อส่งเสริมให้คนพิการเกิดทัศนคติทางบวกและให้สมาชิกในชุมชนมีแรงจูงใจที่จะให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมกับโครงการ CBR4. ต้องเป็นโครงการที่มีความยืดหยุ่นเหมาะสมสอดคล้องกับลักษณะของชุมชนแต่ละแห่ง 39 Padkao T
  • 40. บุคคลที่เกี่ยวข้องใน CBR 1.       คนพิการในชุมชนนั้น2.       ครอบครัวของคนพิการ3.       ชุมชนของคนพิการ4.       หน่วยงานภาครัฐ ทั้งในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ5.       องค์กรเอกชน ทั้งในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค ประเทศ และต่างประเทศ6.       บุคลากรทางการแพทย์ นักการศึกษา นักสังคมสงเคราะห์ และวิชาชีพอื่นๆที่เกี่ยวข้อง7.       นักธุรกิจ 40 Padkao T
  • 41. คุณค่าของงาน CBR CBR มีคุณค่าและมีความสำคัญต่อการพัฒนาสังคมไทย โดยนำไปสู่สิ่งต่างๆ ดังนี้1.       การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน2.       การจัดการทรัพยากรที่ประหยัดและมีประสิทธิภาพ3.       การสนับสนุนการปรับทัศนคติในทางบวกแก่คนในชุมชนและตัวคนพิการเอง4.       การสนับสนุนโอกาสและสิทธิของคนพิการ5.       การสนับสนุนการฟื้นฟูสภาพทุกส่วนตามศักยภาพที่มีอยู่ของคนพิการ6.       การสนับสนุนให้คนพิการอยู่ร่วมกับชุมชนในฐานะสมาชิกที่เสมอภาคในชุมชน มีความสุขและความอบ 41 Padkao T
  • 42. CBR กับประเทศไทย เริ่มจากความร่วมมือระหว่างองค์การอนามัยโลกกับกระทรวงสาธารณสุขใน พ.ศ.2526: แปลคู่มือ – อบรมอาสาสมัคร ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติได้ดำเนินงาน CBR อย่างต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน 10 ปีที่ผ่านมา หน่วยงานอื่นที่ทำงานเกี่ยวข้องกับคนพิการหรือมีความสนใจในงานคนพิการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มองค์กรพัฒนาเอกชน เช่น มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ มูลนิธิศรีบุญเรืองเพื่อคนพิการ มูลนิธิช่วยเหลือเด็กพิการ อุบลราชธานี เป็นต้น 42 Padkao T
  • 43. PTs have an important contribution to make in CBR: both urban and rural settings By providing interventions aimed at health promotion, disease prevention, treatment and rehabilitation (โดยจัดให้มีการบริการทั้งทางการส่งเสริมสุขภาพ, การป้องกันโรค, การรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ) By educating and transferring skills to other staff, carers and the community to achieve the fulfillment of physical therapy and patient/client goals (โดยให้การศึกษาและถ่ายทอดทักษะความรู้ไปยังผู้ร่วมงานคนอื่นๆ ผู้ดูแลและสังคมเพื่อให้เป็นไปตามเป้าประสงค์ของทั้งการรักษาทางกายภาพบำบัดและตัวผู้ป่วยเอง) 43 Padkao T
  • 44. PTs have an important contribution to make in CBR: Through consultancy, advice, support and supervision to other health, education and social care/service personnel (ให้คำปรึกษา แนะนำ สนับสนุนและผู้ควบคุม แก่บุคลากรด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านการดูและ/บริการทางสังคม) As initiators and managers of programmes(เสมือนเป็นผู้กระตุ้น/ผู้ริเริ่มและเป็นผู้จัดการโปรแกรมการฟื้นฟูนั้นๆ) 44 Padkao T
  • 45. PTs have an important contribution to make in CBR: As policy advisers to Governments, Non-Governmental Organisations (NGOs) and Disabled People’s Organisations (DPOs) (เป็นที่ปรึกษาทางด้านนโยบายของทางราชการ เอกชน และองค์กรของผู้พิการ) 45 Padkao T
  • 46. ตัวอย่างการจัดกิจกรรมตามหลัก CBR “ศูนย์ฟื้นฟูเด็กพิการ” เดิม: “เน้นที่การฟื้นฟูพัฒนาการเรียนรู้และการให้บริการกายภาพบำบัดแก่เด็กเป็นรายกรณีตามลักษณะและปัญหาของเด็กโดยตรง” ใหม่: “หันมาให้ความสำคัญต่อครอบครัวและชุมชนในการฟื้นฟูเด็กพิการ” 46 Padkao T
  • 47. โครงการฟื้นฟูเด็กพิการโดยชุมชน “ค่ายเยาวชนคนพิการ” งานฟื้นฟูเด็กพิการโดยชุมชน (CBR) ของมูลนิธิฯ ได้รับการยกย่องว่าเป็นโครงการที่เหมาะสมและมีประสิทธิผลมาก ดนตรีเพื่อคนพิการ( Asia  Wataboshi  Music  Festival ) 47 Padkao T
  • 49. การเขียนโครงการเพื่อของงบประมาณ ชื่อโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการ ระยะเวลาดำเนินการ หลักการและเหตุผล เป้าหมาย วัตถุประสงค์ การดำเนินการ สถานที่ งบประมาณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ปฏิทินงาน/กำหนดการ 49 Padkao T
  • 50. หลักการเขียนรายงานเพื่อของบประมาณ กำหนดหัวข้อเรื่อง กำหนดขอบเขต วางโครงเรื่อง รวบรวมข้อมูลจากเอกสาร รวบรวมข้อมูลสนาม เขียนฉบับร่าง แก้ไขและขัดเกลา ส่งให้เพื่อน/ผู้รู้อ่านและวิจารณ์ เขียนฉบับสมบูรณ์ 50 Padkao T
  • 51. โครงสร้างหลักของรายงานหลังเสร็จสิ้นโครงการ ส่วนนำ: ปกนอก / ปกใน / กิตติกรรมประกาศ / สารบัญ ส่วนเนื้อเรื่อง: *บทนำ – ความเป็นมาของเรื่อง วัตถุประสงค์ ขอบเขต * วิธีการดำเนินงาน – กิจกรรม / ขั้นตอน * ผลการดำเนินงาน - ผลที่ได้จากการศึกษาทั้งหมด * สรุปผลและข้อเสนอแนะ 3. ส่วนอ้างอิง: เอกสารอ้างอิง / ภาคผนวก 51 Padkao T
  • 53. กิจกรรมงานกายภาพบำบัด“กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน” Padkao T 53 สถานีอนามัยพุดซา ต.พุดซา อ.เมือง จ.นครราชสีมา
  • 55.
  • 56. การเยี่ยมบ้านแบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม คือ1. Illness Home Visit 2. Dying Patient Home Visit 3. Assessment Home Visit 4. Hospitalization follow-up home visit 55 Padkao T
  • 57. 1. การเยี่ยมบ้านกรณีเจ็บป่วย (Illness Home Visit) กรณีฉุกเฉิน (Emergency) เป็นการเยี่ยมบ้านเพื่อช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินกับผู้ป่วยในครอบครัว เช่น หอบมาก หมดสติ อุบัติเหตุ ใจสั่น 2. โรคฉับพลัน (Acute Illness) เป็นการเยี่ยมบ้านเพื่อช่วยประเมินและเพื่อช่วยเหลือเบื้องต้น เช่น โรคหวัด ท้องร่วง 3. โรคเรื้อรัง (Chronic Illness) เป็นการเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินและวางแผนช่วยเหลือผู้ป่วย ญาติ หรือหน่วยงานใดในการช่วยเหลือผู้ป่วย เช่น อัมพาต ทุพลภาพ โรคเบาหวาน โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 56 Padkao T
  • 58. 2. การเยี่ยมบ้านผู้ป่วยใกล้เสียชีวิต (Dying patient home visit) เช่น ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย เป็นต้น วัตถุประสงค์ คือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย เป็นผู้ป่วยที่ทรมานจากการปวด บวม หรือหอบ ประคับประคองภาวะโศกเศร้า เป็นการประคับประคองทั้งทางร่างกายและจิตใจแก่สมาชิกในครอบครัวตั้งแต่ระยะที่รู้ว่าผู้ป่วยอยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิตจนถึงเสียชีวิตลงไป และประเมินความผิดปกติที่เกิดขึ้นแก่สมาชิกในครอบครัว เมื่อภาวะโศกเศร้าไม่หายไปในระยะเวลาที่สมควร 57 Padkao T
  • 59. 3. การเยี่ยมบ้านเพื่อประเมิน (Assessment home visit) ประเมินสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพผู้ป่วย (Home situation) ประเมินการใช้แหล่งบริการทางสุขภาพมากเกินไป (Excessive use of health care service) ประเมินความเสี่ยงของสมาชิกในบ้านที่อาจจะถูกละเลยหรือถูกทำร้ายจากสมาชิกในครอบครัว (Abuse & Neglect) ประเมินผู้ป่วยที่จำเป็นต้องไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล (Need to health care service) ประเมินร่วมกับสมาชิกในครอบตัวเมื่อเกินความสามารถของสมาชิกในครอบครัวที่จะดูแลผู้ป่วยได้ 58 Padkao T
  • 60. 4. การเยี่ยมบ้านหลังจากออกโรงพยาบาล (Hospital follow-up visits) ผู้ป่วยที่นอนโรงพยาบาลโดยโรคฉับพลัน, อุบัติเหตุ หรือการผ่าตัด ผู้ป่วยประเภทนี้หลังจากออกจากโรงพยาบาลสามารถติดตามเยี่ยมบ้านต่อได้ ครอบครัวและบุตรที่เกิดใหม่ เพื่อช่วยเหลือพ่อ แม่ ที่มีบุตรใหม่ที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการดูแลลูก รวมถึงการประเมินสิ่งแวดล้อมในครอบครัวเพื่อให้เกิดการดูและใหม่อย่างดี ผู้ป่วยที่ไม่มาตามนัด การเยี่ยมบ้านจะช่วยประเมินสาเหตุหรือเหตุผลของผู้ป่วยที่ไม่มาตามนัด หรือมีเหตุการณ์ที่ไม่สามารถมาได้ 59 Padkao T
  • 61. ข้อปฏิบัติในขณะเยี่ยมบ้าน ประกอบด้วย การเตรียมตัวก่อนเยี่ยมบ้าน ข้อปฏิบัติในขณะทำการเยี่ยมบ้าน การวางแผนเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัว การประเมินผล 60 Padkao T
  • 62. 1. การเตรียมตัวก่อนเยี่ยมบ้าน 1.1 กำหนดวัตถุประสงค์ในการเยี่ยม ให้ชัดเจนเพื่อเกิดประโยชน์ในแต่ละครั้ง 1.2 เครื่องแต่งกายสะอาด เรียบร้อย 1.3 ศึกษาประวัติของผู้ป่วยที่จะเยี่ยม 1.4 จดชื่อ นามสกุล ของผู้ป่วย พร้อมทั้งแผนที่ เพื่อสะดวกในการหาบ้าน 1.5 ตรวจดูความเรียบร้อยของกระเป๋าเยี่ยมบ้านก่อนออกปฏิบัติจริง 61 Padkao T
  • 63. 2. ข้อปฏิบัติในขณะทำการเยี่ยมบ้าน 2.1 ศึกษาข้อมูลทั่วไปของคนในครอบครัว 2.2 ท่าทีเป็นกันเอง มีความจริงใจต่อครอบครัว 2.3 สิ่งที่เกิดขึ้นในครอบครัวต้องเป็นความลับ 2.4 ควรหาข้อมูลโดยการซักถามด้วยความสุภาพ เคารพสิทธิของผู้ป่วยและครอบครัว 2.5 การใช้คำถามในเรื่องส่วนบุคคลควรถามด้วยความระมัดระวัง 2.6 ให้คำพูดให้เหมาะสมกับพื้นความรู้ของผู้ฟัง 2.7 คำแนะนำควรเหมาะสมกับสภาพครอบครัว 2.8 การเยี่ยมครั้งต่อไปดูผลการแนะนำในครั้งก่อนว่าปฏิบัติได้หรือไม่ มีอุปสรรคอะไรบ้างจะได้แก้ไข 2.9 บันทึกผลการเยี่ยมบ้านสั้นๆ เพื่อกันลืม กลับมาแล้วจึงเขียนรายงาน เพื่อประเมินปัญหาและความต้องการ 62 Padkao T
  • 64. 3. วางแผนเพื่อช่วยเหลือโดยแบ่งพิจารณาเป็น 3.1 เป้าหมายที่ต้องการ 3.2 แนวทางปฏิบัติหรือวิธีแก้ปัญหา 63 Padkao T
  • 65. 4. การประเมินผล โดยภาพรวมสิ่งที่เราต้องประเมินคือ 1.1 ผู้ป่วยและครอบครัวมีสุขภาพดีขึ้น ปัญหาบรรเทาลง และไม่มีผลแทรกซ้อน 1.2 ผู้ปฏิบัติงานมีการทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีทักษะเพิ่มขึ้น ( การประเมินผล อาจพิจารณาเฉพาะผู้ป่วยและครอบครัว เป็นแต่ละรายไป ขึ้นกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้ในการแก้ปัญหาตั้งแต่ต้น ) 64 Padkao T
  • 73. INHOMESSS เป็น Mnemonic ที่ใช้ช่วยในการประเมินขณะเยี่ยมบ้าน ไม่ได้เป็นสิ่งที่ต้องยึดถือ แต่มีไว้เพื่อช่วยจำเท่านั้น เพราะในความเป็นจริงการเยี่ยมบ้านในผู้ป่วยแต่ละรายนั้นย่อมมีความแตกต่างกัน ดังนั้นนักกายภาพบำบัดจึงควรพิจารณาประเด็นอื่นๆร่วมด้วยทุกครั้ง “ INHOMESSS ” ย่อมาจาก 72 Padkao T
  • 74. I : Impairment / Immobility เป็นการประเมินสิ่งที่ผู้ป่วยสามารถทำได้ในชีวิตประจำวัน ที่เราเรียกว่า activities of daily living ( ADL : bathing, transfer, dressing, toileting, feeding, continence), Bed mobility, Balance, Hand function, Sensory impairment 73 Padkao T
  • 75. N : Nutrition ประเมินเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของผู้ป่วย ไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรมการรับประทาน ชนิดของอาหาร อาจหมายถึงต้องเปิดดูในตู้เย็น ในตู้กับข้าว การประเมินจำนวนแคลอรี่ก็จำเป็นในผู้ป่วยบางราย เช่น โรคอ้วน 74 Padkao T
  • 76. H : Home Environment สิ่งแวดล้อมรอบบ้าน ความสัมพันธ์ในชุมชน และเพื่อนบ้านที่ดี มีผลต่อสภาพจิตใจรวมทั้งความปลอดภัยด้วย โดยเฉพาะผู้สูงอายุ การมีเพื่อนบ้านที่ดีเป็นสิ่งดีมาก เช่น ช่วยในการขนย้ายผู้ป่วย การเป็นเพื่อนคุย บางครั้งอาจมีการจัดตั้งเป็นชมรม เพื่อทำกิจกรรมต่างๆที่สนใจ เช่น ชมรมรำมวยจีน ชมรมคนรักสุขภาพ ชมรมเดินเพื่อสุขภาพ สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้ป่วยตระหนักถึงคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ และส่งผลให้การรักษาดีขึ้นได้. 75 Padkao T
  • 77. O : Other People สมาชิกในบ้านและเพื่อนเป็นสิ่งสำคัญอีกอย่างที่ต้องประเมิน ใครจะเป็นคนนำส่งโรงพยาบาล ใครมีบทบาทและมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการรักษา เมื่ออยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิตใครจะเป็นคนตัดสินใจ ผู้ป่วยมี living will ไว้อย่างไร *ผู้ดูแล ( caregiver ) ว่ามีความต้องการ รวมทั้งความเสี่ยง ทางด้านสุขภาพกายและจิตใจอย่างไร เนื่องจากเป็นบุคคลที่ถูกกระทบมากที่สุดจากความเจ็บป่วยรองจากตัวผู้ป่วยเอง 76 Padkao T
  • 78. M : Medications ทำ Home Medication Review = ชนิดของยาที่ใช้ จำนวน วิธีการรับประทาน ความถี่ในการรับประทานยา เหล่านี้มีผลต่อการเกิด drug-drug หรือ drug-food interactions ได้ ปัญหาที่มักพบบ่อยคือ การให้ยาหลายชนิด (polypharmacy ) โดยไม่จำเป็น ( compliance ไม่ดี / drug interactions ) บางรายอาจมีปัญหา doctor shopping หรือ เรื่องการใช้ยาสมุนไพร หรือ ซื้อยารับประทานเอง ก็ควรทำเช่นกัน 77 Padkao T
  • 79. E : Examination ยังคงเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องทำขณะเยี่ยมบ้าน การทดสอบการเคลื่อนไหวที่ใช้จริงๆ ขณะอยู่ที่บ้าน เช่น ให้ผู้ป่วยเดินเข้าห้องน้ำ การเดินขึ้นบันไดและอื่นๆ 78 Padkao T
  • 80. S : Safety บ้านสำหรับผู้ป่วยควรเป็นสถานที่ ที่รู้สึกสบายและปลอดภัย เฟอร์นิเจอร์ไม่เกะกะเวลาที่ผู้ป่วยเดิน ควรมีสิ่งช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ป่วย เช่น การมีแสงสว่างที่เพียงพอ ภายในห้องน้ำมีราวจับกันล้ม หากผู้ป่วยรู้สึกไม่สบายสามารถกดโทรศัพท์เบอร์ฉุกเฉินได้ง่าย 79 Padkao T
  • 81. S : Spiritual Health. นักกายภาพบำบัดควรประเมินในเรื่องของความเชื่อ วัฒนธรรม เนื่องจากอาจมีผลต่อการแก้ปัญหา การตัดสินใจ การรักษาโรค ของทั้งผู้ป่วย ญาติ และชุมชน 80 Padkao T
  • 82. S : Services การเข้าระบบบริการทางสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญ เพราะมีผลต่อการรักษาที่เท่าเทียม สม่ำเสมอ และต่อเนื่อง ในชุมชนบางแห่งอยู่ห่างไกลไปมากหรือเข้าถึงได้ยาก ทำให้การเข้ามารับบริการทางสุขภาพทำได้ลำบาก ทำให้รับการรักษาได้ไม่สม่ำเสมอ ซึ่งหากในชุมชนดังกล่าวมีการจัดตั้งตัวแทน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน หรือ มีอนามัยที่สามารถให้การรักษาเบื้องต้น และ ให้การดูแลส่งเสริมสุขภาพได้ดี ก็จะสามารถลดปัญหาดังกล่าวได้มาก 81 Padkao T
  • 83. การสรุปและประเมินผลหลังการเยี่ยมบ้าน สิ่งที่ต้องทำเป็นอันดับแรก - การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้มาทั้งหมด (Integrate data post home visit ) ทำ Multidisciplinary conference  เข้าใจปัญหาถูกต้อง  แก้ปัญหาได้หลายมุมมอง ทำ Comprehensive treatment and future work plans : หากมีปัญหา-หาเครือข่าย เพื่อขอความช่วยเหลือได้ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและทักษะ 82 Padkao T
  • 85. Story Telling เมื่อลุงทิวไม่อยู่บ้าน…. อากาศที่ร้อนอบอ้าวเนื่องจากความชื้นสัมพัทธ์ที่สูงมักชวนให้ใครหลายคนรู้สึกหงุดหงิดได้ง่าย โดยเฉพาะกับคนที่ชอบใช้อารมณ์อยู่เหนือเหตุผล ฉะนั้นก็คงไม่แปลกถ้าจะเจอใครหลายคนแสดงความหงุดหงิดไม่พอใจให้เห็นในช่วงนี้…ถือเสียว่าเป็นการฝึกความอดทนอย่างหนึ่งเสียก็คงจะดี วันที่พวกเราไปออกเยี่ยมบ้านลุงทิวครั้งที่สองก็เป็นอีกวันที่อากาศร้อนอ้าว แต่ได้มีเหตุการณ์ไม่คาดฝันเกิดขึ้น!   “ลุงทิวไม่อยู่บ้าน!”  “โทรติดต่อลูกสาวเขาไม่ได้เลย” “หา OPD Card ก็ไม่เจอ” 84 Padkao T
  • 86. “ทำไงกันดีละ”   กล้ามเนื้อบนใบหน้าของทุกคนเริ่มตึงเครียดขึ้นมาทีเดียวด้วยความเซ็ง เซ็งเนื่องจากอากาศร้อน แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นกลับยิ่งทำให้อากาศมันร้อนขึ้นกว่าเดิมอีกนะสิ   ไม่เป็นไร…. ทุกอย่างย่อมมีทางแก้….   ลองโทรหาลูกสาวลุงทิวอีกทีดีกว่า   ตื้ด…ตื้ด…ตื้ด… ตื้ด…ตื้ด…ตื้ด…ตื้ด… ตื้ด…ตื้ด…ตื้ด…ตื้ด…ตื้ด… ไม่มีคนรับสาย….. ตัดสินใจโทรกระหน่ำไปอีก 4-5 ครั้งแล้วกัน…. จนในที่สุดก็มีคนรับสาย   85 Padkao T
  • 87. “ฮัลโหล” เสียงปลายสายที่กล่าวทักทายฟังดูไม่ค่อยจะต้อนรับเท่าใดนัก   “สวัสดีค่ะ พวกหนูเป็นนิสิตแพทย์ จาก มศว นะคะ ที่จะไปเยี่ยมบ้านคุณลุงทิวกันวันนี้นะค่ะ เห็นว่าลุงทิวไม่อยู่บ้านแล้วหรอคะ”   “อ๋อ ค่า ลุงทิวไปปากช่องกับญาติเมื่อเช้านี่เองค่ะ” น้ำเสียงคนปลายสายเริ่มอ่อนลงหน่อย   “อ๋อ อย่างนั้นหรือคะ แล้วไม่ทราบว่าตอนนี้มีคนอยู่ที่บ้านลุงทิวไหมคะ”   “ก็มีพี่นี่แหละค่ะ แต่ว่าตอนนี้ออกมาทำธุระข้างนอก เดี๋ยวอีกซักชั่วโมงถึงจะกลับนะค่ะ”   เอาไงดีหว่า….แต่ไหนๆ วันนี้มาแล้วก็ไปเยี่ยมบ้านเลยแล้วกัน “ถ้าอย่างนั้น พวกหนูจะขอไปเยี่ยมบ้านคุณลุงทิวอีกหนึ่งชั่วโมง คุณพี่จะสะดวกไหมคะ”   “ได้สิคะ ค่ะ แล้วเจอกันค่ะ”   86 Padkao T
  • 88. แล้วอีกหนึ่งชั่วโมงต่อมา พวกเราก็เดินทางกันมาบ้านลุงทิว บรรยากาศคราวนี้ดูเงียบเหงาผิดสังเกต คงเพราะไม่เห็นชายชรากับไม้ค้ำคนเดิมที่เปี่ยมด้วยอารมณ์ขัน แต่เป็นลูกสาวคนโตของคุณลุงทิวที่มาต้อนรับพวกเราแทน หลังจากพูดคุยกับลูกสาวของคุณลุงทิวได้หนึ่งชั่วโมง สอบถามสิ่งที่พอจะถามเก็บเอาไว้เป็นข้อมูลได้แล้ว พวกเราก็ลากลับ แม้ว่าวันนี้จะไม่ค่อยได้อะไรมากนัก แต่สิ่งที่เราได้เรียนรู้เพิ่มเติมก็คือ ลูกสาวคนโตของลุงทิว กับความกตัญญูของเธอ การที่เราพูดคุยผ่านมุมมองของเธอก็ทำให้เราเข้าใจลุงทิวมากขึ้น และก็ได้สะท้อนมุมมองความคิดของลูกสาวลุงทิวอีกด้วย แม้ว่าในเบื้องต้นจะมีปัญหาบ้างก็ตาม แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นก็ก่อให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ตามมาในที่สุด 87 Padkao T
  • 89. Photo Telling 88 Padkao T
  • 90. สิ่งที่ได้ยิน มักลืม สิ่งที่ได้เห็น มักจำ สิ่งที่ได้ทำ มักเข้าใจ (ขงจื้อ) 89 Padkao T