SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
บทที่ 8
การวางแผนพัฒนาหลักสูตร
มโนทัศน์(Concept)
การวางแผนจัดทาหลักสูตรบุคคลที่มีหน้าที่วางแผนจัดทาหลักสูตรต้องร่วมกันจัดทา
แผนและจัดทาหลักสูตรตามขั้นตอนอย่างละเอียดสามารถตรวจสอบแต่ละขั้นว่าเป็นไปตาม
จุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้หรือไม่ อย่างไร หากมีปัญหาก็สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ การ
กาหนดแผนการเรียนการสอนในหลักสูตรจะช่วยให้ทราบว่าจะต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาก
น้อยเพียงใด และอย่างไร ทั้งยังสามารถกาหนดสื่อการเรียนการสอนการประเมินผลเพื่อให้
เหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ทั้งรายกลุ่ม และรายบุคคล
1.มีความรู้ ความเข้าใจ การวางแผนพัฒนาหลักสูตร
2. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้
3. สามารถให้ข้อเสนอแนะในการแต่งตั้งคณะกรรมการและหน้าที่รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกับ
การวางแผนพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นได้
การวางแผนพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องดาเนินการอยู่เสมอและจะกระทาทุกครั้งเมื่อสังคมมีสิ่งหนึ่งสิ่งใดเปลี่ยนแปลง
ไป โดยเฉพาะสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปโดยเฉพาะสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นจะทาให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนประสบการณ์ขึ้นมาใหม่และพร้อมที่จะ
นาประสบการณ์และความรู้ที่เกิดขึ้นมานั้นไปพัฒนาตนและสังคมให้เจริญงอกงามยิ่งขึ้น
Saylor and Alexander (1966 : 7) ได้สรุปว่า การวางแผนพัฒนาหลักสูตร ต้องประกอบด้วยสิ่งต่างๆ ดังนี้
สาระเนื้อหา(Content)
1. หลักสูตร
1.1 ตัวผู้เรียนเอง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและสังคมเองมองเห็นนักเรียนคืออะไรมีส่วนเกี่ยวข้องกับสังคม
อย่างไรบ้าง สังคมต้องการอะไรจากนักเรียน และนักเรียนต้องการอะไรทั้งในแง่ของส่วนบุคคล และสังคม
1.2 หน้าที่และจุดมุ่งหมายของโรงเรียนคืออะไรโรงเรียนมีแนวคิดยึดปรัชญาสาขาใดและมีแนวปฏิบัติให้บรรลุ
เป้าหมายนั้นอย่างไร
1.3 ธรรมชาติของความรู้นั้นเป็นอย่างไร ขอบข่ายของความรู้ที่จาเป็นต้องศึกษานั้นมีมากน้อยแค่ไหน อย่างไร อะไร
เป็นสิ่งจาเป็นก่อนและหลังหรือลาดับของความรู้เป็นอย่างไร
1.4 กระบวนการการเรียนรู้เป็นอย่างไร ลาดับหรือขั้นตอนของการเรียนรู้เป็นอย่างไร สิ่งที่นักพัฒนาหลักสูตรต้อง
คานึงถึงการพัฒนาหลักสูตรในขั้นตอนแรกก็คือ เรื่องที่เกี่ยวข้องกับสังคมปรัชญา ผู้เรียน และกระบวนการเรียนรู้
2. บุคคลที่ทาหน้าที่วางแผนพัฒนาหลักสูตร
2.1 นักการศึกษาในทุกระดับตั้งแต่อนุบาลประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา นักวิชาการ นักวิจัย เป็น
ต้น
2.2 ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเช่น นักเรียน ผู้ปกครอง สมาชิกในชุมชนและสมาคม
ต่างๆ เป็นต้น
3. ผู้ตัดสินใจเลือกใช้หลักสูตร
ผู้ทาหน้าที่เลือกใช้หลักสูตร คือ นักพัฒนาหลักสูตรซึ่งประกอบด้วยครู นักศึกษา ผู้บริหารการศึกษา
ผู้ปกครอง ผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ ประกอบขึ้นเป็นกรรมการดาเนินการพัฒนาหลักสูตรโดยทาหน้าที่คัดเลือกและ
จัดระบบเนื้อหาสาระตลอดทั้งแบบเรียนกาหนดระบบการเรียน การสอน และการตัดสินใจเลือกนั้นกระทาตามลาดับ
และขั้นตอนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งบรรพต สุวรรณประเสริฐ (2544: 16) ได้เสนอรูปแบบการวางแผนหลักสูตรซึ่งต้องมี
องค์ประกอบสาคัญได้แก่การกาหนดหลักสูตรนักวางแผนหลักสูตรการตัดสินใจหลักสูตรและแผนหลักสูตร
การวางแผนการพัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการที่สาคัญอย่างหนึ่งของการพัฒนาหลักสูตรที่จะทาให้หลักสูตร
เกิดความสมบูรณ์ ดังนั้น ก่อนที่จะพัฒนาหลักสูตรนักพัฒนาหลักสูตรจะต้องกาหนดแผนการพัฒนาหลักสูตรจะต้องกาหนด
แผนการพัฒนาหลักสูตรดังนี้
1. การศึกษาปัญหาหรือการกาหนดปัญหาที่เกิดขึ้นในหลักสูตรเดิม
2.การกาหนดข้อมูลเพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาข้อมูลที่กาหนดจะต้องเป็นข้อมูลที่สนองตอบต่อปัญหาที่ได้มา
จากการศึกษาปัญหา
3. การกาหนดสมมติฐานว่าหลักสูตรที่จะต้องได้รับการพัฒนานั้นจะบังเกิดผลต่อผู้เรียนอย่างไร
4.กาหนดแนวทางในการดาเนินงานขั้นตอนในการดาเนินงานจะต้องกาหนดเวลาอย่างแน่นอนเพื่อจะได้เห็น
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรตั้งแต่ต้นจนสาเร็จ
5. การคัดเลือกบุคลากรมาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตรจะสาเร็จได้นั้นจาเป็นต้องมีบุคคลากรที่
มีคุณภาพในการทางานบุคลากรที่ควรกาหนดในแผนได้แก่ นักพัฒนาหลักสูตรนักวิชาการศึกษา ศึกษานิเทศก์และครูผู้สอน
1. การเรียนการสอนโดยการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น
โลกในยุคมีความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีการสื่อสารอย่างมาก และไม่หยุดยั้ง ทาให้ข้อมูลข่าวสาร
ความรู้ต่างๆ แพร่ถึงกันทั่วโลกได้อย่าสะดวกและรวดเร็วโลกในปัจจุบันจึงเป็นโลกไร้พรมแดน การจัดการศึกษาจึงต้อง
พัฒนาผู้เรียนให้สามารถคัดสรรหรือนาความรู้ ข่าวสาร ข้อมูลต่างๆอันเป็นสากลมาพัฒนาความเจริญก้าวหน้าของตน สังคม
และประเทศชาติได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
การจัดการศึกษานอกจากจะพัฒนาผู้เรียนให้มีความสากลแล้วยังจะต้องคงทนความเป็นท้องถิ่นของผู้เรียนไว้
ด้วย ผู้เรียนจึงสามารถดารงชีวิตได้อย่างสอดคล้องกลมกลืนกับสภาพต่างๆในท้องถิ่นอย่างมีความสุข มีความรัก มีความ
ภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน สามารถไก้ไขและพัฒนาท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม การจัดการศึกษาต้องร่วมมือกันระหว่าง
โรงเรียนกับท้องถิ่น เป็นทวิภาคีร่วมกันในการสร้างเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนและแก้ปัญหาในชุมชนหรือ
ท้องถิ่น
2. แหล่งการเรียนรู้ในโรงเรียน
แหล่งการเรียนรู้ที่โรงเรียนสามารถจัดดาเนินการเพื่อให้ครู อาจารย์ และผู้เรียน ได้ศึกษาหาความรู้และ
ประสบการณ์ มีหลายประเภทขึ้นอยู่กับกาลังความสามารถของโรงเรียนแต่ละแห่ง ตัวอย่างเช่น ห้องสมุดโรงเรียน
ห้องสมุดหมวดวิชา ห้องสมุดเคลื่อนที่ มุมหนังสือในห้องเรียน ห้องพิพิธภัณฑ์ ห้องมัลติมีเดีย ห้องคอมพิวเตอร์ ห้อง
อินเตอร์เน็ต ศูนย์วิชาการ ศูนย์วิทยาบริการ ศูนย์สื่อการเรียนการสอน ศูนย์พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน สวน
พฤกษศาสตร์ สวนวรรณคดี สวนสมุนไพร สวนสุขภาพ สวนหนังสือ สวนธรรมะ ฯลฯ
3. แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นซึ่งจะเอื้อประโยชน์ในการเรียนรู้ที่หลากหลายในการจัดการเรียนการสอนมี 6
ประเภท ดังนี้
1.บุคคล หมายถึง ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในงานเฉพาะสาขาหรืองานอาชีพต่างๆซึ่งโรงเรียนอาจ
เชิญมาเป็นวิทยากรในบางชั่วโมง หรืออาจจ้างสอนเป็นรายวิชาหรือเชิญเป็นอาสาสมัครสอน เป็นพิเศษ
2.สถาบัน หน่วยงาน หรือองค์กรทางสังคม
3.สถานที่ที่เป็นแหล่งธรรมชาติ ได้แก่ แม่น้า ทะเล ภูเขา ป่าไม้น้าตก ห้วย หนอง คลอง บึง ฯลฯ เป็นต้น
4.วัสดุและเศษวัสดุต่างๆที่มีในท้องถิ่น
5.สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ
6.สื่ออิเล็กทรอนิกส์
4. ประโยชน์ของการเรียนการสอนโดยการใช้แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
การใช้แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นมีประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
1.ทาให้นักเรียนรู้จัก และใช้ประโยชน์จากสิ่งต่างๆที่มีอยู่และหาได้ง่ายในท้องถิ่นของตน
2.ทาให้นักเรียนรัก ภูมิใจ มองเห็นคุณค่า หวงแหน อนุรักษ์และช่วยทานุบารุงรักษาท้องถิ่นของตน3.ช่วยให้การเรียน
การสอนมีประสิทธิภาพ
4.ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนครูหรือขาดครูที่มีความรู้ความชานาญในการสอนบางเนื้อหาบทเรียน
5.การใช้วิทยากรหรือแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น
5. แนวทางการใช้แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
การใช้แหล่งการเรียนในท้องถิ่น เพื่อประโยชน์ต่อการเรียนการสอนมีแนวทางกว้างๆดังนี้
1.สารวจข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น จัดทาระบบการเก็บรวบรวมข้อมูลให้ทันสมัย สะดวกต่อการค้นหา
2.ศึกษาหลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตรต่างๆเพื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมที่จะใช้แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นให้
เป็นประโยชน์และสอดคล้องกับหลักสูตร
3.ประยุกต์ใช้วัสดุและเศษวัสดุที่มีในท้องถิ่นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดหลักการหรือความคิดรวบยอด
ตามหลักสูตรแกนกลางทดลองใช้จนเกิดความมั่นใจแล้วจึงได้นามาให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ
4.ครูและนักเรียนร่วมมือกันเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ในท้องถิ่นอย่างเป็นระบบเพื่อประโยชน์ในการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน
5.บันทึกผลการเรียนการสอนโดยการใช้แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นทั้งเป็นลายลักษณ์อักษรและรูปภาพเพื่อประโยชน์ใน
การพัฒนา ปรับปรุง หรือนามาใช้ในโอกาสต่อไป
6.ปรับปรุง แก้ไข พัฒนา การเรียนการสอนโดยใช้แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นให้ดีขึ้นอยู่เสมอ ซึ่งนอกจากจะเป็น
ประโยชน์ต่อคุณภาพของการเรียนการสอนแล้วยังเห็นการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของโรงเรียนได้ด้วย
6. หลักการจัดหาแหล่งการเรียนรู้
ในแต่ละท้องถิ่นย่อมมีแหล่งการเรียนรู้ที่แตกต่างกันไป การจัดหาแหล่งการเรียนรู้เพื่อการเรียนการสอน มี
หลัก 6 ประการดังนี้ (คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติสานักงาน2524 :9-10)
1.ความเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นแหล่งการเรียนรู้ที่จะนามาใช้จัดการเรียนการสอนควรเหมาะสมกับสภาพต่างๆใน
ท้องถิ่น
2.ความสะดวกในการเดินทางและการติดต่อ
3.ความประหยัดและประโยชน์
4.ความเหมาะสมกับบทเรียนและวัยของผู้เรียน
5.ความปลอดภัยและความถูกต้อง
6.ความรู้และประโยชน์ที่หลากหลากหลาย
7. ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรและการใช้หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร
ต้องมีการร่วมมือกันหลายฝ่ายเพื่อให้ผลงานออกมาตรงเป้าหมายได้แก่
1.นักบริหารหลักสูตร ได้แก่ อธิบดีกรมวิชาการ ผู้อานวยการศูนย์พัฒนาหลักสูตรผู้อานวยการศูนย์พัฒนา
หนังสือฯ
2. นักวิชาการ ได้แก่ อาจารย์ในมหาลัยและสถาบันการศึกษาต่างๆ
3. ครู อาจารย์ศึกษานิเทศก์
4. นักบริหาร ได้แก่ ผู้บริหารในระดับต่างๆ
5. บุคคลภายนอก ได้แก่ บุคคลอื่นๆ นอกจากที่กล่าวมาและเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตร
6. หน่วยสนับสนุนการใช้หลักสูตร
สรุป(Summary)
การวางแผนพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ในที่นี้เป็นการนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาจัดทาเป็น
หลักสูตรสถานศึกษา ใช้ข้อมูลหรือแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น กล่าวคือ การวิเคราะห์เชื่อมโยงข้อมูลท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น
และทรัพยากรบุคคลในท้องถิ่น มาบูรณาการการจัดกระบวนการทางการศึกษาการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ซึ่ง
โดยทั่วไปแล้วการวางแผนพัฒนาหลักสูตรจะเริ่มต้นจากการวิเคราะห์ หลักสูตรเดิมที่ใช้กันอยู่ก่อนแล้วว่ามีผลต่อการใช้ปัจจุบัน
อย่างไรหากหลักสูตรเดิมไม่สนองต่อความต้องการของสังคมและผู้เรียนในปัจจุบันอันจะส่งผลไปสู่อนาคตเพื่อการผลิตคนสู่
อนาคตแล้วก็ให้นาผลที่ได้มาเป็นข้อมูลในการวางแผนสร้างหลักสูตรใหม่

More Related Content

What's hot

What's hot (6)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 

Similar to บทที่8

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8fernfielook
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8nattawad147
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8wanneemayss
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8parkpoom11z
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8Dook dik
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
teaching
teachingteaching
teachingsangkom
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7Dook dik
 

Similar to บทที่8 (20)

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
teaching
teachingteaching
teaching
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

More from Pateemoh254

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pateemoh254
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4Pateemoh254
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Pateemoh254
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5Pateemoh254
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2Pateemoh254
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Pateemoh254
 
บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10Pateemoh254
 
ปรัชญา
ปรัชญาปรัชญา
ปรัชญาPateemoh254
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2Pateemoh254
 

More from Pateemoh254 (9)

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
 
ปรัชญา
ปรัชญาปรัชญา
ปรัชญา
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 

บทที่8