SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
L/O/G/O
การจา และการลืม
การจา (Memory) หมายถึง ความสามารถทางสมองของ
บุคคลที่จะเก็บสะสมเหตุการณ์ต่างๆโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า
และสามารถระลึกถึงและถ่ายทอดออกมาได้อย่างถูกต้องเมื่อ
ต้องการ
ระบบของการจา
ความจาเป็นระบบการทางานที่ตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา (active system)
ในการจา รับ (receives) เก็บ (stores) จัดการ (organizes) เปลี่ยนแปลง
(alters) และนาข้อมูลออกมา (recovers)
การทางานของการจาคล้าย ๆ กับเครื่องคอมพิวเตอร์ คือเริ่มจากการใส่
รหัสข้อมูลเข้าไป จากนั้นจะเก็บข้อมูลไว้ในระบบ (ซึ่งการจาของมนุษย์
จะมีระบบการเก็บข้อมูล 3 ระบบ) เมื่อต้องการข้อมูลใดก็เรียกออกมาได้
เช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ เราสามารถเก็บข้อมูลที่ต้องการจาได้มากมาย และ
สามารถนาข้อมูล ที่ต้องการออกมาได้ทั้งนี้เพราะข้อมูลถูกจัดไว้อย่างเป็น
ระบบและเป็นลาดับ เสมือนเป็นห้องสมุดเคลื่อนที่ นักจิตวิทยาได้แบ่ง
ความจา เป็น 3 ระบบ การจัดเก็บข้อมูลใด ๆ ต้องผ่านขั้นตอนทั้ง 3 นี้ ดัง
แผนภาพ ต่อไปนี้
ระบบความจา
• แบ่งออกเป็น 3 ระบบ ดังนี้ คือ
1. ระบบความจาการรู้สึกสัมผัส (Sensory Memory) คือการคงอยู่ของ
ความรู้สึกสัมผัสด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า
2. ระบบความจาระยะสั้น (Shot-term Memory : STM) เป็นความจา
คงที่ระยะสั้น เมื่อไม่ได้ใช้อีกก็ลืมไป เช่น การจาเบอร์โทรศัพท์เมื่อ
โทรศัพท์เสร็จแล้วก็ลืม
3. ระบบความจาระยะยาว (Long-Term Memory : LTM) เป็นความจา
ที่คงทน เมื่อต้องการรื้อฟื้นความจานั้นจะระลึกได้
• สรุป ความจาการรู้สึกสัมผัส ประกอบด้วย
• ความจาภาพติดตา (Iconic memory) ความคงอยู่
ของภาพในความจาการรู้สึกสัมผัส ช่วยให้ภาพนั้นคงติด
ตาต่อไปอีกหลายร้อยมิลลิวินาที
• ความจาเสียงก้องหู (echonic memory) ช่วยให้มี
การคงอยู่ของเสียงนานพอที่จะทาให้เราสามารถ
ตีความหมายได้ว่าเสียงที่ได้ยินนั้นหมายความว่าอย่างไร
การเรียนรู้เป็นอาคาร…มีพื้นฐานจากการจา
• จากเวลาที่เราเริ่มรับข้อมูลด้วยการฟังอย่างเดียวนั้น ความจาได้จะลดลง
ตามเวลา แต่ถ้าหากเราฟังไปด้วย จดไปด้วย และคิดตามไปด้วย ความจา
ได้จะลดลงช้ากว่าการฟังอย่างเดียวมาก
• นี่เป็นสาเหตุสาคัญที่แสดงให้เห็นว่าการที่ครูค่อยๆ เขียนกระดานและ
ให้นักเรียนค่อยๆ จดตามไปนั้น เป็น เทคนิคการจา ที่ดีกว่าการปิ้ง
แผ่นใสหรือฉายไฟล์เพาว์เวอร์พ้อยท์ นอกจากนี้ การคุยไปด้วย ตั้ง
คาถามให้นักเรียนได้มีโอกาสคิดตามไปด้วย ก็จะยิ่งส่งผลดีต่อ
ความจา วิธีตรวจสอบว่านักเรียนคิดตามหรือไม่ ก็คือการขอให้นักเรียน
ตอบออกมาดังๆ
เทคนิคการจา
• เทคนิคการจาที่สาคัญอีกอย่างคือ การให้การบ้าน และขอให้นักเรียนทบทวน ซึ่งจะ
เป็นการกระตุ้นความทรงจา
• ผู้เชี่ยวชาญทางสมองแนะนาเคล็ดลับเล็กๆ น้อยๆ ในการทบทวน ดังนี้
• 1. ควรให้การบ้านในปริมาณที่เหมาะสม เช่น การบ้านที่ใช้เวลาทาไม่เกิน 2
ชั่วโมงต่อวัน
• 2. ควรทิ้งช่วงเวลาในการทบทวนให้เหมาะสม นักจิตวิทยาแนะนาว่า การ
ทบทวนถี่ๆ เกินไปจะส่งผลเสีย เพราะจิตใต้สานึกจะคอยบอกว่า ตรงนี้รู้แล้ว ตรงนี้
จาได้ผลก็คือเราจะอ่านทบทวนน้อยกว่าที่ควรจะเป็น
• 3. ขณะทบทวนให้ตั้งคาถามให้ตัวเองตอบ ตั้งคาถามเยอะๆ ตอบเยอะๆ ใช้
เครื่องช่วยอย่างเช่น flashcards
•
• 4. พยายามเชื่อมโยงข้อมูลใหม่ๆ เข้ากับความรู้ที่มีอยู่เดิมจะทาให้จาได้ดี
ขึ้น วิธีที่จะเชื่อมโยงข้อมูลได้ดีวิธีหนึ่งคือการวาดแผนภาพหรือการทา
mind map การสอนของครูก็ควรมีส่วนที่เชื่อมโยงความรู้เก่าที่สอนไป
แล้วเข้ากับความรู้ใหม่ๆ ที่กาลังจะสอนด้วย
• 5. การหลับหลังจากการทบทวนอย่างเต็มที่จะทาให้เซลล์สมอง
เสริมสร้างความเข้มแข็งในการเชื่อมต่อกัน เพิ่มพลังให้แก่ความจาให้ดี
ยิ่งขึ้นไปอีก
•
• สิ่งที่สาคัญที่สุดก็คือ หากครูมีวิธีที่ทาให้นักเรียนชอบหรือว่ารักหรือว่า
หลงใหลในเนื้อหาวิชาแล้ว ครูจะพบว่านักเรียนจะเฝ้าครุ่นคิดถึงมันและ
จะจาได้จนไม่มีวันลืม แต่ถ้าหากครูทาให้นักเรียนรู้สึกหดหู่ เจ็บปวด
หรือว่าทรมานกับเนื้อหาวิชาแล้ว ต่อให้ไปเรียนพิเศษเพิ่มตามตาม
สถาบันหรือ เรียนพิเศษตัวต่อตัว เพิ่มเติมก็ไม่ช่วยให้นักเรียนชอบวิชา
นั้นขึ้น
1. ความจาการรู้สึกสัมผัส (sensory memory)
• ข้อมูลที่ต้องการจาจะเข้าสู่ระบบความจาจากการรู้สึกสัมผัส การจาแบบนี้ลักษณะ
เหมือนสิ่งที่ได้เห็นได้ยินทุกอย่าง ถ้าได้เห็น ข้อมูล ภาพติดตา (icon) หรือ
จินตภาพ จะคงอยู่ได้ครึ่งวินาที
- ตัวอย่างของภาพติดตา เช่น ถ้าคุณหลับตาสักครู่ ยกมือมาไว้ ตรงหน้าคุณ
กระพริบตาอย่างรวดเร็วด้วย การลืมตาและหลับตาลงอีกครั้ง คุณจะยังคงเห็น
จินตภาพของมือคุณ ประมาณครึ่งวินาที ที่หลับตาลง
- ในการได้ยิน ก็เช่นเดียวกัน เสียงก้องของสิ่งที่ได้ยินจะคงอยู่ประมาณ 2
วินาที เช่น เมื่อเพื่อนอ่านรายการสิ่งของ ให้คุณฟัง คุณจะเก็บข้อมูลของแต่ละ
รายการ ในรูปของเสียงในหู (echo) โดยสรุปความจาจากการรู้สึกสัมผัส เป็นระบบ
การจา ขั้นแรกที่จะเก็บข้อมูลไว้ในช่วงสั้น ๆ เพียงเพื่อถ่ายข้อมูลต่อไป ยังการจา
ระบบที่สอง
2. ความจาระยะสั้น (shot-term memory - -STM)
• สิ่งที่เราเห็นหรือได้ยินทุกอย่างไม่จาเป็นต้องอยู่ในระบบการจา เช่น ถ้าอ่านรายการซื้อของให้
ฟัง สิ่งที่สนใจเฉพาะอย่างจะเคลื่อนจากความจาจากการรู้สึกสัมผัส สู่ความจาระยะสั้น (STM)
ซึ่งจะอยู่ใน ช่วงสั้น ๆ พอกับระยะแรกความจาระยะสั้นเก็บข้อมูลในลักษณะจิตภาพ แต่
บ่อยครั้งที่จะเก็บข้อมูล ในลักษณะของเสียง
• ความจาระยะสั้นทาหน้าที่ คล้ายคลังข้อมูลชั่วคราว ที่เก็บข้อมูลได้ในจากัดไม่ว่าข้อมูล
นั้นจะสาคัญเพียงใดก็ตาม ข้อมูลจะเคลื่อน ออกจาก STM แล้วหายไป ความจาระยะสั้นช่วย
ป้องกันไม่ให้เราสับสนเกี่ยวกับชื่อ วันที่ หมายเลขโทรศัพท์ และเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ อื่น ๆ
นอกจากนั้น ยังเป็นความจาในส่วนที่ปฏิบัติงานเรียกว่า Working memory ซึ่งช่วยในการคิด
ของเรามาก การหมุนโทรศัพท์ การคิดเลขในใจ การจารายการสั่งของที่จะซื้อล้วน แต่อาศัย
การจาระยะสั้นทั้งสิ้น (Atkinson และShriffrin,1971)
• ความจาระยะสั้นถูก รบกวน หรือถูกแทรกได้ง่าย เช่น เมื่อจาหมายเลขโทรศัพท์แล้ว เดิน
ไปโทรศัพท์ แต่สายไม่ว่าง พอจะโทรเราอาจลืมหมายเลขไปแล้ว ต้องกลับไปทวนอีกครั้ง
เพราะความจาระยะสั้น ถูกรบกวน ถ้าต้องการจาได้นาน ๆ ก็ต้องใช้ความจาระบบที่สาม
• ความจาระยะสั้น หมายถึง ข้อมูลจานวนเล็กน้อยที่เรา
เก็บไว้ในลักษณะเตรียมพร้อมที่จะใช้ (active state) ใน
ระยะเวลาสั้นๆช่วงหนึ่ง ข้อมูลในความจาระยะสั้นเป็น
ข้อมูลที่เรากาลังใช้ความตั้งใจจดจ่ออยู่
• ประโยชน์ของความจาระยะสั้น คือ การช่วยทาให้ข้อมูล
ที่เรารับเข้ามาเดิมยังคงอยู่ต่อไปได้ระยะหนึ่งจนกระทั่งเรา
สามารถรับรู้ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ได้โดยตลอดและ
ตีความหมายได้
• คาศัพท์ทีมีความหมายเดียวกันกับ short – term
memory คือ working memory ,active memory, immediate
memory, primary memory และ short – term store
รหัสในความจาระยะสั้น
การเก็บข้อมูลไว้ในความจาระยะสั้น เราเก็บไว้ในรูปรหัสแบบ
ต่างๆ คือ รหัสเสียงก้องหู (acoustic code) หรือรหัสความหมาย
(semantic code) หรือรหัสภาพติดตา (visual code)
3. ความจาระยะยาว (long-term memory - - LTM)
• ความจาระยะยาว เป็นความจาชนิดที่ค่อนข้างถาวร เราเก็บ
ประสบการณ์ความรู้ต่างๆไว้ได้มากมาย
• ข้อมูลที่สาคัญและมีความหมายจะโยกย้ายไปสู่ระบบความจาที่
สาม ซึ่งเรียกว่า ความจาระยะยาว เมื่อเปรียบเทียบ กับ STM
ความจาระยะยาว (LTM) ทาหน้าที่เสมือนคลังข้อมูลถาวร LTM
บรรจุทุกอย่างที่เรารู้เกี่ยวกับโลกเอาไว้ โดยความสามารถไม่จากัดใน
การเก็บข้อมูล จึงไม่มีข้อมูลหายไปจาก LTM ข้อมูลใน LTM
ไม่ได้เก็บในลักษณะของเสียงเหมือน STM แต่เก็บข้อมูลไว้บน
พื้นฐานของความหมายและความสาคัญของข้อมูล
ความแม่นยาของการจาระยะยาว
คนเรานั้นใช้รหัสหลายชนิดในการจา รหัสที่สาคัญที่สุด คือ
รหัสความหมาย (semantic code) หรือรหัสภาพติดตา (visual code)
หรือภาพเหตุการณ์
ความแตกต่างระหว่างการจาเหตุการณ์กับการจาความหมาย
- การจาเหตุการณ์ เป็นการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์เกิดขึ้น
เมื่อไร ประสบการณ์ที่เราจาได้นั้นอาจเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับตนเองและ
การจาของเราเป็นการจาประสบการณ์หนึ่งที่เกี่ยวเนื่องกัน
- การจาความหมาย คือ ความรู้ที่ได้รับการจัดระเบียบ
หมวดหมู่แล้วเกี่ยวกับคาและสัญลักษณ์ รวมถึง การรู้ความหมาย
การรู ้ความสัมพันธ ์ระหว่างคากับสัญลักษณ์
ความจาคู่ (Dual Memory)
• ความจาคู่ (Dual Memory) ความจาที่เราใช้อยู่ทุกวันนี้เป็นการทางานควบคู่กันของ
STM และ LTM อาจเปรียบได้ว่า
ความจาระยะสั้น เสมือนโต๊ะตัวเล็ก ๆ ที่อยู่ข้างหน้าคลังสินค้าขนาดมหึมาซึ่ง
เต็มไปด้วยตู้ใส่แฟ้ม ( เปรียบได้กับความจาระยะยาว) ก่อนที่ข้อมูลจะเข้าสู่ คลังสินค้า
ต้องวางไว้โต๊ะที่อยู่ข้างหน้าก่อน แต่เนื่องจากโต๊ะตัวเล็กจึงต้องรีบยกของออกเพื่อให้
ข้อมูลใหม่เข้ามามาก ข้อมูลที่ไม่สาคัญ จึงถูกโยนทิ้งไป
ข้อมูลที่มีความหมายหรือสาคัญก็จะได้รับการบรรจุไว้ในแฟ้มที่ถาวร (LTM )
เมื่อต้องการความรู้จาก LTM เพื่อตอบ คาถามข้อมูลจะกลับมาสู่ STM หรืออาจเปรียบ
ได้ว่าจะมีการถ่ายเอกสารจากแฟ้ม (LTM) และนาออกมาวางไว้บนโต๊ะ(STM) เพื่อจะ
นาไปใช้ต่อไป ถ้าความจาระยะสั้นกาลังใช้คิดแก้ปัญหาในใจบางอย่างอยู่แล้ว มีข้อมูล
ใหม่เข้ามา ก็จะมีการแย่งที่กันใน ความจาระยะสั้น เพราะมีที่จากัด
ประเภทของการจา
• การจาแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ
1. การจาแบบปะติดปะต่อ (Reintegration) เป็นการจาที่เกิดจากสิ่งเร้ามา
กระตุ้นทาให้จา เรื่องราวในอดีตได้เช่น ได้เพลงเก่า ทาให้ระลึกถึง
เหตุการณ์ในอดีตที่ผ่านมาได้
• 2. การจาแบบระลึกได้(Recall) เป็นการจาที่เกิดขึ้นเมื่อเราสามารถ
ระลึกประสบการณ์ หรือเหตุการณ์ที่ผ่านมาได้อีกครั้งหนึ่ง โดยไม่ต้องมีสิ่ง
เร้ามากระตุ้น
• 3. การจาแบบรู้จัก (Recognition) หมายถึง การจาที่เกิดจากการที่
ได้พบเห็นมาก่อน พอเห็นอีกครั้งหนึ่งก็จาได้ เช่นจาได้ว่าใน
จานวนคน 5 คนที่เดินมามี 1 คนที่เป็นเพื่อนที่เคยเรียนด้วยกันใน
อดีต
• 4. การเรียนซ้า (Relearning) เป็นการจาที่เคยเรียนรู้มาและลืม
หมดแล้ว เมื่อกลับมาทบทวนใหม่จะใช้เวลาเรียนน้อยกว่าเดิม
วิธีการจา
• วิธีการจาแบ่งออกได้2 วิธี คือ
1. การจาแบบ นกแก้วนกขุนทอง (Rote Memory) เป็นการจา
แบบท่องจา โดยไม่เข้าใจและไม่มีเหตุผล
• 2. การจาด้วยความเข้าใจ (Logical Memory) เป็นการจาโดย
เข้าใจและมีเหตุผล
เทคนิค ‘อ่านแล้วจาได้ไม่ลืม’
• 1. อ่านหนังสือพร้อมจดโน้ตหรือใช้ปากกาเน้นข้อความส่วนที่สาคัญไปด้วยขณะอ่าน แต่
คุณไม่ควรป้ายพร่าเพื่อ ให้ป้ายหรือเน้นเนื้อหาที่เป็นสิ่งใหม่ๆ ที่คุณไม่เคยรู้มาก่อนหรือ
ฉุกคิดในสิ่งที่ก่อนหน้านี้ไม่เคยสังเกตเห็น
• 2. เล่าเนื้อหาให้คนอื่นฟัง หรือแนะนาหนังสือให้คนอื่นอ่าน
• 3. เขียนแบ่งปันความรู้สึก สิ่งฉุกคิด หรือคาคมจากหนังสือลงบนเฟสบุ้คหรือทวิตเตอร์
• 4. เขียนบทวิจารณ์หนังสือลงบนเฟสบุ้คหรืออีเมล จดหมายข่าว
• 5. อ่านในขณะว่างช่วงสั้นๆ วิธีนี้เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพเพราะเวลาที่มีจากัดทาให้
สมองเราถูกกระตุ้นมากกว่าการอ่านไปเรื่อยๆ
• 6. ทาความเข้าใจเนื้อหาจนสามารถพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคนอื่นเกี่ยวกับ
หนังสือได้
“เทคนิคการอ่านให้จาได้ไม่ลืม” ของจิตแพทย์ฉบับลงภาคสนาม
การส่งเสริมความจา
• การจัดหน่วยย่อยๆให้เป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น (Chunking) เป็นการ
นาข้อมูลที่กระจายอยู่มารวมเป็นหน่วยย่อย
• การจัดระเบียบแบบแผน (Organization) เป็นการนาเอาข้อมูล
ที่เราได้เรียนรู้แล้วมาจัดให้เข้าระบบระเบียบและเข้าแบบแผน
• การสร้างตัวกลาง (Mediation) คือ การสร้างรหัสเพิ่มเติมเข้าไป
ที่ข้อมูลเพื่อให้ข้อมูลนั้นจาได้ง่ายขึ้น การสร้างตัวกลางหรือรหัส
ที่พบบ่อยๆ ได้แก่
การสร้างตัวกลาง (Mediation)
• 1. เทคนิคการใช้อักษรตัวต้น คือ การนาอักษรตัวต้นของคาแต่ละคาที่
เราต้องการจามาผสมกันเข้าเป็นคาใหม่
• 2. เทคนิคการเล่าเรื่อง คือการนาคาต่างๆมาผูกกันเข้าเป็นเรื่องราว
หรือเป็นประโยคที่มีคาสัมผัสกัน หรือเป็นคากลอน
• การใช้เทคนิคการจา (Mnemomic Techniques) เช่น
1. วิธีการนาเอาสัญลักษณ์แบบหนึ่งมาใช้แทนอีกแบบหนึ่ง
2. การใช้คาสัมผัส
3. การใช้เทคนิคเฉพาะเพื่อช่วยจา
เทคนิคในการช่วยการจา
1. เรียนแล้วต้องทบทวน ยิ่งใช้เวลาทบทวนทาความเข้าใจมาก
การจาได้ดียิ่งมีสูงขึ้น
2. ความประทับใจหรือพิมพ์ใจ (Impression) เป็นรากฐานของความจา
3. การมีสมาธิ มีความตั้งใจ ได้รับการพักผ่อน ทาให้มีความคิดที่แจ่มใส
4. จัดสถานการณ์ให้เหมาะสม เช่น สถานที่เงียบสงบในการอ่านหนังสือ
5. จาในสิ่งที่มีความหมาย จะจาได้นานและเร็ว
6. ลักษณะการอ่านมีความสาคัญต่อการจา
เทคนิคในการช่วยการจา (ต่อ)
7. การเรียนเกิน (Over learning) คือ การท่องหรือทบทวนซ้าแล้ว
ซ้าอีก แม้จะจาในสิ่งนั้นได้แล้ว
8. การจัดระเบียบ คือ การจัดสิ่งเร้าหลายๆอย่างให้เป็นระเบียบ
กลุ่ม พวก เพื่อง่ายต่อการจา
9. การจับหลักการ เป็นการจาหลักกว้างๆ ไม่ต้องจารายละเอียด
ปลีกย่อย เช่น เดือนที่ลงท้ายด้วย คม และ ยน
เทคนิคในการช่วยการจา (ต่อ)
• 10. การสร้างมโนภาพ เป็นการสร้างภาพในใจเรียกว่า จินตภาพ
(Imagination) เป็นวิธีการที่นักจาอาชีพใช้กันมาก
11. การสร้างรหัส โดยการย่อคาเพื่อจาได้ง่ายขึ้น หรือทาการ
โน้ตย่อ
12. การทดสอบตนเอง คือ เมื่ออ่านหนังสือจบแล้วปิดหนังสือ
ทบทวนในสิ่งที่อ่านไปเมื่อครู่นี้ว่าจาได้มากน้อยเพียงใด
การลืม (Forgetting)
• การลืม (Forgetting) คือ การที่บุคคลสูญเสีย
ความทรงจาไม่สามารถเก็บรักษาไว้และถ่ายทอด
ออกมาได้อย่างถูกต้องเหมือนเดิม
• การลืม แบ่งเป็น การลืมในความจาระยะสั้น กับ
การลืมในความจาระยะยาว
การลืมในความจาระยะสั้น
สาเหตุของการลืมในความจาระยะสั้น อธิบายได้ด้วย ทฤษฏี 2
ทฤษฏี คือ
• 1. ทฤษฎีการรบกวนกันของข้อมูล (Interference Theory) คือ ลืม
เนื่องจากการมีข้อความอื่นเข้ามาแทรกในข้อมูลที่เราต้องการจา
• 2. ทฤษฎีการสลายของรอยความจา (Decay Theory) รอยความจา
จะสลายหรือเลือนไปตามเวลาที่ล่วงไป หากผู้เรียนไม่ทบทวน
หรือท่องซ้า
การลืมในความจาระยะยาว
สาเหตุของการลืมในความจาระยะยาว อธิบายได้ด้วย ทฤษฏี 2
ทฤษฏี คือ
• 1. ทฤษฎีการรบกวนกันของข้อมูล (Interference Theory) คือ ลืม
เนื่องจากการมีข้อความอื่นเข้ามาแทรกในข้อมูลที่เราต้องการจา
• 2. ทฤษฎี Encoding Specificity Principle เป็นการลืมที่เกิดขึ้นจาก
บริบทหรือสิ่งแวดล้อมที่ความจาถูกเก็บเอาไว้กับบริบทที่ความจา
ถูกดึงกลับมาใช้ไม่รับกัน ไม่ตรงกัน หรือเข้าคู่กันไม่ได้
สาเหตุแห่งการลืม
ชัยพร วิชชาวุธ (2520) กล่าวว่า การลืมมีสาเหตุหลายประการ คือ
(1) การไม่ได้ลงรหัส (Encoding Failure)
การลืมอาจเกิดขึ้นเพราะไม่ได้มีการจาตั้งแต่แรก เช่น ถ้าถามว่า
ด้านหลังธนบัตรในละ 20 เป็นรูปอะไร มีลักษณะอย่างไร คงมีหลาย
คน ที่ตอบไม่ได้ เพราะในการเรียนรู้ความแตกต่างของธนบัตรในละ
20, 50 และ 100 บาทนั้น เรามักจะสังเกตที่สี, ขนาด และตัวเลขที่
ระบุไว้ มักจะไม่ได้สังเกต และลงรหัสบันทึกรูปที่อยู่ด้านหลังธนบัตร
จึงจาไม่ได้
• (2) เสื่อมสลาย (Decay)
การลืมเกิดจากการเสื่อมสลายของรอยความจาตาม
กาลเวลา การเสื่อมสลายนี้เป็นการลืมที่เกิดขึ้นในความจาจาก
การรับสัมผัส และความจาระยะสั้น คือข้อมูลเก่าจะเลือน
หายไป และถูกแทนที่โดยข้อมูลที่ใหม่กว่าข้อมูลในความจา
ระยะยาว อาจเสื่อมสลายได้เพราะ การไม่ได้ใช้ (Disuse) ทา
ให้รอยความจาอ่อนลงและไม่อาจดึงข้อมูลออกมาได้ แต่ทั้งนี้
ยังไม่อาจหาข้อพิสูจน์ได้อย่างแน่ชัด เพราะเราไม่ได้ลืมข้อมูล
ที่ไม่ได้ใช้ทุกข้อมูล
(3) การลืมเพราะขึ้นอยู่กับสิ่งชี้แนะ (Cue-Dependent Forgetting)
บ่อยครั้งที่เราจาได้ แต่ไม่สามารถนามาใช้ได้ ที่เรามักจะพูดกันว่า
"ติดอยู่ที่ริมฝีปาก" แสดงว่าเรารู้คาตอบ แต่ดึงออกมาไม่ได้
การลืมเช่นนี้น่าจะเกิดเพราะสิ่งชี้แนะที่เกิดในเวลาเรียนรู้ ไม่ได้เกิด
ในเวลาที่ต้องการดึงความจาออกมา เช่น ถ้าถามว่าคุณทาอะไรใน
วันที่ 3 มีนาคม 2556 คุณอาจจะคิดไม่ออก แต่ถ้ามีการเตือนความจา
ว่าในวันนั้นมีการเลือกตั้งผู้ว่า กทม. เกิดขึ้น คุณอาจจะคิดออกทันที
เช่นเดียวกับ การที่นักศึกษา บางคนเลือกที่จะสอบห้องเดียวกับที่
เรียน (ถ้าเลือกได้ ) เพราะรู้สึกว่าทาให้จาสิ่งที่เรียนได้มากขึ้น
• (4) การรบกวน (Interfere)
การเรียนรู้ใหม่สามารถรบกวนการเรียนรู้เก่า ทาให้เกิดการลืมได้ เกิดขึ้น
ทั้งในความจาระยะสั้น และระยะยาว การรบกวนมักเป็นสาเหตุสาคัญของการ
ลืม
• การรบกวนมี 2 ประเภท คือ
• 1. Retroactive Inhibition เป็นการที่เรียนรู้ใหม่รบกวนการเรียนรู้เดิม
ถ้าไม่เรียนรู้สิ่งใหม่ Retroactive Inhibition ก็จะไม่เกิด
• 2. Proactive Inhibition เกิดเมื่อสิ่งที่เรียนรู้เดิมรบกวนสิ่งที่เรียนรู้ใหม่
เช่น อ่านหนังสือเตรียมสอบวิชาจิตวิทยาเสร็จแล้วก็อ่านเพื่อเตรียมสอบวิชา
สังคมวิทยาต่อ พบว่าจะจาวิชาสังคมวิทยาไม่ได้ดี แต่ถ้าจาวิชาจิตวิทยาไม่ได้
ก็เพราะเกิด Retroactive Inhibition ขึ้น ดังนั้น ในการเตรียมตัวสอบจึงควร
เตรียมตั้งแต่เนิ่นๆ ไม่ควรมาอ่านทุกวิชาในวันเดียวกัน
• (5) การเก็บกด (Repression)
นักจิตวิทยาพบว่าคนเรามักจะจดจาเหตุการณ์ที่มีความสุขหรือ
สิ่งดี ๆ ในชีวิต ได้มากกว่าเหตุการณ์ที่ผิดหวังหรือไม่น่ารื่นรมย์
ลักษณะเช่นนี้ เรียกว่า การเก็บกด หรือการจูงใจเพื่อลืมความจาที่
เจ็บปวดหรือความละอายจะถูกเก็บกดให้อยู่ในจิตใต้สานึก
• ตัวอย่างของการเก็บกดเช่น การลืมความล้มเหลวในอดีต ลืม
ชื่อบุคคลที่ไม่ชอบ ลืมการนัดหมายที่ไม่ต้องการไป ฯลฯ การเก็บกด
นี้จะต่างจากการระงับ (Suppression) ซึ่งเป็นความพยายามหรือ
หลีกเลี่ยงที่จะไม่คิดถึงบางสิ่งบางอย่าง เช่น หลีกเลี่ยงที่จะไม่คิดถึง
การสอบในอาทิตย์หน้า การระงับเป็นการกระทาในระดับจิตสานึก
ส่วนการเก็บกดอยู่ในระดับจิตใต้สานึก
สาเหตุแห่งการลืม (ต่อ)
1. จานวนที่ต้องจามีมากเกินไป
2. เวลาผ่านไปนาน
3. ไม่ได้ใช้ไม่ได้ทบทวน ไม่ได้ฝึกซ้อม
4. ลืมเพราะต้องการลืม เนื่องจากการปวดร้าวหรือพ่ายแพ้
โดยความเป็นจริง Freud เชื่อว่าเป็นการเก็บไว้ในจิตไร้สานึก
5. การรบกวนหรือการขัดขวาง (Inhibition) ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
คือ
5.1 การตามรบกวน(Proactive Inhibition) ในลักษณะ ได้หน้าลืมหลัง
5.2 การย้อนรบกวน (Retroaction Inhibition)ในลักษณะได้หลังลืมหน้า
สาเหตุแห่งการลืม (ต่อ)
6. ลืมเนื่องจากช๊อค
7. ความกดดันทางอารมณ์
8. สิ่งนั้นขาดความหมายและความไม่สนใจ
9. ความชรา
10. กิจกรรมสับสน
แนวทางการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
การปรับปรุงความสามารถในการจาเพื่อให้การเรียนดีขึ้น มีวิธีการต่าง ๆ ดังนี้
(1) รู้คาตอบ การเรียนจะดีถ้าเรารู้ผลย้อนกลับ (Feedback) หรือรู้คาตอบว่า
เราเรียนรู้ได้ดีเพียงใด ผลย้อนกลับยังช่วยให้ทราบด้วยว่าเราควรฝึกฝนเรื่อง
ใดเป็นพิเศษ ขณะเดียวกันก็เป็นแรงเสริมให้ด้วยเมื่อพบว่าทาได้ถูกต้อง
วิธีการสาคัญในการให้ผลย้อนกลับแก่ตนเองก็คือ การท่องจา
(2) การท่องจา (Recitation) หมายถึง การพูดถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้แล้วซ้าๆ กับ
ตนเอง การท่องเป็นการฝึกฝนให้เราสามารถนาข้อมูลที่เรียนรู้ออกมาได้ง่าย
ในการทดลองพบว่า ถ้าให้ท่อง นักศึกษาจะได้คะแนนการสอบความจาถึง
80 % ขณะที่จะได้เพียง 20 % จากการอ่าน
• (3) เรียนซ้า ๆ (Overlearning) การศึกษาบ่อยๆ ครั้งทาให้ความจาดีขึ้น
หลังจากเรียนรู้จนไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ควรจะยังเรียนต่อไปอีกเพื่อให้สิ่งที่
จานั้นยังอยู่
• (4) การเลือก (Selection) มีผู้รู้กล่าวว่า ความจาที่ควรเหมือนตาข่ายจับปลา
คือเก็บปลาตัวใหญ่ๆ ไว้และปล่อยตัวเล็กๆ ไป ในการเรียนจึงควรย่อ
ใจความสาคัญของสิ่งที่เรียนรู้ให้เหลือแต่ที่สาคัญจริงๆ ซึ่งจะช่วยให้
สามารถจดคาบรรยายไว้ เพื่อจะใช้ในการสรุปความสาคัญสั้นๆ ช่วยการจา
• (5) เว้นช่วงการฝึกฝน (Spaced practice) ไม่ควรใช้เวลาอ่านหนังสือ
ติดต่อกันเป็นเวลานานๆ ถ้าแบ่งเป็นช่วงสั้นๆ (ประมาณ 20 นาที) แล้วพัก
สักครู่ จะช่วยให้มีความสนใจและความจามากขึ้น นักศึกษาควรทาตาราง
เวลาดูหนังสือและปฏิบัติตามตารางที่จัดไว้เสมือนกับว่าเป็นชั่วโมงเรียนที่
ต้องเข้าเรียน
• (6) จัดระเบียบ (Organize) ถ้าจัดระเบียบสิ่งที่เรียนได้เช่น ทาเป็น
โครงร่างของเนื้อหาทั้งหมด จะช่วยทาให้เรียนง่ายขึ้นและจาได้ดีขึ้น
• (7) การเรียนทั้งหมดหรือเป็นส่วนๆ ดีกว่ากัน (whole versus Part
Learning) ถ้าต้องจาข้อความที่ไม่ยาวนัก และมีการจัดระเบียบเป็นอย่าง
ดี ควรเรียนทีเดียวทั้งหมด แต่ถ้าเป็นข้อความที่ยาวมาก และยากมาก
ควรแบ่งข้อความเป็นส่วนๆ และจาให้ได้ทีละส่วน เช่น แบ่งเป็นส่วนที่
1, 2 และ 3
พอจาส่วนที่ 1 ได้ ก็จาส่วนที่ 1 และ 2 จากนั้นก็เป็นส่วนที่ 1, 2
และ 3
• (8) ลาดับตาแหน่ง (Serial position) โดยปกติลาดับตาแหน่งของคาหรือ
ข้อความที่อยู่ในช่วงกลางๆ มักจะถูกลืม ดังนั้นจึงควรให้ความสนใจ
และฝึกฝนคาหรือข้อความในลาดับตาแหน่งกลาง ให้มากขึ้น
• (9) การนอน (Sleep) การนอนหลังการเรียนรู้จะทาให้ความจาถูกรบกวน
น้อยที่สุด แต่ในความเป็นจริง เราไม่สามารถนอนหลังจากที่เรียนได้ทุก
ครั้ง จึงอาจใช้การหยุดพักแทน
(10) การทบทวน (Review) หลังจากเว้นช่วงการการฝึกฝนและเรียนซ้า
แล้ว ควรมีการทบทวนก่อนสอบอีกอย่างหนึ่ง เพื่อทาให้ความจาดีขึ้น

More Related Content

What's hot

11แผน
11แผน11แผน
11แผน
Fmz Npaz
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
smEduSlide
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
Samorn Tara
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
Nick Nook
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
krupornpana55
 

What's hot (20)

สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง t
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
การจัดรายการอาหาร
การจัดรายการอาหารการจัดรายการอาหาร
การจัดรายการอาหาร
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 

Similar to 8 (9)

ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้นประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต กศน.ม.ต้น
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
work3
work3 work3
work3
 
Chapter 3 Module 1 Type of Information technology
Chapter 3 Module 1  Type of Information technologyChapter 3 Module 1  Type of Information technology
Chapter 3 Module 1 Type of Information technology
 
หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)
หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)
หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
 
Vasitee
VasiteeVasitee
Vasitee
 

More from SuriwiphaSriwanna (11)

Ied211
Ied211Ied211
Ied211
 
6
66
6
 
12
1212
12
 
11
1111
11
 
9
99
9
 
7
77
7
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
11
1111
11
 

8

  • 2. การจา (Memory) หมายถึง ความสามารถทางสมองของ บุคคลที่จะเก็บสะสมเหตุการณ์ต่างๆโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า และสามารถระลึกถึงและถ่ายทอดออกมาได้อย่างถูกต้องเมื่อ ต้องการ
  • 3. ระบบของการจา ความจาเป็นระบบการทางานที่ตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา (active system) ในการจา รับ (receives) เก็บ (stores) จัดการ (organizes) เปลี่ยนแปลง (alters) และนาข้อมูลออกมา (recovers) การทางานของการจาคล้าย ๆ กับเครื่องคอมพิวเตอร์ คือเริ่มจากการใส่ รหัสข้อมูลเข้าไป จากนั้นจะเก็บข้อมูลไว้ในระบบ (ซึ่งการจาของมนุษย์ จะมีระบบการเก็บข้อมูล 3 ระบบ) เมื่อต้องการข้อมูลใดก็เรียกออกมาได้ เช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ เราสามารถเก็บข้อมูลที่ต้องการจาได้มากมาย และ สามารถนาข้อมูล ที่ต้องการออกมาได้ทั้งนี้เพราะข้อมูลถูกจัดไว้อย่างเป็น ระบบและเป็นลาดับ เสมือนเป็นห้องสมุดเคลื่อนที่ นักจิตวิทยาได้แบ่ง ความจา เป็น 3 ระบบ การจัดเก็บข้อมูลใด ๆ ต้องผ่านขั้นตอนทั้ง 3 นี้ ดัง แผนภาพ ต่อไปนี้
  • 4.
  • 5. ระบบความจา • แบ่งออกเป็น 3 ระบบ ดังนี้ คือ 1. ระบบความจาการรู้สึกสัมผัส (Sensory Memory) คือการคงอยู่ของ ความรู้สึกสัมผัสด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า 2. ระบบความจาระยะสั้น (Shot-term Memory : STM) เป็นความจา คงที่ระยะสั้น เมื่อไม่ได้ใช้อีกก็ลืมไป เช่น การจาเบอร์โทรศัพท์เมื่อ โทรศัพท์เสร็จแล้วก็ลืม 3. ระบบความจาระยะยาว (Long-Term Memory : LTM) เป็นความจา ที่คงทน เมื่อต้องการรื้อฟื้นความจานั้นจะระลึกได้
  • 6. • สรุป ความจาการรู้สึกสัมผัส ประกอบด้วย • ความจาภาพติดตา (Iconic memory) ความคงอยู่ ของภาพในความจาการรู้สึกสัมผัส ช่วยให้ภาพนั้นคงติด ตาต่อไปอีกหลายร้อยมิลลิวินาที • ความจาเสียงก้องหู (echonic memory) ช่วยให้มี การคงอยู่ของเสียงนานพอที่จะทาให้เราสามารถ ตีความหมายได้ว่าเสียงที่ได้ยินนั้นหมายความว่าอย่างไร
  • 7. การเรียนรู้เป็นอาคาร…มีพื้นฐานจากการจา • จากเวลาที่เราเริ่มรับข้อมูลด้วยการฟังอย่างเดียวนั้น ความจาได้จะลดลง ตามเวลา แต่ถ้าหากเราฟังไปด้วย จดไปด้วย และคิดตามไปด้วย ความจา ได้จะลดลงช้ากว่าการฟังอย่างเดียวมาก • นี่เป็นสาเหตุสาคัญที่แสดงให้เห็นว่าการที่ครูค่อยๆ เขียนกระดานและ ให้นักเรียนค่อยๆ จดตามไปนั้น เป็น เทคนิคการจา ที่ดีกว่าการปิ้ง แผ่นใสหรือฉายไฟล์เพาว์เวอร์พ้อยท์ นอกจากนี้ การคุยไปด้วย ตั้ง คาถามให้นักเรียนได้มีโอกาสคิดตามไปด้วย ก็จะยิ่งส่งผลดีต่อ ความจา วิธีตรวจสอบว่านักเรียนคิดตามหรือไม่ ก็คือการขอให้นักเรียน ตอบออกมาดังๆ
  • 8. เทคนิคการจา • เทคนิคการจาที่สาคัญอีกอย่างคือ การให้การบ้าน และขอให้นักเรียนทบทวน ซึ่งจะ เป็นการกระตุ้นความทรงจา • ผู้เชี่ยวชาญทางสมองแนะนาเคล็ดลับเล็กๆ น้อยๆ ในการทบทวน ดังนี้ • 1. ควรให้การบ้านในปริมาณที่เหมาะสม เช่น การบ้านที่ใช้เวลาทาไม่เกิน 2 ชั่วโมงต่อวัน • 2. ควรทิ้งช่วงเวลาในการทบทวนให้เหมาะสม นักจิตวิทยาแนะนาว่า การ ทบทวนถี่ๆ เกินไปจะส่งผลเสีย เพราะจิตใต้สานึกจะคอยบอกว่า ตรงนี้รู้แล้ว ตรงนี้ จาได้ผลก็คือเราจะอ่านทบทวนน้อยกว่าที่ควรจะเป็น • 3. ขณะทบทวนให้ตั้งคาถามให้ตัวเองตอบ ตั้งคาถามเยอะๆ ตอบเยอะๆ ใช้ เครื่องช่วยอย่างเช่น flashcards •
  • 9. • 4. พยายามเชื่อมโยงข้อมูลใหม่ๆ เข้ากับความรู้ที่มีอยู่เดิมจะทาให้จาได้ดี ขึ้น วิธีที่จะเชื่อมโยงข้อมูลได้ดีวิธีหนึ่งคือการวาดแผนภาพหรือการทา mind map การสอนของครูก็ควรมีส่วนที่เชื่อมโยงความรู้เก่าที่สอนไป แล้วเข้ากับความรู้ใหม่ๆ ที่กาลังจะสอนด้วย • 5. การหลับหลังจากการทบทวนอย่างเต็มที่จะทาให้เซลล์สมอง เสริมสร้างความเข้มแข็งในการเชื่อมต่อกัน เพิ่มพลังให้แก่ความจาให้ดี ยิ่งขึ้นไปอีก •
  • 10. • สิ่งที่สาคัญที่สุดก็คือ หากครูมีวิธีที่ทาให้นักเรียนชอบหรือว่ารักหรือว่า หลงใหลในเนื้อหาวิชาแล้ว ครูจะพบว่านักเรียนจะเฝ้าครุ่นคิดถึงมันและ จะจาได้จนไม่มีวันลืม แต่ถ้าหากครูทาให้นักเรียนรู้สึกหดหู่ เจ็บปวด หรือว่าทรมานกับเนื้อหาวิชาแล้ว ต่อให้ไปเรียนพิเศษเพิ่มตามตาม สถาบันหรือ เรียนพิเศษตัวต่อตัว เพิ่มเติมก็ไม่ช่วยให้นักเรียนชอบวิชา นั้นขึ้น
  • 11. 1. ความจาการรู้สึกสัมผัส (sensory memory) • ข้อมูลที่ต้องการจาจะเข้าสู่ระบบความจาจากการรู้สึกสัมผัส การจาแบบนี้ลักษณะ เหมือนสิ่งที่ได้เห็นได้ยินทุกอย่าง ถ้าได้เห็น ข้อมูล ภาพติดตา (icon) หรือ จินตภาพ จะคงอยู่ได้ครึ่งวินาที - ตัวอย่างของภาพติดตา เช่น ถ้าคุณหลับตาสักครู่ ยกมือมาไว้ ตรงหน้าคุณ กระพริบตาอย่างรวดเร็วด้วย การลืมตาและหลับตาลงอีกครั้ง คุณจะยังคงเห็น จินตภาพของมือคุณ ประมาณครึ่งวินาที ที่หลับตาลง - ในการได้ยิน ก็เช่นเดียวกัน เสียงก้องของสิ่งที่ได้ยินจะคงอยู่ประมาณ 2 วินาที เช่น เมื่อเพื่อนอ่านรายการสิ่งของ ให้คุณฟัง คุณจะเก็บข้อมูลของแต่ละ รายการ ในรูปของเสียงในหู (echo) โดยสรุปความจาจากการรู้สึกสัมผัส เป็นระบบ การจา ขั้นแรกที่จะเก็บข้อมูลไว้ในช่วงสั้น ๆ เพียงเพื่อถ่ายข้อมูลต่อไป ยังการจา ระบบที่สอง
  • 12. 2. ความจาระยะสั้น (shot-term memory - -STM) • สิ่งที่เราเห็นหรือได้ยินทุกอย่างไม่จาเป็นต้องอยู่ในระบบการจา เช่น ถ้าอ่านรายการซื้อของให้ ฟัง สิ่งที่สนใจเฉพาะอย่างจะเคลื่อนจากความจาจากการรู้สึกสัมผัส สู่ความจาระยะสั้น (STM) ซึ่งจะอยู่ใน ช่วงสั้น ๆ พอกับระยะแรกความจาระยะสั้นเก็บข้อมูลในลักษณะจิตภาพ แต่ บ่อยครั้งที่จะเก็บข้อมูล ในลักษณะของเสียง • ความจาระยะสั้นทาหน้าที่ คล้ายคลังข้อมูลชั่วคราว ที่เก็บข้อมูลได้ในจากัดไม่ว่าข้อมูล นั้นจะสาคัญเพียงใดก็ตาม ข้อมูลจะเคลื่อน ออกจาก STM แล้วหายไป ความจาระยะสั้นช่วย ป้องกันไม่ให้เราสับสนเกี่ยวกับชื่อ วันที่ หมายเลขโทรศัพท์ และเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ อื่น ๆ นอกจากนั้น ยังเป็นความจาในส่วนที่ปฏิบัติงานเรียกว่า Working memory ซึ่งช่วยในการคิด ของเรามาก การหมุนโทรศัพท์ การคิดเลขในใจ การจารายการสั่งของที่จะซื้อล้วน แต่อาศัย การจาระยะสั้นทั้งสิ้น (Atkinson และShriffrin,1971) • ความจาระยะสั้นถูก รบกวน หรือถูกแทรกได้ง่าย เช่น เมื่อจาหมายเลขโทรศัพท์แล้ว เดิน ไปโทรศัพท์ แต่สายไม่ว่าง พอจะโทรเราอาจลืมหมายเลขไปแล้ว ต้องกลับไปทวนอีกครั้ง เพราะความจาระยะสั้น ถูกรบกวน ถ้าต้องการจาได้นาน ๆ ก็ต้องใช้ความจาระบบที่สาม
  • 13. • ความจาระยะสั้น หมายถึง ข้อมูลจานวนเล็กน้อยที่เรา เก็บไว้ในลักษณะเตรียมพร้อมที่จะใช้ (active state) ใน ระยะเวลาสั้นๆช่วงหนึ่ง ข้อมูลในความจาระยะสั้นเป็น ข้อมูลที่เรากาลังใช้ความตั้งใจจดจ่ออยู่ • ประโยชน์ของความจาระยะสั้น คือ การช่วยทาให้ข้อมูล ที่เรารับเข้ามาเดิมยังคงอยู่ต่อไปได้ระยะหนึ่งจนกระทั่งเรา สามารถรับรู้ข้อมูลที่เข้ามาใหม่ได้โดยตลอดและ ตีความหมายได้ • คาศัพท์ทีมีความหมายเดียวกันกับ short – term memory คือ working memory ,active memory, immediate memory, primary memory และ short – term store
  • 14. รหัสในความจาระยะสั้น การเก็บข้อมูลไว้ในความจาระยะสั้น เราเก็บไว้ในรูปรหัสแบบ ต่างๆ คือ รหัสเสียงก้องหู (acoustic code) หรือรหัสความหมาย (semantic code) หรือรหัสภาพติดตา (visual code)
  • 15. 3. ความจาระยะยาว (long-term memory - - LTM) • ความจาระยะยาว เป็นความจาชนิดที่ค่อนข้างถาวร เราเก็บ ประสบการณ์ความรู้ต่างๆไว้ได้มากมาย • ข้อมูลที่สาคัญและมีความหมายจะโยกย้ายไปสู่ระบบความจาที่ สาม ซึ่งเรียกว่า ความจาระยะยาว เมื่อเปรียบเทียบ กับ STM ความจาระยะยาว (LTM) ทาหน้าที่เสมือนคลังข้อมูลถาวร LTM บรรจุทุกอย่างที่เรารู้เกี่ยวกับโลกเอาไว้ โดยความสามารถไม่จากัดใน การเก็บข้อมูล จึงไม่มีข้อมูลหายไปจาก LTM ข้อมูลใน LTM ไม่ได้เก็บในลักษณะของเสียงเหมือน STM แต่เก็บข้อมูลไว้บน พื้นฐานของความหมายและความสาคัญของข้อมูล
  • 16. ความแม่นยาของการจาระยะยาว คนเรานั้นใช้รหัสหลายชนิดในการจา รหัสที่สาคัญที่สุด คือ รหัสความหมาย (semantic code) หรือรหัสภาพติดตา (visual code) หรือภาพเหตุการณ์ ความแตกต่างระหว่างการจาเหตุการณ์กับการจาความหมาย - การจาเหตุการณ์ เป็นการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์เกิดขึ้น เมื่อไร ประสบการณ์ที่เราจาได้นั้นอาจเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับตนเองและ การจาของเราเป็นการจาประสบการณ์หนึ่งที่เกี่ยวเนื่องกัน - การจาความหมาย คือ ความรู้ที่ได้รับการจัดระเบียบ หมวดหมู่แล้วเกี่ยวกับคาและสัญลักษณ์ รวมถึง การรู้ความหมาย การรู ้ความสัมพันธ ์ระหว่างคากับสัญลักษณ์
  • 17. ความจาคู่ (Dual Memory) • ความจาคู่ (Dual Memory) ความจาที่เราใช้อยู่ทุกวันนี้เป็นการทางานควบคู่กันของ STM และ LTM อาจเปรียบได้ว่า ความจาระยะสั้น เสมือนโต๊ะตัวเล็ก ๆ ที่อยู่ข้างหน้าคลังสินค้าขนาดมหึมาซึ่ง เต็มไปด้วยตู้ใส่แฟ้ม ( เปรียบได้กับความจาระยะยาว) ก่อนที่ข้อมูลจะเข้าสู่ คลังสินค้า ต้องวางไว้โต๊ะที่อยู่ข้างหน้าก่อน แต่เนื่องจากโต๊ะตัวเล็กจึงต้องรีบยกของออกเพื่อให้ ข้อมูลใหม่เข้ามามาก ข้อมูลที่ไม่สาคัญ จึงถูกโยนทิ้งไป ข้อมูลที่มีความหมายหรือสาคัญก็จะได้รับการบรรจุไว้ในแฟ้มที่ถาวร (LTM ) เมื่อต้องการความรู้จาก LTM เพื่อตอบ คาถามข้อมูลจะกลับมาสู่ STM หรืออาจเปรียบ ได้ว่าจะมีการถ่ายเอกสารจากแฟ้ม (LTM) และนาออกมาวางไว้บนโต๊ะ(STM) เพื่อจะ นาไปใช้ต่อไป ถ้าความจาระยะสั้นกาลังใช้คิดแก้ปัญหาในใจบางอย่างอยู่แล้ว มีข้อมูล ใหม่เข้ามา ก็จะมีการแย่งที่กันใน ความจาระยะสั้น เพราะมีที่จากัด
  • 18. ประเภทของการจา • การจาแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ 1. การจาแบบปะติดปะต่อ (Reintegration) เป็นการจาที่เกิดจากสิ่งเร้ามา กระตุ้นทาให้จา เรื่องราวในอดีตได้เช่น ได้เพลงเก่า ทาให้ระลึกถึง เหตุการณ์ในอดีตที่ผ่านมาได้ • 2. การจาแบบระลึกได้(Recall) เป็นการจาที่เกิดขึ้นเมื่อเราสามารถ ระลึกประสบการณ์ หรือเหตุการณ์ที่ผ่านมาได้อีกครั้งหนึ่ง โดยไม่ต้องมีสิ่ง เร้ามากระตุ้น
  • 19. • 3. การจาแบบรู้จัก (Recognition) หมายถึง การจาที่เกิดจากการที่ ได้พบเห็นมาก่อน พอเห็นอีกครั้งหนึ่งก็จาได้ เช่นจาได้ว่าใน จานวนคน 5 คนที่เดินมามี 1 คนที่เป็นเพื่อนที่เคยเรียนด้วยกันใน อดีต • 4. การเรียนซ้า (Relearning) เป็นการจาที่เคยเรียนรู้มาและลืม หมดแล้ว เมื่อกลับมาทบทวนใหม่จะใช้เวลาเรียนน้อยกว่าเดิม
  • 20. วิธีการจา • วิธีการจาแบ่งออกได้2 วิธี คือ 1. การจาแบบ นกแก้วนกขุนทอง (Rote Memory) เป็นการจา แบบท่องจา โดยไม่เข้าใจและไม่มีเหตุผล • 2. การจาด้วยความเข้าใจ (Logical Memory) เป็นการจาโดย เข้าใจและมีเหตุผล
  • 22. • 1. อ่านหนังสือพร้อมจดโน้ตหรือใช้ปากกาเน้นข้อความส่วนที่สาคัญไปด้วยขณะอ่าน แต่ คุณไม่ควรป้ายพร่าเพื่อ ให้ป้ายหรือเน้นเนื้อหาที่เป็นสิ่งใหม่ๆ ที่คุณไม่เคยรู้มาก่อนหรือ ฉุกคิดในสิ่งที่ก่อนหน้านี้ไม่เคยสังเกตเห็น • 2. เล่าเนื้อหาให้คนอื่นฟัง หรือแนะนาหนังสือให้คนอื่นอ่าน • 3. เขียนแบ่งปันความรู้สึก สิ่งฉุกคิด หรือคาคมจากหนังสือลงบนเฟสบุ้คหรือทวิตเตอร์ • 4. เขียนบทวิจารณ์หนังสือลงบนเฟสบุ้คหรืออีเมล จดหมายข่าว • 5. อ่านในขณะว่างช่วงสั้นๆ วิธีนี้เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพเพราะเวลาที่มีจากัดทาให้ สมองเราถูกกระตุ้นมากกว่าการอ่านไปเรื่อยๆ • 6. ทาความเข้าใจเนื้อหาจนสามารถพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคนอื่นเกี่ยวกับ หนังสือได้
  • 24. การส่งเสริมความจา • การจัดหน่วยย่อยๆให้เป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น (Chunking) เป็นการ นาข้อมูลที่กระจายอยู่มารวมเป็นหน่วยย่อย • การจัดระเบียบแบบแผน (Organization) เป็นการนาเอาข้อมูล ที่เราได้เรียนรู้แล้วมาจัดให้เข้าระบบระเบียบและเข้าแบบแผน • การสร้างตัวกลาง (Mediation) คือ การสร้างรหัสเพิ่มเติมเข้าไป ที่ข้อมูลเพื่อให้ข้อมูลนั้นจาได้ง่ายขึ้น การสร้างตัวกลางหรือรหัส ที่พบบ่อยๆ ได้แก่
  • 25. การสร้างตัวกลาง (Mediation) • 1. เทคนิคการใช้อักษรตัวต้น คือ การนาอักษรตัวต้นของคาแต่ละคาที่ เราต้องการจามาผสมกันเข้าเป็นคาใหม่ • 2. เทคนิคการเล่าเรื่อง คือการนาคาต่างๆมาผูกกันเข้าเป็นเรื่องราว หรือเป็นประโยคที่มีคาสัมผัสกัน หรือเป็นคากลอน • การใช้เทคนิคการจา (Mnemomic Techniques) เช่น 1. วิธีการนาเอาสัญลักษณ์แบบหนึ่งมาใช้แทนอีกแบบหนึ่ง 2. การใช้คาสัมผัส 3. การใช้เทคนิคเฉพาะเพื่อช่วยจา
  • 26. เทคนิคในการช่วยการจา 1. เรียนแล้วต้องทบทวน ยิ่งใช้เวลาทบทวนทาความเข้าใจมาก การจาได้ดียิ่งมีสูงขึ้น 2. ความประทับใจหรือพิมพ์ใจ (Impression) เป็นรากฐานของความจา 3. การมีสมาธิ มีความตั้งใจ ได้รับการพักผ่อน ทาให้มีความคิดที่แจ่มใส 4. จัดสถานการณ์ให้เหมาะสม เช่น สถานที่เงียบสงบในการอ่านหนังสือ 5. จาในสิ่งที่มีความหมาย จะจาได้นานและเร็ว 6. ลักษณะการอ่านมีความสาคัญต่อการจา
  • 27. เทคนิคในการช่วยการจา (ต่อ) 7. การเรียนเกิน (Over learning) คือ การท่องหรือทบทวนซ้าแล้ว ซ้าอีก แม้จะจาในสิ่งนั้นได้แล้ว 8. การจัดระเบียบ คือ การจัดสิ่งเร้าหลายๆอย่างให้เป็นระเบียบ กลุ่ม พวก เพื่อง่ายต่อการจา 9. การจับหลักการ เป็นการจาหลักกว้างๆ ไม่ต้องจารายละเอียด ปลีกย่อย เช่น เดือนที่ลงท้ายด้วย คม และ ยน
  • 28. เทคนิคในการช่วยการจา (ต่อ) • 10. การสร้างมโนภาพ เป็นการสร้างภาพในใจเรียกว่า จินตภาพ (Imagination) เป็นวิธีการที่นักจาอาชีพใช้กันมาก 11. การสร้างรหัส โดยการย่อคาเพื่อจาได้ง่ายขึ้น หรือทาการ โน้ตย่อ 12. การทดสอบตนเอง คือ เมื่ออ่านหนังสือจบแล้วปิดหนังสือ ทบทวนในสิ่งที่อ่านไปเมื่อครู่นี้ว่าจาได้มากน้อยเพียงใด
  • 29. การลืม (Forgetting) • การลืม (Forgetting) คือ การที่บุคคลสูญเสีย ความทรงจาไม่สามารถเก็บรักษาไว้และถ่ายทอด ออกมาได้อย่างถูกต้องเหมือนเดิม • การลืม แบ่งเป็น การลืมในความจาระยะสั้น กับ การลืมในความจาระยะยาว
  • 30. การลืมในความจาระยะสั้น สาเหตุของการลืมในความจาระยะสั้น อธิบายได้ด้วย ทฤษฏี 2 ทฤษฏี คือ • 1. ทฤษฎีการรบกวนกันของข้อมูล (Interference Theory) คือ ลืม เนื่องจากการมีข้อความอื่นเข้ามาแทรกในข้อมูลที่เราต้องการจา • 2. ทฤษฎีการสลายของรอยความจา (Decay Theory) รอยความจา จะสลายหรือเลือนไปตามเวลาที่ล่วงไป หากผู้เรียนไม่ทบทวน หรือท่องซ้า
  • 31. การลืมในความจาระยะยาว สาเหตุของการลืมในความจาระยะยาว อธิบายได้ด้วย ทฤษฏี 2 ทฤษฏี คือ • 1. ทฤษฎีการรบกวนกันของข้อมูล (Interference Theory) คือ ลืม เนื่องจากการมีข้อความอื่นเข้ามาแทรกในข้อมูลที่เราต้องการจา • 2. ทฤษฎี Encoding Specificity Principle เป็นการลืมที่เกิดขึ้นจาก บริบทหรือสิ่งแวดล้อมที่ความจาถูกเก็บเอาไว้กับบริบทที่ความจา ถูกดึงกลับมาใช้ไม่รับกัน ไม่ตรงกัน หรือเข้าคู่กันไม่ได้
  • 32. สาเหตุแห่งการลืม ชัยพร วิชชาวุธ (2520) กล่าวว่า การลืมมีสาเหตุหลายประการ คือ (1) การไม่ได้ลงรหัส (Encoding Failure) การลืมอาจเกิดขึ้นเพราะไม่ได้มีการจาตั้งแต่แรก เช่น ถ้าถามว่า ด้านหลังธนบัตรในละ 20 เป็นรูปอะไร มีลักษณะอย่างไร คงมีหลาย คน ที่ตอบไม่ได้ เพราะในการเรียนรู้ความแตกต่างของธนบัตรในละ 20, 50 และ 100 บาทนั้น เรามักจะสังเกตที่สี, ขนาด และตัวเลขที่ ระบุไว้ มักจะไม่ได้สังเกต และลงรหัสบันทึกรูปที่อยู่ด้านหลังธนบัตร จึงจาไม่ได้
  • 33. • (2) เสื่อมสลาย (Decay) การลืมเกิดจากการเสื่อมสลายของรอยความจาตาม กาลเวลา การเสื่อมสลายนี้เป็นการลืมที่เกิดขึ้นในความจาจาก การรับสัมผัส และความจาระยะสั้น คือข้อมูลเก่าจะเลือน หายไป และถูกแทนที่โดยข้อมูลที่ใหม่กว่าข้อมูลในความจา ระยะยาว อาจเสื่อมสลายได้เพราะ การไม่ได้ใช้ (Disuse) ทา ให้รอยความจาอ่อนลงและไม่อาจดึงข้อมูลออกมาได้ แต่ทั้งนี้ ยังไม่อาจหาข้อพิสูจน์ได้อย่างแน่ชัด เพราะเราไม่ได้ลืมข้อมูล ที่ไม่ได้ใช้ทุกข้อมูล
  • 34. (3) การลืมเพราะขึ้นอยู่กับสิ่งชี้แนะ (Cue-Dependent Forgetting) บ่อยครั้งที่เราจาได้ แต่ไม่สามารถนามาใช้ได้ ที่เรามักจะพูดกันว่า "ติดอยู่ที่ริมฝีปาก" แสดงว่าเรารู้คาตอบ แต่ดึงออกมาไม่ได้ การลืมเช่นนี้น่าจะเกิดเพราะสิ่งชี้แนะที่เกิดในเวลาเรียนรู้ ไม่ได้เกิด ในเวลาที่ต้องการดึงความจาออกมา เช่น ถ้าถามว่าคุณทาอะไรใน วันที่ 3 มีนาคม 2556 คุณอาจจะคิดไม่ออก แต่ถ้ามีการเตือนความจา ว่าในวันนั้นมีการเลือกตั้งผู้ว่า กทม. เกิดขึ้น คุณอาจจะคิดออกทันที เช่นเดียวกับ การที่นักศึกษา บางคนเลือกที่จะสอบห้องเดียวกับที่ เรียน (ถ้าเลือกได้ ) เพราะรู้สึกว่าทาให้จาสิ่งที่เรียนได้มากขึ้น
  • 35. • (4) การรบกวน (Interfere) การเรียนรู้ใหม่สามารถรบกวนการเรียนรู้เก่า ทาให้เกิดการลืมได้ เกิดขึ้น ทั้งในความจาระยะสั้น และระยะยาว การรบกวนมักเป็นสาเหตุสาคัญของการ ลืม • การรบกวนมี 2 ประเภท คือ • 1. Retroactive Inhibition เป็นการที่เรียนรู้ใหม่รบกวนการเรียนรู้เดิม ถ้าไม่เรียนรู้สิ่งใหม่ Retroactive Inhibition ก็จะไม่เกิด • 2. Proactive Inhibition เกิดเมื่อสิ่งที่เรียนรู้เดิมรบกวนสิ่งที่เรียนรู้ใหม่ เช่น อ่านหนังสือเตรียมสอบวิชาจิตวิทยาเสร็จแล้วก็อ่านเพื่อเตรียมสอบวิชา สังคมวิทยาต่อ พบว่าจะจาวิชาสังคมวิทยาไม่ได้ดี แต่ถ้าจาวิชาจิตวิทยาไม่ได้ ก็เพราะเกิด Retroactive Inhibition ขึ้น ดังนั้น ในการเตรียมตัวสอบจึงควร เตรียมตั้งแต่เนิ่นๆ ไม่ควรมาอ่านทุกวิชาในวันเดียวกัน
  • 36. • (5) การเก็บกด (Repression) นักจิตวิทยาพบว่าคนเรามักจะจดจาเหตุการณ์ที่มีความสุขหรือ สิ่งดี ๆ ในชีวิต ได้มากกว่าเหตุการณ์ที่ผิดหวังหรือไม่น่ารื่นรมย์ ลักษณะเช่นนี้ เรียกว่า การเก็บกด หรือการจูงใจเพื่อลืมความจาที่ เจ็บปวดหรือความละอายจะถูกเก็บกดให้อยู่ในจิตใต้สานึก • ตัวอย่างของการเก็บกดเช่น การลืมความล้มเหลวในอดีต ลืม ชื่อบุคคลที่ไม่ชอบ ลืมการนัดหมายที่ไม่ต้องการไป ฯลฯ การเก็บกด นี้จะต่างจากการระงับ (Suppression) ซึ่งเป็นความพยายามหรือ หลีกเลี่ยงที่จะไม่คิดถึงบางสิ่งบางอย่าง เช่น หลีกเลี่ยงที่จะไม่คิดถึง การสอบในอาทิตย์หน้า การระงับเป็นการกระทาในระดับจิตสานึก ส่วนการเก็บกดอยู่ในระดับจิตใต้สานึก
  • 37. สาเหตุแห่งการลืม (ต่อ) 1. จานวนที่ต้องจามีมากเกินไป 2. เวลาผ่านไปนาน 3. ไม่ได้ใช้ไม่ได้ทบทวน ไม่ได้ฝึกซ้อม 4. ลืมเพราะต้องการลืม เนื่องจากการปวดร้าวหรือพ่ายแพ้ โดยความเป็นจริง Freud เชื่อว่าเป็นการเก็บไว้ในจิตไร้สานึก 5. การรบกวนหรือการขัดขวาง (Inhibition) ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 5.1 การตามรบกวน(Proactive Inhibition) ในลักษณะ ได้หน้าลืมหลัง 5.2 การย้อนรบกวน (Retroaction Inhibition)ในลักษณะได้หลังลืมหน้า
  • 38. สาเหตุแห่งการลืม (ต่อ) 6. ลืมเนื่องจากช๊อค 7. ความกดดันทางอารมณ์ 8. สิ่งนั้นขาดความหมายและความไม่สนใจ 9. ความชรา 10. กิจกรรมสับสน
  • 39. แนวทางการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน การปรับปรุงความสามารถในการจาเพื่อให้การเรียนดีขึ้น มีวิธีการต่าง ๆ ดังนี้ (1) รู้คาตอบ การเรียนจะดีถ้าเรารู้ผลย้อนกลับ (Feedback) หรือรู้คาตอบว่า เราเรียนรู้ได้ดีเพียงใด ผลย้อนกลับยังช่วยให้ทราบด้วยว่าเราควรฝึกฝนเรื่อง ใดเป็นพิเศษ ขณะเดียวกันก็เป็นแรงเสริมให้ด้วยเมื่อพบว่าทาได้ถูกต้อง วิธีการสาคัญในการให้ผลย้อนกลับแก่ตนเองก็คือ การท่องจา (2) การท่องจา (Recitation) หมายถึง การพูดถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้แล้วซ้าๆ กับ ตนเอง การท่องเป็นการฝึกฝนให้เราสามารถนาข้อมูลที่เรียนรู้ออกมาได้ง่าย ในการทดลองพบว่า ถ้าให้ท่อง นักศึกษาจะได้คะแนนการสอบความจาถึง 80 % ขณะที่จะได้เพียง 20 % จากการอ่าน
  • 40. • (3) เรียนซ้า ๆ (Overlearning) การศึกษาบ่อยๆ ครั้งทาให้ความจาดีขึ้น หลังจากเรียนรู้จนไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ควรจะยังเรียนต่อไปอีกเพื่อให้สิ่งที่ จานั้นยังอยู่ • (4) การเลือก (Selection) มีผู้รู้กล่าวว่า ความจาที่ควรเหมือนตาข่ายจับปลา คือเก็บปลาตัวใหญ่ๆ ไว้และปล่อยตัวเล็กๆ ไป ในการเรียนจึงควรย่อ ใจความสาคัญของสิ่งที่เรียนรู้ให้เหลือแต่ที่สาคัญจริงๆ ซึ่งจะช่วยให้ สามารถจดคาบรรยายไว้ เพื่อจะใช้ในการสรุปความสาคัญสั้นๆ ช่วยการจา • (5) เว้นช่วงการฝึกฝน (Spaced practice) ไม่ควรใช้เวลาอ่านหนังสือ ติดต่อกันเป็นเวลานานๆ ถ้าแบ่งเป็นช่วงสั้นๆ (ประมาณ 20 นาที) แล้วพัก สักครู่ จะช่วยให้มีความสนใจและความจามากขึ้น นักศึกษาควรทาตาราง เวลาดูหนังสือและปฏิบัติตามตารางที่จัดไว้เสมือนกับว่าเป็นชั่วโมงเรียนที่ ต้องเข้าเรียน
  • 41. • (6) จัดระเบียบ (Organize) ถ้าจัดระเบียบสิ่งที่เรียนได้เช่น ทาเป็น โครงร่างของเนื้อหาทั้งหมด จะช่วยทาให้เรียนง่ายขึ้นและจาได้ดีขึ้น • (7) การเรียนทั้งหมดหรือเป็นส่วนๆ ดีกว่ากัน (whole versus Part Learning) ถ้าต้องจาข้อความที่ไม่ยาวนัก และมีการจัดระเบียบเป็นอย่าง ดี ควรเรียนทีเดียวทั้งหมด แต่ถ้าเป็นข้อความที่ยาวมาก และยากมาก ควรแบ่งข้อความเป็นส่วนๆ และจาให้ได้ทีละส่วน เช่น แบ่งเป็นส่วนที่ 1, 2 และ 3 พอจาส่วนที่ 1 ได้ ก็จาส่วนที่ 1 และ 2 จากนั้นก็เป็นส่วนที่ 1, 2 และ 3
  • 42. • (8) ลาดับตาแหน่ง (Serial position) โดยปกติลาดับตาแหน่งของคาหรือ ข้อความที่อยู่ในช่วงกลางๆ มักจะถูกลืม ดังนั้นจึงควรให้ความสนใจ และฝึกฝนคาหรือข้อความในลาดับตาแหน่งกลาง ให้มากขึ้น • (9) การนอน (Sleep) การนอนหลังการเรียนรู้จะทาให้ความจาถูกรบกวน น้อยที่สุด แต่ในความเป็นจริง เราไม่สามารถนอนหลังจากที่เรียนได้ทุก ครั้ง จึงอาจใช้การหยุดพักแทน (10) การทบทวน (Review) หลังจากเว้นช่วงการการฝึกฝนและเรียนซ้า แล้ว ควรมีการทบทวนก่อนสอบอีกอย่างหนึ่ง เพื่อทาให้ความจาดีขึ้น