SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
อาจารย์ ดร.เพียงเพ็ญ จิรชัย
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
• สติปัญญา ความสามารถ
1. เพศ
2. วัย
3. บุคลิกภาพ
4. คุณค่า
5. สุขภาพ
ความหมาย
 ความแตกต่างระหว่างบุคคล หมายถึง ลักษณะ
ของบุคคลแต่ละคนซึ่งไม่เหมือนกัน แตกต่างกัน มี
ลักษณะหรือแบบไม่ซ้าใครและไม่เหมือนใคร
ความแตกต่างระหว่างบุคคลจึงทาให้บุคคลมี
เอกลักษณ์เฉพาะตน
ปัจเจกบุคคล
ลักษณะเฉพาะของบุคคล บุคคลแต่ละคนมี
ลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกันไป ภาษาเป็นส่วน
หนึ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงอุปนิสัย อารมณ์ รสนิยม
ความคิด แต่ละคนจะมีวิธีพูด หรือใช้ภาษาที่
แตกต่างกัน
สาเหตุของความแตกต่าง
 ครอบครัว
 การเมือง
 การศึกษา
 เศรษฐกิจ
 ภูมิศาสตร์
ครอบครัวมีอิทธิพลด้าน
 ทัศนคติ
ค่านิยม
บุคลิกภาพ
บุคลิกภาพ
ลักษณะนิสัย
แบบแผนของการบริโภค
การใช้จ่ายและการประหยัด
ทฤษฎีความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual
Differences Theory)
 เดอเฟลอร์ De Flure ได้เสนอหลักการไว้ดังนี้
 1. มนุษย์มีความแตกต่างกันอย่างมาก ในองค์ประกอบทาง
จิตวิทยาส่วนบุคคล
 2. ความแตกต่าง บางส่วนมาจากลักษณะแตกต่างทาง
 ชีวภาคหรือทางร่างกายของแต่ละบุคคล แต่ส่วนใหญ่มาจาก
การเรียนรู้
3. มนุษย์ถูกชุบเลี้ยงภายใต้สถานการณ์ต่างๆ
จะเปิดรับความคิดเห็นแตกต่างกันไปอย่าง
กว้างขวาง
4. จากการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทําให้เกิดทัศนคติ
ค่านิยม และความเชื่อที่รวมเป็นลักษณะทาง
จิตวิทยาส่วนบุคคลที่แตกต่างกันไป
ในแง่ของการทํางาน
ความแตกต่างของบุคคลส่งผลต่อ
 •ความสามารถ
 •ความฉลาด
 •การแก้ปัญหา
 •ความรวดเร็วและแม่นยํา
 •การเห็น การฟัง การพูด การเขียน
 •ความอดทน
 •ความเครียด
 1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล หมายถึง ความแตกต่างทาง
 ลักษณะและคุณสมบัติต่างๆระหว่างบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
 เช่น ความแตกต่างทางเชาวน์ปัญญา หรือ ความคิด
สร้างสรรค์
 2. ความแตกต่างภายในตัวบุคคล บุคคลแต่ละบุคคลมีความ
 แตกต่างภายในตัว เช่น นักเรียนบางคนมีความสามารถทาง
 คณิตศาสตร์สูงแต่มีความสามารถทางภาษาต่า
 ความแตกต่างทางด้านร่างกาย
 ความแตกต่างทางเชาวน์ปัญญา
 ความแตกต่างทางอารมณ์
 ความแตกต่างทางสังคม
 ความแตกต่างระหว่างวัย
 ความแตกต่างระหว่างเพศ
 ความแตกต่างของรูปแบบการเรียนรู้
 ปัจจัยด้านพันธุกรรม
(Heredity Factors)
 ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
(Environmental Factors)
อิทธิพลที่ส่งผลต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล
1. สาเหตุทางพันธุกรรม (Heredity)
2. สาเหตุทางสิ่งแวดล้อม (Environment)
สาเหตุที่ทาให้บุคคลแตกต่างกัน
ปัจจัยด้านพันธุกรรม (Heredity Factors)
รูปร่าง
เพศ
สุขภาพ
หมู่เลือด
สติปัญญา
อารมณ์
นิสัย
ความถนัด
สาเหตุทางพันธุกรรม (Heredity)
 เชื้อชาติ (Race) เผ่าพันธุ์
 เพศ (Sex)
 ชนิดของโลหิต
 ความบกพร่องบางอย่างทางร่างกายและโรคภัยไข้เจ็บ
บางอย่าง
 ลักษณะของความเจริญเติบโต
 วัย หรือ อายุ
 บุคลิกภาพ
 สติปัญญา ความสามารถที่ได้รับมาแต่กาเนิด
 ความสามารถที่มีมาแต่กาเนิด ความถนัด (Aptitude)
เฉพาะตัว หรือพรสวรรค์
 พฤติกรรมผิดปกติอันเนื่องมาจากพันธุกรรม
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Factors)
สิ่งแวดล้อมก่อนเกิด
สิ่งแวดล้อมขณะเกิด
สิ่งแวดล้อมหลังเกิด
สาเหตุทางสิ่งแวดล้อม (Environment)
 สิ่งแวดล้อมภายในครรภ์
 สิ่งแวดล้อมภายหลังเกิด
- สภาวะทางภูมิศาสตร์ ดินฟ้าอากาศของแต่
ละท้องถิ่น
- อาหารการกิน
- การศึกษาอบรม
สาเหตุทางสิ่งแวดล้อม (ต่อ)
- ประสบการณ์และการเรียนรู้ของแต่ละคน
- ระบบของสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละชาติ
- การเลี้ยงดูของบิดามารดา
- อุบัติเหตุ
- ลาดับที่ในการเกิด
- สื่อมวลชนและเพื่อน
สิ่งแวดล้อมภายในครรภ์
 การบริโภคอาหารที่ดีมีคุณค่า ของมารดา
 ถุงมดลูกดี อยู่ในสภาพสมบูรณ์ มีน้าหล่อเลี้ยงดี
เด็กจะเจริญเติบโต แข็งแรงดี ถ้ามารดาสุขภาพไม่ดี
มีโรคแทรก เด็กจะมีร่างกายและพลานามัยไม่สมบูรณ์
1. การบริโภคอาหารของมารดา (Maternal Nutrition)
2. ยา (Drug)
3. บุหรี่และสุรา (Tabacco and Alcohol)
4. สุขภาพของมารดา (Maternal Health)
5. อุบัติเหตุ (Accident)
6. สุขภาพจิตของมารดา (Mental Health)
สิ่งแวดล้อมขณะเกิด
 คลอดยากหรือรกไม่เปิดทาให้ต้องใช้เครื่องช่วยคลอด อาจทาให้กระโหลก
ได้รับการกระทบและอาจทาให้ปัญญาหรือเป็นโรคลมชัก
 หากทารกติดอยู่ที่กระดูกเชิงกรานของแม่นาน อาจทาให้ทารกเกิดภาวะ
ขาดออกซิเจน
 การขาดออกซิเจนประมาณ 18 นาทีอาจมีผลกับระบบการเห็น การพูด การ
ได้ยิน
 ถ้าหากนานเกิน 5-8 นาที เซลล์สมองจะถูกทาลาย ทาให้เป็นปัญญาอ่อนได้
 หากติดเชื้อกามโรคโกโนเรีย (Gonorrhea) หรือหนองใน เชื้อโรคจะทาลาย
เยื่อบุนัยน์ตาของทารกได้
สิ่งแวดล้อมหลังเกิด
สิ่งแวดล้อมในครอบครัว
สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
สิ่งแวดล้อมในสังคม
สิ่งแวดล้อมในครอบครัว
สถาบันครอบครัว ครอบครัวถือว่า
เป็นสถาบันแห่งแรกที่มี
ความสาคัญต่อพฤติกรรมของ
บุคคลในด้านต่าง ๆ เช่น วิธีการ
อบรมเลี้ยงดู สถานภาพทาง
เศรษฐกิจและสังคม ความมุ่ง
หมายของพ่อแม่ เป็นต้น
สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
 ทัศนคติและบุคลิกภาพของครู
 กลุ่มเพื่อนในโรงเรียนและ
สถาบันการศึกษา
 วิธีการสอนและสื่อสารเรียนการสอน
 กฎ ระเบียบและการปกครองใน
โรงเรียน
สภาวะทางภูมิศาสตร์
 ดินฟ้าอากาศของแต่ละท้องถิ่น ทาให้คนมีอุปนิสัยใจคอ
การดาเนินชีวิตต่างกัน เช่น
 คนที่อยู่ในเขตร้อน จะเหนื่อยง่าย
 คนในเขตหนาวต้องขยัน หมั่นเพียร อดทน
 คนที่อยู่ในท้องถิ่นกันดาร สภาพภูมิศาสตร์เลวร้ายจนเกิน
ความสามารถจะเอาชนะได้ก็มักจะทาให้คนหมดอาลัย เกิดความหดหู่
เบื่อหน่าย เกิดความท้อถอย ไม่สู้ ถ้าสภาพทางภูมิศาสตร์เอื้ออานวย
ความสมบูรณ์ให้อย่างเต็มที่ก็มักจะทาให้คนสบายเกินไปไม่กระตือรือร้น
อาหาร
อาหารการกินและความเป็นอยู่ ถ้าขาดอาหาร ร่างกาย
ก็ไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควร อาจทาให้ต่อมภายในไม่ทา
หน้าที่ เป็นผลให้ร่างกายเจริญเติบโตได้ช้า บางคนเป็น
โรคขาดอาหาร เป็นเด็กปัญญาอ่อน บางราย ร่างกาย
อ่อนแอและทาให้จิตใจอ่อนแอไปด้วย
การศึกษาอบรม
ทาให้บุคคลแตกต่างกัน หรือ มีลักษณะคล้ายคลึงกันได้
- คนที่ได้รับการศึกษาดี จะเป็นคนที่มีการพัฒนาทาง
สติปัญญา
- คนที่ขาดโอกาสศึกษา ความสามารถทางสติปัญญา
จะไม่เจริญถึงขีดสุด
- โรงเรียนทาหน้าที่ส่งเสริมความรู้ มารยาท
สังคม ฯลฯ
- ครอบครัวที่เอาใจใส่ ย่อมสนับสนุนการเรียนรู้ของ
เด็กได้ดีกว่าครอบครัวที่ขาดการเอาใจใส่
ประสบการณ์ กับการเรียนรู้ มีความสัมพันธ์กันอย่าง
ใกล้ชิด ประสบการณ์เป็นเครื่องมือ หรือวิธีการที่ทาให้เกิด
การเรียนรู้
ผลจากการเรียนรู้ทาให้คนมีความรู้ ทักษะเจตคติ แต่
ต้องอาศัยการจัดประสบการณ์ที่ดีพอ จึงจะทาให้คนได้
เรียนรู้เป็นผลสาเร็จ แต่ทุกคนไม่ได้รับประสบการณ์ที่เท่า
เทียมกัน สิ่งแวดล้อมไม่เหมือนกัน จึงมีโอกาสได้เรียนรู้
ต่างกัน
ประสบการณ์และการเรียนรู้ของแต่ละคน
ระบบของสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละชาติ
ประเพณีของแต่ละท้องถิ่น นาฏศิลป์ ประจาชาติ
มารยาทในสังคม อาหารการกิน ที่อยู่อาศัย
การใช้ภาษา เป็นต้น มีอิทธิพลต่อการดารงชีวิต
แนวความคิด และอุดมคติ ทาให้พฤติกรรมของคน
แต่ละสังคมแตกต่างกัน
การเลี้ยงดูของบิดามารดา
อาหารดี มีคุณภาพ อนามัยดี บารุงรักษาให้สุขภาพ
แข็งแรง ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ร่างกายได้สัดส่วนไม่เป็น
โรคขาดอาหาร
ถ้าเด็กได้รับความรัก ความอบอุ่น จะทาให้เด็กเจริญ
เติบโตทั้งทางกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
แต่ถ้าเลี้ยงดูแบบ ปกป้องมากเกินไป (Over Protection)
จะทาให้เด็กช่วยตัวเองไม่ได้
 อุบัติเหตุ
ทำให้สมองหรือร่ำงกำยได้รับควำมกระทบกระเทือน
กลำยเป็นคนปัญญำอ่อน พิกำร
 ลาดับที่ในการเกิด
ทำให้คนเรำแตกต่ำงกันได้หลำยอย่ำง ลูกคนกลำงๆ
คือ คนที่สอง คนที่สำม คนที่สี่ช่วยเหลือตัวเองได้ดีเจริญเติบโต
เร็วกว่ำลูกคนหัวปี แต่ลูกคนหัวปีมีควำมรับผิดชอบสูงกว่ำ ส่วน
ลูกคนสุดท้องมีควำมรับผิดชอบไม่ดีนัก ช่วยเหลือตัวเองไม่ใคร่ได้
เพรำะมีคนอื่นคอยเอำอกเอำใจทำทุกสิ่งทุกอย่ำงให้
สื่อมวลชนและเพื่อน
สื่อมวลชน วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์
ภาพยนตร์ และเพื่อน มีอิทธิพลต่อเจตคติ ความ
สนใจ ความคิด ศีลธรรม ค่านิยม ประสบการณ์
นิสัยใจคอ จริต กิริยามารยาท ศีลธรรม ฯลฯ
ความแตกต่างระหว่างบุคคลด้านต่างๆ
ความแตกต่างทางด้านร่างกาย
คือ ความแตกต่างของลักษณะทางกายที่เห็นได้
ชัด เช่น ความสูง ความต่าของร่างกาย ผิวเนื้อหยาบ
ผิวเนื้อละเอียด ผมดก ผมบาง ผมเหยียด ผมหยิก
ผมหยักสก จมูกโด่ง จมูกแบน ปากเล็กปากแบน
ปากหนา ตาชั้นเดียว ตาสองชั้น รวมทั้งการมี
บุคลิกภาพที่แตกต่างกันด้วย
Krestschmer นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน ได้แบ่งความแตกต่าง
ทางกายของคนออกเป็น 4 กลุ่มคือ
- Asthenic or Leptosome Type กลุ่มผอมสูง ตัวยาว
( Long - Thin Types) แขน – ขายาว พวกนี้แนวโน้มเป็นคนเงียบ
เหงา ช่างคิด เจ้าอารมณ์ มีบุคลิกภาพแบบเก็บตัว
- Pyknics Types กลุ่มรูปร่างอ้วน เตี้ย หนา (Shot –
Thick Types) คอใหญ่ ท้องพลุ้ย พวกนี้อารมณ์เปลี่ยนแปลง
อ่อนไหวง่าย เดี๋ยวสดชื่นร่าเริง เดี๋ยวเศร้า ซึม กลับไปกลับมา
ระหว่างความร่าเริงและความเศร้า เป็นพวกที่มีบุคลิกภาพแบบ
แสดงตัว
 Athletic Type กลุ่มที่มีลักษณะระหว่าง Pyknics
หรือ Leptosome คือเป็นคนรูปร่างแข็งแรง กล้ามเนื้อ
มาก เป็นแบบนักกีฬา ชอบออกกําลังกาย หรืองาน
กลางแจ้ง ชอบสนุกสนาน
 Dysplastic Type or Mixed Type กลุ่มที่สัดส่วนของ
ร่างกายไม่สอดคล้องกับสติปัญญา มักมีรูปร่างสูงใหญ่ผิดปกติ
ธรรมดา ร่างกายไม่สมประกอบ มีสติปัญญาตํ่า มักจะขี้โรค
มีความพิการในอวัยวะส่วนต่างๆ แตกต่างกันไป
Sheldon แพทย์และนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
ศึกษาร่างกายมนุษย์โดยการถ่ายรูปไว้กว่า 5,000 แบบ
และแบ่งสัดส่วนร่างกายของมนุษย์เป็น 3 แบบ คือ
1. Endomorphy คือ กลุ่มที่มีลักษณะอ้วนเตี้ย อ้วน
มาก หน้ากลม รับประทานเก่ง กินจุ ชอบความสบายและ
การสมาคม สนุกสนาน รื่นเริง โกรธง่าย หายเร็ว จู้จี้
เคลื่อนไหวเชื่องช้า ชอบหลับนานๆ
2. Mesomorphy คือ กลุ่มบุคคลที่มีลักษณะรูปร่าง
ลํ่าสัน แข็งแรง ไหล่กว้าง ตะโพกเล็ก รูปร่าง
สันทัด ขนาดกลาง แข็งแรง คล่องแคล่ว ว่องไว ชอบ
กีฬา พูดจาโผงผาง เปิดเผย
3. Ectomorphy คือ กลุ่มบุคคลที่มีลักษณะรูปร่าง
ผอม สูง บอบบาง ไหล่ห่อ นิ้วมือเรียวยาว แขน ขา
ยาว มีความรู้สึกไว อ่อนไหวง่าย ช่างกังวล เจ้าความคิด
ขี้ระแวง
ความแตกต่างทางเชาวน์ปัญญา
คือ ความแตกต่างของบุคคลในความสามารถทาง
สมอง ที่เกี่ยวกับการคิดและความสามารถในการเรียนรู้สิ่ง
ต่างๆทั้งในเชิงนามธรรม และรูปธรรม ความสามารถในการ
คิดวิเคราะห์ ความสามารถในการแยกแยะสิ่งต่างๆ
บุคคลที่เกิดจากพ่อแม่เดียวกัน ไม่ได้หมายความว่า
จะฉลาดเหมือนกัน แต่โดยทั่วไปความฉลาดของลูกพ่อแม่
เดียวกันมักจะไม่แตกต่างกันมากนัก
ความหมายของเชาวน์ปัญญา
เชาวน์ปัญญา คือ
1. ความสามารถในการเรียนรู้ บุคคลเรียนรู้สิ่งต่ำงๆได้เก่ง
เรียนรู้ได้ไว ถือว่ำเป็นคนฉลำด
2. ความสามารถในการคิด โดยเฉพำะกำรคิดสิ่งที่เป็น
นำมธรรม ที่มีควำมซับซ้อนได้ กรณีที่คิดในสิ่งที่ผู้อื่นคิดไม่ทัน
คิดไม่ถึง ก็ถือว่ำเป็นบุคคลที่ฉลำด
3. ความสามารถในการปรับตัว ปรับตัวในสถำนกำรณ์หรือ
สิ่งแวดล้อมที่ยำกลำบำกได้อย่ำงรำบรื่น คนฉลำดจะปรับตัวอยู่
กับทุกสถำนกำรณ์ได้อย่ำงมีควำมสุขและเจริญก้ำวหน้ำ
 อารมณ์เป็นพลังที่ทรงอํานาจอย่างหนึ่งของมนุษย์ อารมณ์อาจเป็นต้นเหตุ
ของสงคราม อาชญากรรม ความขัดแย้งเรื่องเชื้อชาติ และความขัดแย้งอื่นๆ
อีกหลายชนิดระหว่างมนุษย์ด้วยกัน ในทางตรงกันข้าม อารมณ์เป็นนํ้าทิพย์
ของชีวิต ทําให้ทุกสิ่งทุกอย่างสวยสดงดงามและน่าอภิรมย์ ความรัก ความ
สนุกสนาน ความเพลิดเพลิน ความพอใจ หรือความตลกขบขันล้วนแต่ทําให้
ชีวิตมีคุณค่าและความหมายทั้งสิ้น
 อารมณ์ หมายถึง ความรู้สึกอย่างหนึ่งที่แสดงออกมาเมื่อร่างกายถูกกระตุ้น
จากสิ่งเร้าทั้งภายในและภายนอก และอารมณ์จะมีลักษณะทั้งที่เป็นด้านบวก
และด้านลบ ซึ่งอาจจะช่วยส่งเสริมให้ชีวิตมนุษย์มีความสุขและอาจเป็นสิ่งที่
บั่นทอนทําลายชีวิตมนุษย์ได้เช่นกัน
ความแตกต่างทางอารมณ์
ความแตกต่างทางอารมณ์
 ความแตกต่างทางอารมณ์ คือ ความแตกต่างของบุคคลใน
ความสามารถที่จะควบคุมพฤติกรรมต่างๆ ขณะเกิดอารมณ์
อย่างใดอย่างหนึ่ง
ซึ่งการแสดงออกทางอารมณ์มีมากน้อยไม่เท่ากันและแสดงออกมา
ไม่เหมือนกัน การควบคุมอารมณ์ก็มีความแตกต่างกัน ซึ่งได้รับ
อิทธิพลมาตั้งแต่วัยทารกเป็นต้นมา ปัจจุบันทางสังคมได้ให้
ความสําคัญแก่คนที่มีความสามารถในการควบคุมอารมณ์ได้อย่าง
เหมาะสมเป็นอย่างมาก ที่เรียกกันว่า มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ หรือ
อีคิว คนที่ได้รับความสําเร็จในชีวิตไม่ใช่อยู่ที่มีไอคิวสูงอย่างเดียว
แต่ต้องมีอีคิวเป็นส่วนประกอบด้วย
ความแตกต่างทางด้านสังคม
 ความแตกต่างทางด้านสังคม คือ ความ
แตกต่างของบุคคล ในความสามารถที่จะปรับตนให้เข้า
กับบุคคลและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ของสังคมที่ตน
เป็นสมาชิกอยู่ และของสังคมอื่น ๆ ด้วย
 มนุษย์ตั้งแต่เกิดมาต้องอยู่ในระบบของ
สังคม ตั้งแต่สังคมครอบครัว สังคมเพื่อนบ้าน สังคม
โรงเรียน ตั้งแต่อนุบาลจนถึงอุดมศึกษา บุคคลต้อง
ปรับตัวให้เข้ากับสังคมทั้งสิ้น
 Mill และ Swanson (1960)ได้ศึกษาพบว่า
บิดามารดาในสังคมคนยากจนที่ทํางานหนัก จะใช้วิธีการ
ลงโทษบุตรมากกว่ามารดาในสังคมชั้นกลาง
 ส่วนบิดามารดาในสังคมคนชั้นกลางมักจะใช้วิธีการทาง
จิตวิทยาในการอบรมสั่งสอนบุตรมากกว่าลงโทษทันที
 Havighurt, Robinson , Dorr (1946) และ
นักจิตวิทยาในยุคต่อมา ได้ทําการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างชั้น
สังคม คือ ชนชั้นกลางกับชนชั้นผู้ใช้แรงงาน กับการเลี้ยงดูเด็ก
พบว่า มารดาชนชั้นผู้ใช้แรงงาน มีความเข้มงวดกวดขันกับลูกใน
เรื่องพฤติกรรมทางเพศ การฝึกขับถ่าย และการลงโทษโดยตรงต่อ
พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กอย่างรุนแรงมากกว่ามารดาชนชั้นกลาง
ความแตกต่างระหว่างวัย
วัยที่แตกต่างกันทาให้เกิดการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน
มีผลต่อศักยภาพทางการเรียนของผู้เรียน คุณลักษณะ
ของผู้เรียนแต่ละวัย ได้แก่ วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ จะ
มีผลอย่างมากต่อการจัดการเรียนการสอน
ความแตกต่างระหว่างเพศ
 - เพศหญิงและเพศชายแตกต่างกันทางสรีรวิทยา หรือ
ทางด้านร่างกาย ความต้องการ แรงจูงใจ ลักษณะนิสัย
และรสนิยม
 - ความแตกต่างทางพฤติกรรมของหญิงและชายขึ้นอยู่กับ
สังคมและวัฒนธรรม
 - เพศหญิงชอบแสดงความรู้สึกและต้องการให้ผู้อื่นเข้าใจ
และเห็นใจ เมื่อมีความทุกข์จะระบายความรู้สึกมากกว่า
การคิดแก้ปัญหา
 เพศชายจะพยายามหาหนทางแก้ปัญหา และจะ
รู้สึกเสียศักดิ์ศรีเมื่อผู้หญิงเสนอแนะวิธีแก้ปัญหา
 เพศหญิงวิตกกังกลเกี่ยวกับเอกลักษณ์ของตนเอง
สูงกว่าเพศชาย
 เพศชายแสดงความก้าวร้าวในรูปความรุนแรง
ของการหยอกล้อ การเล่น และการต่อสู้มากกว่า
เพศหญิง
แมคโคบี และ แจ็คคลีน รวบรวมผลงานวิจัยที่
เชื่อถือได้เกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างเพศ
พบว่า ผู้ชายมีความสามารถหรือพฤติกรรม
ดีกว่าผู้หญิง เพียง 3 อย่าง คือ
1. ผู้ชายมีความสามารถทางการจารูปทรงสิ่งของได้
แม้ว่าจะตั้งพลิกแพลงในท่าต่างๆ
2. ผู้ชายมีความสามารถทางคณิตศาสตร์มากกว่า
ผู้หญิง
3. ผู้ชายแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวมากกว่าผู้หญิง
 รูปแบบการเรียนรู้ หมายถึง วิธีการที่
แตกต่างกันในการคิดและการเรียนของ
ผู้เรียน ประกอบด้วย วิธีการเข้าถึงความรู้
วิธีการจัดกระทากับข้อมูลความรู้ และ
ความรู้สึกหรือแรงจูงใจที่มีต่อสิ่งที่เรียน
ความแตกต่างของรูปแบบการเรียนรู้ (Learning Style)
รูปแบบการเรียนรู้ของ Kolb
1. แบบ Diverger บุคคลที่ชอบเรียนรู้ด้วยกำรสังเกต คิด
ไตร่ตรองและเข้ำไปสัมผัสประสบกำรณ์ สามารถเรียนรู้ได้
ดีเมื่อมีการอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระดม
สมอง
2. แบบ Assimilators สำมำรถเรียนรู้เนื้อหำทฤษฎีและ
หลักกำรได้ดี นำมำสรุปด้วยหลักเหตุและผลได้ ชอบเรียนรู้
โดยการฟังคาบรรยายอย่างมีลาดับขั้น
3. แบบ Converger เป็นรูปแบบของกำรเรียนโดยใช้ควำมคิด
เชิงนำมธรรมและกำรปฏิบัติจริง บุคคลที่ต้องมีการปฏิบัติจึง
จะเรียนรู้ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
4. แบบ Accommodators เป็นรูปแบบที่ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้
จากประสบการณ์เชิงรูปธรรม และการได้ลงมือทดลอง
ปฏิบัติ บุคคลชอบประดิษฐ์สร้ำงสรรค์ผลงำนอย่ำงอิสระ
ความแตกต่างของบุคลิกภาพ
 บุคลิกภาพของบุคคลจะแตกต่างกันเพราะ บุคคลที่มีความ
แตกต่างกันโดยพื้นฐานต่างๆ อยู่แล้ว ทั้งทางสรีระ สังคม และ
วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมที่ต่างกันก็ทาให้บุคคลได้รับประสบการณ์ที่
แตกต่าง กันมากขึ้นมีผลทาให้บุคลิกภาพ แตกต่างกันไปด้วย
ปัจจัยที่มีผลทาให้เกิดความแตกต่างของบุคลิกภาพ ได้แก่
1. เพศ
2. อายุ
3. สุขภาพ
4. อาชีพ
5. ประสบการณ์
1. เพศกับความแตกต่างของบุคลิกภาพ
 ชายและหญิงจะมีความแตกต่างกันในลักษณะบุคลิกภาพ เว้นแต่ในช่วง
ของวัยเด็กซึ่งยังไม่อยู่ในขั้นของการแยกแยะความแตกต่างระหว่างเพศอย่าง
ชัดเจนมาก
 การทดสอบความสามารถในการเข้าใจลักษณะอารมณ์โดยไม่มีการพูด
ทําให้ทราบว่าผู้หญิงมีความสามารถในการเข้าใจอารมณ์ของบุคคลได้ดีกว่า
ผู้ชาย โดยไม่ว่าจะเป็นผู้หญิงในช่วงอายุใดก็ตาม ซึ่งความสามารถในการ
เข้าใจสัญญาณต่างๆ ที่ไม่ใช่คําพูดนี้เอง เป็นเครื่องแสดงถึงความสามารถที่
บุคคลจะมีความสามารถในการสอนและงานทางคลินิก
ความแตกต่างในเรื่องความก้าวร้าวของเพศชายและเพศหญิง
 จากการศึกษาในกลุ่มวัยรุ่นที่มีช่วงอายุของนักศึกษาระดับวิทยาลัย พบว่าเพศ
ชายมีความก้าวร้าวและดุร้ายมากกว่าเพศหญิงไม่ว่าจะเป็นการวัดแบบลึก หรือ
การวัดแบบอัตวิสัย โดยวัยรุ่นพวกนี้ได้แสดงความคิดเห็นอย่างก้าวร้าว และก็มี
ความเต็มใจที่จะแสดงออกอย่างก้าวร้าว
 สาหรับกรณีของผู้ใหญ่ก็เช่นเดียวกันผู้วิจัยพบว่า ผู้ชายมีความก้าวร้าวมากกว่า
ผู้หญิงในทุกสถานการณ์
 สาหรับเรื่องของการแสดงออกทางอารมณ์ และความรู้สึกจะพบว่าผู้หญิงมีการ
แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกได้เหมาะสมกว่าผู้ชาย
 นอกจากนี้ในกรณีที่เกี่ยวกับความสิ้นหวังและความเศร้าเมื่อศึกษาเปรียบเทียบ
กันระหว่างเพศชายและเพศหญิงพบว่า ผู้ชายได้รับความกระทบกระเทือนทาง
อารมณ์เกี่ยวกับความสิ้นหวังและความเศร้าได้มากกว่าผู้หญิง
2. อายุกับความแตกต่างของบุคลิกภาพ
 บุคลิกภาพจะเปลี่ยนแปลงไปพร้อมๆ กับอายุ โดยเฉพาะในเรื่องความ
ระมัดระวัง และความเข้มแข็ง
 การเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพตามอายุนั้นสําหรับบางคนการพัฒนาบุคลิกภาพ
ของเขาจะต่อเนื่องกันมาจากวัยรุ่นจนถึงวัยชรา โดยที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่
บางคนอาจะมีการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพโดยเฉพาะในช่วงวัยรุ่นตอนกลางถึง
ประมาณอายุ 30 ปี
 นอกจากนี้อาการผิดปกติทางพฤติกรรมของบุคคลมักจะพบสถิติที่สูงที่สุดใน
กลุ่มอายุระหว่าง 25 ถึง 44 ปี ส่วนอาการผิดปกติทางพฤติกรรมที่เกิดจาก
ความผิดปกติทางร่างกายซึ่งทําให้บุคคลมีการเปลี่ยนแปลงความคิด ความจํา
และบุคลิกภาพอื่นๆ นั้น ส่วนใหญ่จะพบในกลุ่มคนที่มีอายุเกิน 60 ปีขึ้นไป
สุขภาพกับความแตกต่างของบุคลิกภาพ
 สุขภาพทางกาย และสุขภาพทางจิตของบุคคลมีความเกี่ยวข้องกับ
ความแตกต่างของบุคลิกภาพ คือ ร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงจะเป็น
พื้นฐานให้บุคคลมีความพร้อมในการสร้างบุคลิกภาพที่ดี สุขภาพจิตดี
เช่นเดียวกัน คนที่มีสุขภาพจิตดีจะมีความสามารถในการปรับตัวได้ดี
ดังนั้นลักษณะบุคลิกภาพที่แสดงออกมาก็จะเป็นบุคลิกภาพที่ดี
 แต่ในทางตรงข้ามพวกที่มีสุขภาพจิตไม่ดีจะปรับตัวไม่ได้ ทําให้มี
บุคลิกภาพที่สังคมไม่พึงประสงค์ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าสุขภาพทางกาย
และจิตมีผลร่วมทําให้เกิดความแตกต่างของบุคลิกภาพได้
4. อาชีพกับความแตกต่างของบุคลิกภาพ
 อาชีพเป็นส่วนหนึ่งที่หล่อหลอมให้บุคคลมีบุคลิกภาพตามลักษณะของอาชีพ
ได้ อาชีพบางอย่าง เช่น ครู แพทย์ จะมีการหล่อหลอมให้บุคคลในอาชีพมี
บุคลิกภาพที่มีเมตตา มีคุณธรรมสูงเพราะเป็นอาชีพที่ใช้เมตตาคุณต่อเพื่อน
มนุษย์
 ส่วนบางอาชีพ เช่น นักหนังสือพิมพ์ จะมีลักษณะบุคลิกภาพแบบที่
คล่องแคล่วว่องไวและชอบซักถาม หรืออาชีพทหาร จะหล่อหลอมบุคลิกภาพ
ของผู้อยู่ในอาชีพนี้ให้มีความเข้มแข็ง อดทน เป็นผู้นํา
 ดังนั้นอาชีพจึงมีบทบาทที่สําคัญทีเดียวในการหล่อหลอมลักษณะบุคลิกภาพ
ให้เป็นไปตามอาชีพนั้นๆ
5. ประสบการณ์กับความแตกต่างทางบุคลิกภาพ
 บุคคลแต่ละคนจะมี ประสบการณ์ในอดีตที่แตกต่างกัน บาง
คนก็มีประสบการณ์ในชีวิตที่ดี มีความสําเร็จ มีความอบอุ่น
ในครอบครัว บุคคลที่มีประสบการณ์เช่นนี้มาจะพัฒนา
บุคลิกภาพในทางที่ดี มีความอบอุ่น มั่นคง เชื่อมั่นในตนเอง
 ในทางตรงข้ามบุคคลที่มีประสบการณ์ที่เลวร้ายในชีวิตจะมี
ลักษณะการมองโลกในแง่ร้าย ขาดความมั่นใจ หวาดกลัว
บุคคลเช่นนี้จะพัฒนาบุคลิกภาพที่ขาดความไว้วางใจผู้อื่นขี้
ระแวงสงสัย ไม่มั่นใจตนเอง มองโลกแง่ร้าย
อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม
 มีความแตกต่างกันของศักยภาพทางพันธุกรรมกับการเลี้ยงดูภายใต้
สิ่งแวดล้อมที่ต่างกัน ได้แก่สิ่งแวดล้อมที่ขาดแคลน สิ่งแวดล้อมปานกลาง
และสิ่งแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์
 หากมีการดูแลที่ดี ในแต่ละกรณีคือ สิ่งแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์ส่งผลให้มี
IQ. สูง และสิ่งแวดล้อมขาดแคลนทําให้ IQ. ตํ่า ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความแตกต่าง
ของแต่ละบุคคล คนที่มีศักยภาพสูง มีความสามารถสูง เมื่ออยู่ภายใต้
สิ่งแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์ จะพัฒนา IQ. ได้ดี แต่ศักยภาพนั้นจะลดตํ่าลง
ถ้าอยู่ภายใต้สิ่งแวดล้อมที่ขาดแคลน (ทําให้ IQ. ลดลง)
 Weisman (1966), Scarr-Salapatex (1971) จึงกล่าวได้ว่าสิ่งแวดล้อมมี
อิทธิพลสูง ต่อเด็กที่มี IQ. ตั้งแต่เกณฑ์เฉลี่ยขึ้นไป
สิ่งแวดล้อมที่กาหนดศักยภาพทางเชาวน์ปัญญา
 สิ่งแวดล้อมที่กาหนดศักยภาพทางเชาวน์ปัญญา ได้แก่ อาหาร สุขภาพ
คุณภาพของสิ่งเร้า บรรยากาศทางด้านอารมณ์ภายในครอบครัว และ
ชนิดของพฤติกรรมที่มีการป้อนกลับ
 ถ้าเด็กสองคนที่มีพันธุกรรมเหมือนกัน เด็กที่ได้รับอาหาร การกระตุ้นเร้า
ทางปัญญา และมีความมั่นคงทางอารมณ์ภายในครอบครัวภายใต้ภาวะ
ทั้งก่อนคลอดและหลังคลอด จะมี IQ. สูงกว่า คะแนนในชั้นเรียนก็สูงกว่า
เด็กที่ไม่ได้รับสิ่งกระตุ้นเร้าที่ดีดังกล่าว
 การศึกษานี้แสดงว่าสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมมีผลต่อความ
แตกต่างของ IQ. ในช่วงเกิดจนกระทั่งเข้าเรียน
ประโยชน์ในการศึกษาความแตกต่างระหว่างบุคคล
 การศึกษาทําความเข้าใจเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่าง
บุคคลจึงเป็นสิ่งจําเป็น เพราะจะช่วยให้เข้าใจเหตุผลแห่ง
พฤติกรรมที่มนุษย์แสดงออกต่อกัน อันเป็นแนวทางในการ
ปรับตัวของบุคคลเพื่อให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขตาม
อัตภาพ และร่วมกันใช้ความรู้ความสามารถที่แต่ละคนมีอยู่
ต่างกันนั้น ในการสร้างสรรค์ตนเอง และสังคมให้มีความ
เจริญก้าวหน้ามากที่สุดเท่าที่จะมากได้
 Bigge และ Hunt กล่าวถึง ความสาคัญของการศึกษาความแตกต่าง
ระหว่างบุคคลว่า จะช่วยให้เข้าใจธรรมชาติของคน ช่วยในการจัด
การศึกษาเพื่อส่งเสริมให้แต่ละคนมีพัฒนาการและความเจริญงอกงามได้
อย่างเต็มที่ตามระดับความสามารถให้ดาเนินไปได้ด้วยดี ซึ่งนับว่าช่วย
สามารถนากาลังคน (Man Power) มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนา
ประเทศได้อย่างถูกต้องและเต็มที่
 Gleun M. Blair และคณะ อธิบายว่า การศึกษาให้เข้าใจความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล เป็นสิ่งจาเป็นในการประกอบอาชีพ
การเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อ
การตอบสนองพฤติกรรมและการฝึกอบรมหรือการปกครอง
การนาความรู้ เรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
ไปใช้ในการเรียนการสอน
1. ด้านหลักสูตร - เรียนตามความสามารถ
- เรียนตามความถนัด
2. ด้านการเรียนการสอน
3. การจัดแผนการเรียน
4. กิจกรรมการเรียนการสอน
5. การจัดชั้นเรียน
6. การแนะแนว : สติปัญญา ความถนัด อาชีพ
ความสนใจ และบุคลิกภาพ

More Related Content

Similar to 11

การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรRayoon Singchlad
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2supap6259
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
บทบาทครู
บทบาทครูบทบาทครู
บทบาทครูPnong Club
 
แหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้แหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้panadda
 
ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมOrange Wongwaiwit
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action researchUltraman Taro
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 

Similar to 11 (20)

การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
ปฐมวัย
ปฐมวัยปฐมวัย
ปฐมวัย
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
 
3
33
3
 
หลักสูตรปฐมวัย
หลักสูตรปฐมวัยหลักสูตรปฐมวัย
หลักสูตรปฐมวัย
 
Tha464 5
Tha464 5Tha464 5
Tha464 5
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้นสุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
 
Adulthood
AdulthoodAdulthood
Adulthood
 
1
11
1
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
บทบาทครู
บทบาทครูบทบาทครู
บทบาทครู
 
แหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้แหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้
 
ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action research
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 

More from SuriwiphaSriwanna (9)

Ied211
Ied211Ied211
Ied211
 
6
66
6
 
11
1111
11
 
9
99
9
 
8
88
8
 
7
77
7
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 

11

Editor's Notes

  1. พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม มีอิทธิพลต่อการกำหนดบุคลิกลักษณะของบุคคล และทำให้แต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน
  2. มีสารชีวเคมีที่สำคัญ คือ ดีเอ็นเอ เป็นตัวนำ ซึ่งเป็นสารพันธุกรรมและยีนต์ ทำหน้าที่เป็นตัวนำ
  3. โรคซิฟิลิส (Syphilis) โรคหัดเยอรมัน จะส่งผลให้เด็กทารกตาบอด จะทำให้เกิดโอกาสในการแท้งสูง การรับกัมมันตภาพรังสี เพราะส่งผลให้ยับหยั้งการแบ่งตัวของเซลล์ในตัวทารก หรือทำให้เซลล์ตาย และทารกอาจพิการ สุขภาพจิตของมารดา ส่งผลต่อภาวะอารมณ์ และพัฒนาการของทารกในครรภ์
  4. ทำให้สมองของทารกขาดออกซิเจน หากขาดออกซิเจนนาน 18 วินาที อาจมีผลกับระบบการเห็น การพูด การได้ยิน และถ้าหากนานเกิน 5-8 นาที เซลล์สมองจะถูกทำลาย ทำให้เป็นปัญญาอ่อนได้ กรณีที่ช่องคลอดมารดาติดเชื้อกามโรคโกโนเรีย (Gonorrhea) หรือหนองใน เชื้อโรคจะทำลายเยื่อบุนัยน์ตาของทารกได้
  5. สถาบันการศึกษา เป็นสิ่งที่สำคัญรองลงมาจากสถาบันครอบครัว เพราะครอบครัวเป็นแหล่งที่สร้างพฤติกรรม ส่วนสถานศึกษาจะเป็นแหล่งหล่อหลอมพฤติกรรมของบุคคลในการใช้ชีวิตในสังคม ไม่ว่าจะเป็นบุคลิกภาพของครู บรรยากาศในสถานศึกษา เพื่อนร่วมสถาบันการศึกษา หลักสูตร วิธีการสอนของสถาบัน