SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
เชาวน์ปัญญา และ ความถนัด
- Dictionary of Education ให้ความหมายว่า “เชาว์ปัญญา (Intelligence) คือ
ความสามารถในการปรับตัว ให้เข้าสถานการณ์ใหม่ๆ ได้อย่างรวดเร็วและเป็น
ผลสาเร็จ”
- Webster’s New World Dictionary ให้นิยามคาว่า “เชาวน์ปัญญา
(Intelligence) ว่า
ก. ความสามารถในการเรียนรู้หรือเข้าใจ โดยผ่านประสบการณ์ทางการเรียน
โดยบุคคลสามารถรับและรักษาความรู้ที่เรียนไว้ได้ เช่น เคยเรียนมานานแล้วแต่
ก็ยังจาได้ดี
ข. ความสามารถในการตอบสนองอย่างรวดเร็วและถูกต้องในสถานการณ์
ใหม่ๆ โดยรู้จักใช้เหตุผลในการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมายของเชาวน์ปัญญา (Intelligence)
 David Wechsler กล่าวว่า เชาวน์ปัญญา คือ ความสามารถทั้งหมดของ
บุคคลในอันที่จะกระทาพฤติกรรมอย่างมีจุดมุ่งหมาย คิดอย่างมีเหตุผล
และจัดการกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 J.P. Gilford กล่าวว่า เชาวน์ปัญญามีองค์ประกอบ 3 มิติ ด้วยกัน คือ
1. วิธีการคิด
2. สิ่งที่ก่อให้เกิดเป็นความคิด เช่น ภาพ สัญลักษณ์ หรือเรื่องราวต่าง ๆ
3. ผลของความคิด สามารถดัดแปลงนาไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ
 Munn กล่าวว่า เชาวน์ปัญญา คือ ความสามารถในการเรียนรู้ การจดจา
สิ่งที่เรียนรู้ได้ การเรียนรู้เนื้อหาที่ซับซ้อนเพิ่มขึ้นได้ การใช้สัญลักษณ์ได้
อย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพ
เชาวน์ปัญญาคืออะไร ?
 คำว่ำเชำวน์ปัญญำมีผู้เรียกแตกต่ำงกันไปเช่น ภูมิปัญญำ สติปัญญำหรือไอคิว (I.Q.)
 เชาวน์ปัญญา
หมำยถึง ควำมสำมำรถของบุคคลในกำรเรียนรู้ กำรปรับตัวต่อปัญหำอย่ำงเหมำะสมและ
ควำมสำมำรถในอันที่จะทำกิจกรรมต่ำงๆได้อย่ำงมีจุดมุ่งหมำยและมีคุณค่ำทำงสังคม สำมำรถ
คิดอย่ำงมีเหตุผลสำมำรถปรับตัวเข้ำกับสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่ำงมีประสิทธิภำพ
 Charles Spearman กล่าวถึง เชาวน์ปัญญา ซึ่งประกอบด้วย 2
โครงสร้าง คือ
1. ความสามารถทั่วไป เช่น เข้าใจความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ
การวางแผนและการคิดอย่างมีเหตุผล
2. ความสามารถพิเศษ เช่น ความสามารถด้านกีฬา ศิลปะ ดนตรี
ปี 1927 Spearman กล่าวว่าองค์ประกอบทั่วไปของเชาวน์ปัญญา
เรียกว่า g หรือ g-factor เป็นความคิดแฝงที่อยู่ภายใต้การกระทาทุก
ชนิดที่บ่งบอกลักษณะของเชาวน์ปัญญา และ g-factor คือสิ่งที่ถูกวัดโดย
แบบทดสอบทางเชาวน์ปัญญา
 Jean Piaget กล่าวว่า เชาวน์ปัญญา หมายถึง การที่บุคคล
สามารถปรับตัวและแก้ปัญหาในสิ่งแวดล้อมรอบตัวเองได้
 Alfred Binet อธิบายว่า เชาวน์ปัญญาคือการตัดสินใจที่ดี มี
ความรวดเร็วและถูกต้อง สามารถพิจารณาตนเอง และมี
ความสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม
คิดอย่างมีเหตุผล และกระทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยความฉลาด
 Lewis Terman ให้ความหมายของเชาว์ปัญญาว่า เป็น
ความสามารถในการคิดเกี่ยวกับนามธรรมของแต่ละบุคคล
George D. Stoddrd ได้ให้ความหมายว่า เชาว์ปัญญา คือ
ความสามารถที่จะเข้าใจและทากิจกรรมที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ คือ
1.กิจกรรมที่ยาก (Difficulty)
2.กิจกรรมที่สลับซับซ้อน (Complexity)
3.กิจกรรมที่ลักษณะเป็นนามธรรม (Abstractness)
4.กิจกรรมที่ต้องการความประหยัด (Economy)
5.กิจกรรมที่นาไปสู่ความมุ่งหมาย (Addictiveness to a Goal)
6.กิจกรรมที่มีคุณประโยชน์ต่อสังคม (Social Value)
7.กิจกรรมที่ต้องใช้สมาธิ และความอดทนและความตั้งใจอย่างมาก
Howard Gardner (1983)
 กล่าวถึง เชาวน์ปัญญา 8 ชนิด แม้ว่าแต่ละชนิดต่างเป็นอิสระ
ไม่ต้องอาศัยอย่างอื่นประกอบ แต่โดยทั่วไปแล้ว กิจกรรมต่าง ๆ
จะประกอบด้วยส่วนของเชาวน์ปัญญาเหล่านี้ร่วมกัน คือ
1. เชาวน์ปัญญาทางด้านดนตรี (Musical intelligence) ได้แก่
ทักษะที่เกี่ยวข้องกับการดนตรี
2. เชาวน์ปัญญาที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย
(Bodily kinesthetic intelligence) ได้แก่ทักษะที่ใช้ส่วนต่างๆ ของ
ร่างกายในการแสดง หรือแก้ไขปัญหาเช่น นักกรีฑา นักแสดง
นักเต้นรา และ ศัลยแพทย์
 3. เชาวน์ปัญญาในด้านตรรกกะ และการคานวณ (Logical and
mathematic intelligence) ได้แก่ทักษะในการใช้เหตุและผล รวมทั้ง
การคิดคานวณ และความคิดเชิงวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหา
4. เชาวน์ปัญญาทางด้านการใช้ภาษา (Linguistic intelligence)
ได้แก่ ทักษะซึ่งเป็นผลจากการใช้ภาษา
5. เชาวน์ปัญญาเกี่ยวกับมิติสัมพันธ์ (Spatial intelligence) ได้แก่
ทักษะที่ใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้าง รูปพรรณสัณฐาน
องค์ประกอบ มักพบในกลุ่มที่เป็นศิลปิน หรือสถาปนิก
 6. เชาวน์ปัญญาเชิงปฏิสัมพันธ์ (Interpersonal intelligence)
ได้แก่ ทักษะที่ใช้ในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่นมีความไวใน
การรับหรือส่งอารมณ์ ความรู้สึก แรงจูงใจ หรือมีความเข้าใจใน
ผู้อื่น ข้อนี้น่าจะคล้ายกับเรื่องของ EQ.
7. เชาวน์ปัญญาในด้านความรู้ความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
(Intrapersonal intelligence)ได้แก่ความเข้าใจถึงอารมณ์
ความรู้สึกที่ตนเองมีอยู่
 8. เชาวน์ปัญญาในด้านความเข้าใจธรรมชาติ (Naturalistic)
เรียนรู้ที่จะอยู่และเข้าใจธรรมชาติ เช่น การศึกษาต้นไม้ การใช้
ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ การเดินบนหญ้า การกอดต้นไม้ หรือ
สัตว์เลี้ยง
 Sternberg และคณะ (1981) กล่าวถึง เชาวน์ปัญญา (intelligence)
ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ คือ
1. ความสามารถในการแก้ปัญหา (problem solving ability) ด้วย
หลักเกณฑ์ที่มีเหตุและผล
2. มีความคิดที่แสดงความสามารถในเชิงภาษา การติดต่อสื่อสารด้วย
คาพูดและวาจา
3. มีความสามารถทางสังคม มีความสนใจผู้อื่น และสามารถสร้าง
ปฏิสัมพันธ์ต่อกันอย่างมีประสิทธิภาพ
 McNemar แห่งมหาวิทยาลัย Stanford สหรัฐอเมริกา สรุป
ความหมายของ เชาวน์ปัญญาที่นักจิตวิทยาต่างๆเน้น ออกเป็น
4 กลุ่ม คือ
 กลุ่ม 1 เป็นความสามารถในการปรับตัว(Adaptability)ให้เข้ากับ
สิ่งแวดล้อม คนที่มีเชาวน์ปัญญาสูงจะปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้
ดีกว่าคนที่มีเชาวน์ปัญญาต่า
 กลุ่มที่ 2 ความสามารถในการแก้ปัญหา (Problem Solving) บุคคลที่
มีเชาวน์ปัญญาสูงจะมีความสามารถในการแก้ปัญหาได้ดีกว่าบุคคลที่
มีเชาวน์ปัญญาต่า
 กลุ่มที่ 3 เชาวน์ปัญญา คือ ความสามารถในการคิดแบบ
นามธรรม การทาความเข้าใจกับสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางภาษาและ
คณิตศาสตร์ จะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพถ้าบุคคลมีเชาวน์
ปัญญาอยู่ในระดับสูง
 กลุ่มที่ 4 เชาวน์ปัญญา คือ ความสามารถในการเรียนรู้ คนที่มี
เชาวน์ปัญญาสูงจะเรียนรู้ได้เร็วกว่าคนที่มีเชาวน์ปัญญาต่า
พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม
(Heredity and Environment)
พันธุกรรมกับเชาวน์ปัญญา
 เชาวน์ปัญญาเป็นคุณสมบัติที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ
ซึ่งเป็นรากฐานสาคัญแห่งความสาเร็จต่าง ๆ ดังนั้นการที่บุคคลใดจะมี
โอกาสประสบความสาเร็จมากน้อยเพียงไรจึงขึ้นอยู่กับระดับเชาวน์ปัญญา
เป็นอันดับแรก ส่วนสิ่งแวดล้อมจะเป็นปัจจัยช่วยส่งเสริมเชาวน์ปัญญาที่
บุคคลมีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
 การที่เด็กจะมีระดับเชาวน์ปัญญาเช่นไรขึ้นอยู่กับพันธุกรรมของฝ่าย
พ่อและแม่เป็นสาคัญ กล่าวคือ ถ้าพ่อฉลาดแม่ฉลาด ลูกจะฉลาดเหมือน
พ่อแม่ ถ้าพ่อแม่ไม่ฉลาด ลูกจะไม่ฉลาดเหมือนพ่อแม่ จากการศึกษาของ
Terman พบว่า บุคคลที่มีความเป็นอัจฉริยะและฉลาดเป็นเลิศ มาจาก
ครอบครัวที่มีการศึกษาสูงถึง 40 % มาจากครอบครัวยากจน
ด้อยการศึกษาเพียง 7%
 พันธุ ์กรรม พันธุ์กรรมที่ได้รับกำรถ่ำยทอดสืบต่อมำจำกพ่อแม่
คนเรำจะมีเชำวน์ปัญญำดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับพันธุ์กรรม 80%
สิ่งแวดล้อม 20%
 ความสมบูรณ์ของสมองและระบบประสาท
สิ่งแวดล้อม
 สิ่งแวดล้อมที่ช่วยกระตุ้น และส่งเสริมให้บุคคลได้มีโอกำสเรียนรู้เช่น พ่อแม่ที่เอำใจใส่พูดคุยกับลูก
ลูกจะเรียนได้ดีและช่วยให้มีเชำวน์ปัญญำดี กำรให้ควำมรักและควำมอบอุ่น กำรยอมรับ กำรเลี้ยงดู
อย่ำงมีเหตุผลที่เหมำะสม มีผลต่อสุขภำพจิตดีและมีอิทธิพลต่อเชำวน์ปัญญำ เมื่อเด็กได้รับกำร
ตอบสนองควำมต้องกำรขั้นมูลฐำนดังกล่ำวแล้วเขำก็พร้อมที่จะพัฒนำควำมสำมำรถของเขำอย่ำง
เต็มที่
ถ้ำพ่อแม่เลี้ยงดูลูกแบบทนุถนอมปกป้องเหมือนไข่ในหินจะทำให้พัฒนำกำรทำงเชำวน์ปัญญำของเด็ก
ช้ำลงกำรมีหนังสือดีๆให้อ่ำนตำมควำมเหมำะสมของแต่ละวัยจะช่วยในกำรพัฒนำเชำวน์ปัญญำ
กำรท่องเที่ยว ชมสถำนที่น่ำสนใจ จะเป็นสิ่งกระตุ้นพัฒนำกำรทำงเชำวน์ปัญญำในด้ำนต่ำงๆ ช่วย
ให้เด็กรู้จักคิด สังเกตและแก้ปัญหำได้อย่ำงเหมำะสม
อายุ
 ระดับอำยุที่พัฒนำกำรของเชำวน์ปัญญำถึงขั้นสูงสุดคือระหว่ำงอำยุ
15-25 ปี เชำวน์ปัญญำเมื่อพัฒนำถึงขั้นสูงสุดจะค่อยๆเสื่อมลงตำม
วัยแต่มีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป แทบสังเกตไม่ได้ กำรเสื่อมของเชำวน์
ปัญญำในแต่ละด้ำนอำจเสื่อมเร็วและช้ำไม่เท่ำกัน
 เพศ เพศชำยมักมีควำมสำมำรถทำงด้ำนกำรคำนวณ ถนัดทำงกลไก
กำรกระทำที่ใช้ไหวพริบ และควำมรวดเร็วดีกว่ำหญิง ส่วนเพศหญิงมักมี
ควำมคล่องแคล่วในกำรใช้มือ งำนที่ต้องใช้ฝีมือ ลวดลำยที่ละเอียด กำร
ใช้ภำษำ ควำมสำมำรถทำงภำษำ ควำมจำ
 เชื้อชาติเด็กลูกผสมมักจะมีเชำวน์ปัญญำสูงกว่ำเด็กที่ไม่ใช่ลูกผสม
 ความผิดปกติทางสมอง ควำมผิดปกติทำงสมองอำจมีผล
ต่อกำรเสื่อมลงของเชำวน์ปัญญำ ก่อนเวลำอันสมควร เช่นเนื้องอกใน
สมอง ลมชัก สมองได้รับกำรกระทบกระเทือนอย่ำงรุนแรง
 Anne Anastasi (1908) สรุปถึง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมกับ
สิ่งแวดล้อมว่า
 1. พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมและพัฒนาการ
ของบุคคล
 2. พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมไม่ได้ทาหน้าที่แยกกันแบบโดดๆ แต่มี
ปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกันตลอดมาตั้งแต่ปฏิสนธิ
 3. การปฏิสัมพันธ์ของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมมีแต่เพิ่มพูนทบต้น
ขึ้นเรื่อยๆ
 4. ปฏิสัมพันธ์ของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่ซับซ้อนมากไม่
สามารถที่จะแยกได้ว่าอิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมมีสัดส่วน
หรือปริมาณอย่างละเท่าไร
ทฤษฎีเชาวน์ปัญญา (Theories of Intelligence)
นักจิตวิทยาได้ทาการศึกษาเรื่องเชาวน์ปัญญา ทาการค้นคว้า และ
ก่อตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับโครงสร้างทางสติปัญญาไว้ ที่สาคัญ ได้แก่
1. ทฤษฎีองค์ประกอบเดี่ยว (Single –Factor Theory)
2. ทฤษฎีองค์ประกอบสองตัว (Two –Factor Theory)
3. ทฤษฎีองค์ประกอบหลายตัว (Multiple Factor Theory)
4. ทฤษฎีโครงสร้างเชาวน์ปัญญา ของ Guilford
ทฤษฎีองค์ประกอบเดี่ยว (Single –Factor
Theory)
ผู้ก่อตั้งคือ Alfred Binet ชาวฝรั่งเศส เชื่อว่า เชาวน์ปัญญา คือ
ความสามารถในการคิดแบบนามธรรม เป็นผลของพันธุกรรมแต่เพียง
อย่างเดียว ดังนั้นจึงเป็นสิ่งคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลง
เชาวน์ปัญญาจึงมีลักษณะเป็นผลรวมของความสามารถต่างๆ
เป็นสมรรถภาพรวมที่นาไปใช้ในกิจกรรมต่างๆ ได้ทุกโอกาส
ทฤษฎีองค์ประกอบสองตัว (Two –Factor Theory)
ผู้ก่อตั้ง คือ Charles Spearman ชาวอังกฤษ ทฤษฎีนี้แบ่ง
เชาวน์ปัญญา ออกเป็น 2 ตัว คือ
1. G – Factor (General Factor) เป็นความสามารถพื้นฐานของ
แต่ละบุคคล เป็นความสามารถในการทางานทุกอย่าง
2. S – Factor (Specific Factor) เป็นความสามารถเฉพาะของ
แต่ละบุคคล เช่น ความสามารถทางคณิตศาสตร์ ภาษา ดนตรี ศิลปะ
หรือความคิดสร้างสรรค์
ทฤษฎีองค์ประกอบหลายตัว (Multiple Factor Theory)
 เธอร์สโตน (Thurstone ,1938) วิเคราะห์องค์ประกอบ แยก
ความสามารถต่างๆ ของมนุษย์ ออกเป็น 7 กลุ่ม เรียกว่า
ความสามารถปฐมภูมิ ได้แก่
 1. ความเข้าใจในการใช้ภาษา (verbal comprehension)
 2. ความคล่องในการใช้คา (word fluency)
 3. ความสามารถในการคิดคานวณ (number)
 4. ความสามารถในการจารูปทรงสิ่งของ (spatial)
 5. ความจา คือความสามารถที่จะระลึกสิ่งที่ท่องจาไว้
ได้ (memory)
 6. ความสามารถที่จะรับรู้สิ่งเร้าได้อย่างรวดเร็ว
(perceptual speed)
 7. ความสามารถทางการสรุปกฎเกณฑ์ทั่วไปจาก
ตัวอย่างได้ (reasoning)
ทฤษฎีโครงสร้างเชาวน์ปัญญา ของ Guilford
 Guilford เสนอว่า เชาวน์ปัญญา ประกอบด้วย 3 มิติ คือ
 มิติที่ 1 การคิด (Operations) เป็นกิจกรรมทางสมองที่เป็นการ
รวบรวมข้อมูล ข่าวสารและพยายามเข้าใจความหมาย
ประกอบด้วย
1. การรับรู้และเข้าใจ (cognition)
2. การจา (memory)
3. การคิดอเนกนัย (divergent thinking)
4. การคิดเอกนัย (convergent thinking)
5. การประเมินค่า (evaluation)
 มิติที่ 2 เนื้อหา (content) เป็นการจัดจาพวกหรือประเภทของ
ข้อมูลข่าวสาร แบ่งออกเป็น 4 พวก คือ
1. ภาพ (figural)
2. สัญลักษณ์ (symbolic)
3. ภาษา (semantic)
4. พฤติกรรม (behavioral)
 มิติที่ 3 ผลการคิด (Product) เป็นแบบต่างๆ ที่ใช้ในการคิด
ประกอบด้วย
 1. แบบหน่วย (units) คือ สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รวมตัวสมบูรณ์
 2. แบบกลุ่ม (classes) หมายถึง กลุ่มของหน่วยต่างๆที่มี
คุณสมบัติร่วมกัน
 3. แบบความสัมพันธ์ (relations)
 4. แบบระบบ (systems)
 5. แบบการแปลงรูป (transformations)
 6. แบบประยุกต์ (implications)
การวัดเชาวน์ปัญญา
 ราวปี ค.ศ. 1904 รัฐบาลฝรั่งเศสมีความคาดหวังว่าการแบ่งกลุ่ม
เด็กเรียนช้า เพื่อจัดชั้นเรียนพิเศษจะเป็นประโยชน์กับเด็กกลุ่มนี้มากกว่าที่
จะให้เรียน ในชั้นเรียนตามปกติ จึงมีการขอความร่วมมือไปยัง Alfred Binet
นักจิตวิทยาเพื่อพัฒนาแบบทดสอบ มาตราในการวัดเชาวน์ปัญญาในระยะ
เริ่มแรก เป็นการวัดสิ่งที่เด็กได้รับจากการเรียนรู้ หรือความรู้ทั่วไป (general
knowledge)
 Binet และ Simon สร้างชุดแบบสอบถามย่อย (subtest) แต่ละชนิด
ประกอบด้วยคาถามที่เด็กทั่วไปตามเกณฑ์อายุนั้น ๆ ควรที่จะทาได้
อย่างถูกต้อง
 คะแนนรวมสุดท้ายที่ได้จากการทดสอบเรียกว่า อายุสมอง (Mental
Age) เช่น อายุสมองมีคะแนนเท่ากับ 12 หมายความว่า เด็กสามารถ
ทาสิ่งต่าง ๆ (performed) ได้เท่ากับเด็กทั่วไปอายุ 12 ปี
แน่นอนว่าเด็กอ่อนจะได้คะแนนของอายุสมอง (mental age) ต่ากว่า
คะแนนที่ควรจะได้ ที่เรียกว่าอายุจริง หรืออายุตามปฏิทิน
(chronological age) ดังนั้นเด็กอ่อนจะได้คะแนนของ MA. ต่ากว่า
CA. และเด็กเก่งจะได้คะแนนของ MA. สูงกว่า CA.
The Intelligence Quotient (IQ.) คืออะไร?
 Lewis Terman แห่งมหาวิทยาลัย Stanford สหรัฐอเมริกาได้ทาการปรับปรุง
แบบทดสอบของ Binet และ Simon ในปีค.ศ. 1916 และใช้ชื่อแบบทดสอบว่า
Stanford-Binet Test แบบทดสอบนี้ได้รับการปรับปรุงอีกหลายครั้ง จนกระทั่ง
ปัจจุบันก็ยังเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย
Terman นาความคิดเรื่อง ดัชนี (Index) ของเชาวน์ปัญญาซึ่งได้รับการเสนอแนะ
มาจาก นักจิตวิทยาชาวเยอรมันชื่อ William Stern (1917-1938)
ดัชนีนี้ คือ Intelligence Quotient หรือที่นิยมเรียกย่อว่า IQ. เป็นการแสดงค่า
ของอัตราส่วน (ratio) ของอายุสมอง Mental Age (MA) กับอายุจริงนับตามวันเดือน
ปีเกิด Chronological Age (CA) ดังนี้ คือ
ไอคิว (IQ = Intelligence Quotient )
หมายถึง...ความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา
เป็ นความสามารถในการเรียนรู้ การจา
การคิดอย่างมีเหตุผล คิดวิเคราะห์ และ
การเชื่อมโยง แล้วสรุปเป็ นความหมาย
ไอคิว
 เป็นตัวเลขที่ได้จำกกำรทดสอบเชำวน์ปัญญำกับคะแนนเฉลี่ยที่คำดว่ำผู้
ถูกทดสอบสมควรจะทำได้ ตำมระดับอำยุที่แท้จริง วิธีคำนวณค่ำไอคิวใน
กำรทดสอบเชำวน์ปัญญำแต่ละแบบขึ้นอยู่กับลักษณะแบบทดสอบและ
กลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ ฉะนั้นไอคิวจะเป็นเครื่องแสดงให้ทรำบว่ำบุคคลนั้นมี
ระดับเชำวน์ปัญญำอย่ำงไรเมื่อเปรียบเทียบกับบุคคลอื่นในระดับอำยุ
เดียวกัน
 วิธีคิด ไอ.คิว.
IQ. = MA (Mental Age หรือ อายุสมอง) x 100
 CA (Chronological age หรือ อายุตามปฏิทิน)
 100 ที่นามาคูณเพื่อ IQ จะได้มีค่าเป็นจานวนเต็ม ไม่ติดทศนิยม
ถ้าน้องออย มี CA เท่ากับ 5 และมี MA เท่ากับ 5 น้องออย มี IQ
เท่ากับ 100
น้องแนน มี CA เท่ากับ 5 และมี MA เท่ากับ 7 น้องแนน มี IQ
เท่ากับ 140
น้องนัท มี CA เท่ากับ 5 และมี MA เท่ากับ 4 น้องนัท มี IQ
เท่ากับ 80
ระดับเชาวน์ปัญญา
 กำรจัดระดับเชำวน์ปัญญำเป็นเพียงกำรแสดงกำรเปรียบเทียบให้
ทรำบว่ำบุคคลหนึ่งมีควำมสำมำรถอยู่ในเกณฑ์เฉลี่ยสูงกว่ำหรือต่ำ
กว่ำระดับอำยุเมื่อเทียบกับบุคคลที่อยู่ในระดับอำยุเดียวกัน
 ระดับเชำวน์ปัญญำได้จำกคะแนนที่มำจำกกำรทดสอบเชำวน์
ปัญญำด้วยแบบทดสอบเชำวน์ปัญญำซึ่งมีอยู่หลำยชนิดเพื่อให้
เลือกใช้ตำมควำมเหมำะสมกับผู้รับกำรทดสอบ มีทั้งแบบทดสอบ
เพื่อดูควำมสำมำรถพิเศษอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งและควำมสำมำรถ
ทั่วไปหลำยๆด้ำนรวมกัน
 ผลกำรทดสอบอำจให้คะแนนเป็นตัวเลข เช่น ไอคิวหรือคะแนนที่มี
ควำมหมำยบอกระดับควำมสำมำรถ เช่น เกรด และอำยุสมอง ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับวิธีคำนวณหำค่ำที่แสดงถึงระดับเชำวน์ปัญญำซึ่งแตกต่ำง
กันไปในทำงกำรทดสอบแต่ละแบบ
 เชำวน์ปัญญำของคนเรำจะเพิ่มขึ้นตำมวัยในเรื่องของคุณภำพ
เนื่องจำกเรำมีโอกำสได้เรียนรู้กิจกรรมและแก้ไขเหตุกำรณ์ต่ำงๆทำให้มี
ประสบกำรณ์มำกขึ้น แต่เมื่อทดสอบเชำวน์ปัญญำคะแนนที่ได้เพิ่มขึ้น
จะต้องนำไปเปรียบเทียบกับอำยุที่เพิ่มขึ้นด้วย
เชาว์ปัญญากับความสาเร็จ
 การที่บุคคลจะประสบความสาเร็จในชีวิตทั้งด้านการเรียน การประกอบ
อาชีพต่างๆ
 นอกจากจะต้องมีเชาว์ปัญญาดีแล้วจะต้องอาศัยองค์ประกอบอื่นๆด้วย
เช่น
ความมุมานะพยายาม
ความอดทน
มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลทั่วไป
มีคุณธรรม มีสุขภาพจิตดี
มีพื้นฐานทางบุคลิกภาพที่มั่นคง สภาพแวดล้อมที่ช่วยส่งเสริมอย่าง
เหมาะสม ฯลฯ
เชาว์ปัญญากับการสอน
 ช่วยในกำรจัดกลุ่มตำมควำมสำมำรถของเด็กนักเรียน
 เป็นข้อมูลในกำรวำงแผนกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนให้สำเร็จ
ตำมวัตถุประสงค์ของกำรสอน
ระดับเชาวน์ปัญญากับความสามารถ
รับการศึกษา การประกอบอาชีพ
และการปรับตัว
130 ขึ้นไป ฉลาดมาก เป็นไอคิวเฉลี่ยของผู้สามารถเรียน
ในระดับปริญญาเอก
120-129 ฉลาด เป็นไอคิวเฉลี่ยของผู้สามารถเรียน
ในระดับปริญญาโท
110-119 สูงกว่าปกติ
หรือค่อนข้าง
ฉลาด
เป็นไอคิวเฉลี่ยของผู้สามารถเรียน
ในระดับปริญญาตรี หรือมีโอกาสจบ
มหาวิทยาลัยได้
90-109 ปกติหรือปาน
กลาง
เป็นไอคิวเฉลี่ยของประชากรปกติ
ส่วนใหญ่มีความสามารถปานกลางเรียนจบ
มัธยมศึกษาตอนปลายได้
80-89 ต่ากว่าปกติหรือ
ปัญญาทึบ
เชาวน์ปัญญาต่าที่สามารถรับการ
ศึกษาพิเศษสาหรับเด็กเรียนช้าๆ
70-79 ระดับเชาวน์ปัญญาก้ากึ่ง
ระหว่างปัญญาทึบกับปัญญา
อ่อน
เชาวน์ปัญญาต่าที่สามารถรับการศึกษาพิเศษสาหรับเด็กเรียนช้าๆ
และประกอบอาชีพประเภทช่างฝีมือได้
50-69 ปัญญาอ่อนเล็กน้อย มีความสามารถเทียบเท่ากับเด็กอายุ 7-10 ปี อาจพอรับรู้การศึกษา
ได้ ในระดับประถมต้น ป.1-ป.4 โดยเรียนอยู่ในชั้นเรียนพิเศษใน
โรงเรียน การศึกษาพิเศษเฉพาะ ประกอบอาชีพที่ไม่ต้องความ
รับผิดชอบสูง หรืองาน ประเภทช่างฝีมือง่ายๆ
35-49 ปัญญาอ่อนปานกลาง มีความสามารถเทียบเท่ากับเด็ก อายุ 4 -7 ปี อาจอ่านเขียนได้
เล็กน้อย แต่เรียนรู้ได้ช้า ไม่สามารถเรียน ในโรงเรียนปกติได้
ควรเรียน ในโรงเรียนการศึกษาพิเศษเฉพาะถ้าได้รับการฝึกสอนที่
เหมาะสมอาจพอดูแลตนเองในชีวิต ประจาวันได้ และทางานง่ายๆ
ภายใต้การควบคุมดูแล
20-34 ปัญญาอ่อนมาก มีความสามารถเทียบเท่ากับเด็กอายุ 3 ปี เรียนหนังสือไม่ได้ มี
ความบกพร่องเห็นได้ชัดในพฤติกรรมการปรับตัวและอาจมี
พัฒนาการบกพร่องในด้านภาษาการรับรู้ การดารงชีวิต ต้องอยู่
ภายใต้การดูแล เช่นเดียวกับเด็กเล็ก
ต่ากว่า 20
ลงไป
ปัญญาอ่อน มากที่สุด มีความสามารถเทียบเท่ากับเด็กอายุ 1-2 ปี ไม่สามารถช่วยตัวเองได้
ต้องมีผู้ให้การดูแลช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด
จำกรูปนี้จะเห็นได้ว่ำ IQ. 100 เป็ นค่าของ IQ. ปกติของคนทั่วไปอยู่ที่
กึ่งกลำงของรูปทรงกระดิ่ง
บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ได้แก่ บุคคลที่มีความจากัดอย่างชัดเจนในการ
ปฏิบัติตน (Functioning) ในปัจจุบัน ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ คือ ความสามารถทางสติปัญญา
ต่ากว่าเกณฑ์เฉลี่ยอย่างมีนัยสาคัญร่วมกับความจากัดของทักษะการปรับตัวอีกอย่างน้อย
2 ทักษะ จาก 10 ทักษะ ได้แก่ การสื่อความหมาย การดูแลตัวเอง การดารงชีวิต
ภายในบ้าน ทักษะทางสังคม/การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การรู้จักใช้ทรัพยากรในชุมชน การ
รู้จักดูแลควบคุมตนเอง การนาความรู้มาใช้ในชีวิตประจาวัน การทางาน การใช้เวลา
ว่าง การรักษาสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย ทั้งนี้ได้แสดงอาการดังกล่าวก่อนอายุ
18 ปี ซึ่งลักษณะความบกพร่องทางสติปัญญาจะแสดงอาการแบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ
 1. บกพร่องระดับเล็กน้อย - ระดับเชาวน์ปัญญา (IQ) ประมาณ 50-69
2. บกพร่องระดับปานกลาง - ระดับเชาว์ปัญญา (IQ) ประมาณ 35-49
3. บกพร่องระดับรุนแรง - ระดับเชาว์ปัญญา (IQ) ประมาณ 20-34
4. บกพร่องระดับรุนแรงมาก - ระดับเชาว์ปัญญา (IQ) ประมาณต่ากว่า 20
ลักษณะบางอย่างที่พอสังเกตได้ของบุคคลที่มีความ
บกพร่องทางสติปัญญา
 1. ศีรษะมีลักษณะแหลมเล็กหรือใหญ่ผิดปกติจนเห็น ชัดเจน
2. เส้นผม มักหยาบแข็ง ขนตามร่างกายดกผิดปกติ บางคนอาจมี ลักษณะตรงข้าม
3. หน้าผาก มักแคบผิดปกติ ผมเกือบถึงคิ้ว
4. ตา มักจะหรี่หรือเล็ก
5. หู ลักษณะ รูปหูมักผิดปกติ
6. ปาก ริมฝีปากหนา ปากแบะ มีน้าลายไหล หรือมักเป็นโรคปากนกกระจอก
7. ฟัน มักเหยิน ฟันซี่โตๆ ขึ้นไม่เป็นระเบียบ
8. ลิ้น โตผิดปกติจนดูคับปาก ทาให้พูดไม่ชัด
9. ผิวหนังมักหยาบกร้าน เป็นแผลได้ง่าย มักเป็นโรค ผิวหนัง
10. ร่างกายส่วนอื่นๆ เช่น ลาตัว แขน ขา มือ เท้าใหญ่ ผิดปกติไม่สมวัย
เชาวน์ปัญญาและการประกอบอาชีพ
ไอคิวเฉลี่ยของบุคคลในอาชีพต่างๆ
(จาก Cattell ,1971)
อาชีพ ไอ.คิว.เฉลี่ย
ศาสตราจารย์และนักวิจัย
แพทย์
นักกฎหมาย
วิศวกร
ครู
พยาบาล
เสมียน
ช่างโลหะ
ชาวนา
กรรมกรเหมืองแร่
กรรมกรห่อของในโรงงาน
134
128
128
125
123
119
112
100
96
91
85
ปัจจัยที่มีผลต่อระดับสติปัญญา
 การที่เด็กจะมีระดับสติปัญญาดีหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องมากมาย ซึ่งมีทั้งที่
เป็นปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยขัดขวางต่อการพัฒนาระดับสติปัญญา ได้แก่
ปัจจัยด้านภาวะโภชนาการ
 1. นมแม่
 ระยะเวลาการดื่มนมแม่ มีผลต่อระดับคะแนน IQ ที่สูงขึ้น เด็กที่ดื่มนมแม่นานกว่า 6 เดือน
จะมีระดับคะแนน IQ เฉลี่ยสูงกว่าเด็กที่ดื่มน้อยกว่า 3 เดือน ประมาณ 6 คะแนน และสูงกว่า
เด็กที่ไม่ดื่มนมแม่เลยประมาณ 9 คะแนน (Emend AM,2008)
 2. สารอาหาร
 ระดับไอโอดีน
- เด็กนักเรียนที่มีไอโอดีนในน้าปัสสาวะมากกว่า 100 มิลลิกรัมต่อลิตรจะมีระดับคะแนน IQ
ที่สูงกว่ากลุ่มเด็กนักเรียนที่มีระดับไอโอดีนในน้าปัสสาวะต่ากว่า 100 มิลลิกรัมต่อลิตร
- 92.4% ของนักเรียนที่มีระดับ IQ ต่า 70 คะแนน เป็นนักเรียนที่มีระดับไอโอดีนในน้า
ปัสสาวะต่ากว่า 100 มิลลิกรัมต่อลิตร
 - ผู้ที่รับประทานเกลือไม่มีไอโอดีนและดื่มนมน้อยกว่า 1 ครั้งต่อวัน มีโอกาสที่ IQ
จะอยู่ในระดับต่ากว่าปกติ (Santiago-Fernandez P, 2004)
- การเสริมไอโอดีนให้มารดาตั้งแต่ก่อนและขณะตั้งครรภ์และเสริมไอโอดีนให้เด็ก
หลังคลอดเด็กจะมีโอกาสที่ระดับ IQ มากกว่าเด็กที่ไม่ได้รับเสริมเลยประมาณ 12
คะแนน (Qian M, 2005)
 - หญิงตั้งครรภ์ที่ขาดไอโอดีน จะให้กาเนิดบุตรที่มีสติปัญญาต่ากว่าปกติ
 - ในพื้นที่ที่ขาดไอโอดีนมาก เด็กนักเรียนจะมีสติปัญญาน้อยกว่าที่ควรจะเป็น 10-
15 จุด อัตราตายของทารกจะมากกว่าปกติ ความสาเร็จในการศึกษาจะด้อยกว่า
ปกติชัดเจน (ข้อมูลจาก Unicef)
ธาตุเหล็ก กลุ่มเด็กที่มีภาวะโลหิตจางระยะแรกและได้รับการเสริมธาตุเหล็ก จะมี
ผลให้ระดับ IQ เด็กเพิ่มขึ้น เมื่ออายุมากกว่า 7 ขวบเมื่อเทียบกับเด็กที่ไม่ได้รับ
(Sachdev HPS, 2004)
 ปัจจัยจากตัวเด็ก
 1. อายุครรภ์
 เด็กมีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ โอกาสจะมีระดับ IQ ต่ากว่า เด็กที่แม่มี
อายุครรภ์ปกติถึง5.17 คะแนน (Peng Y, 2005)
 2. น้าหนักตัวแรกคลอด
 เด็กที่น้าหนักตัวแรกคลอดต่ากว่า 2,500 กรัม มีโอกาสที่จะมีการพัฒนา
สติปัญญาช้ากว่าเด็กปกติ ถึง 2.8 เท่า (Mervis CA, 1997)
 3. ภาวะหรือโรคประจาตัวต่างๆ
 ปัจจัยทางด้านภาวะหรือโรคต่างๆ มีผลต่อการพัฒนา IQ ในเด็ก โดย พบว่า
เด็กที่มีปัญหาโรคทางจิตเวชหรือมีปัญหาทางพฤติกรรมจะมีระดับ IQ ต่า
กว่าเด็กปกติ
ปัจจัยด้านครอบครัว/การเลี้ยงดู/สิ่งแวดล้อม
 1. พื้นฐานของพ่อแม่
 ระดับสติปัญญาของพ่อแม่ พ่อแม่ที่มีการศึกษาสูงมีแนวโน้มที่ลูกจะมีระดับคะแนน IQ สูงกว่า
เด็กที่แม่การศึกษาน้อยกว่า (Choudhary R, 2002)
อายุของแม่ขณะตั้งครรภ์ เด็กที่แม่ตั้งครรภ์เมื่ออายุมากกว่า 20 ปีจะมีคะแนนเฉลี่ย IQ สูงกว่า
แม่ที่ตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อยกว่า 20 ปี และระดับ IQ เฉลี่ยจะต่าลง ในกลุ่มแม่ที่ตั้งครรภ์เมื่ออายุ
มากกว่า 40 ปี(Leonard H, 2006)
สถานะทางสังคม เด็กที่ยากจนจะมีระดับคะแนนเฉลี่ย IQ ประมาณ 100 คะแนน ส่วนกลุ่มเด็ก
ที่อยู่ในสถานะทางสังคมสูงสุด พบว่าระดับคะแนนเฉลี่ย IQประมาณ 119 คะแนน (Dabbie AL,
2005)
 2. การเลี้ยงดู
 การให้เวลากับบุตรของผู้ปกครอง ผู้ปกครองที่มีเวลาให้กับบุตรมาก ทาให้มีโอกาสที่จะ
ถ่ายทอดความรัก ความอบอุ่น ความรู้ หรือเล่นกับลูกในลักษณะที่จะช่วยส่งเสริมการพัฒนา
สติปัญญาของลูกได้มาก
 3. ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมสารบางอย่างที่ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมส่งผลกระทบต่อการพัฒนา
สติปัญญา เช่น สาร ตะกั่ว สารหนูหรือ ฟลูโอไรด์
เมื่อเข ้าสู่เว็บไซด์ที่ทดสอบ IQ กรุณาทาดังนี้
1. เริ่มการทดสอบโดยการคลิกปุ่ มเพื่อเลือกภาษา
2. คลิกปุ่ ม เพื่อเริ่มทดสอบ
3. ถ ้าต ้องการไปคาถามต่อไป หรือย ้อนกับให ้คลิกที่ปุ่ ม
4. ต ้องการตรวจสอบผลให ้คลิกที่ปุ่ ม
และเลือก "Send"
5. แบบทดสอบ มีการจับเวลา โดยให ้เวลาทั้งสิ้น 40 นาที
ลองทาแบบทดสอบ ที่
http://www.iqtest.dk/main.swf
IQ Test
ความถนัด (Aptitude)
 ความถนัด หมายถึง สมรรถภาพ หรือความสามารถที่มี
อยู่ในตัวบุคคล อันเป็ นผลมาจากการฝึ กฝน และได้รับความรู ้
จากประสบการณ์ เป็ นสมรรถภาพที่ทาให้บุคคลมีแนวโน้มอัน
เหมาะแก่การทางานชนิดหนึ่งๆ ได้เป็ นอย่างดีมีประสิทธิภาพ
 ความถนัดเปรียบเสมือนเครื่องพยากรณ์ความสาเร็จในการ
กระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น นายสมชายมีความถนัดในทางดนตรี
สูง ก็หมายความว่า ถ้านายสมชายได้เรียน และฝึ กฝนในการ
เล่นดนตรีแล้ว นายสมชายจะเล่นดนตรีได้ดี เพราะนายสมชาย
มีความสามารถพิเศษหรือมีความถนัดที่จะช่วยให้เรียนดนตรีได้
ดี
ประเภทของควำมถนัด
 1. ความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude) เป็น
ควำมสำมำรถของบุคคลในกำรเรียนรู้สิ่งหนึ่งสิ่งใดได้สำเร็จ นับเป็นปัจจัยสำคัญประกำรหนึ่งที่
สำมำรถนำมำพิจำรณำในกำรเลือกแนวทำงกำรศึกษำ และอำชีพ
 2. ความถนัดเฉพาะ (Specific Aptitude) เป็นควำมสำมำรถเฉพำะ
ด้ำนของบุคคลซึ่งจะทำให้แต่ละบุคคลมีควำมถนัดที่จะทำงำนด้ำนหนึ่งๆ ได้ดีกว่ำบุคคลอื่น บุคคล
ที่มีควำมถนัดเฉพำะด้ำนนี้ หำกได้รับกำรฝึกฝนอบรมก็ย่อมประสบควำมสำเร็จในกิจกำรด้ำนนั้นๆ
ได้
ตารางแสดงลักษณะของความถนัดด้านต่าง ๆ และงานอาชีพที่
มีแนวโน้มจะประสบความสาเร็จสาหรับผู้มีความถนัดแต่ละด้าน
ความถนัด งานอาชีพที่มีแนวโน้มจะประสบความสาเร็จ
1. ควำมถนัดด้ำนภำษำ
วิทยำกรผู้ให้กำรฝึกอบรม นักกฎหมำย ทนำยควำม นักภำษำศำสตร์
นักวิจำรณ์ งำนติดต่อกับบุคคล กำรพูด กำรเขียน กำรโฆษณำ
2. ควำมถนัดด้ำนตัวเลข นักสถิติ นักบัญชี พนักงำนกำรเงิน นักกำรคลัง นักกำรธนำคำร
นักเศรษฐศำสตร์
3. ควำมถนัดด้ำนมิติสัมพันธ์
งำนวิศวกร งำนสถำปนิก นักวำงผังเมือง นักเขียนแบบ
นักออกแบบ งำนตกแต่ง
4. ควำมถนัดด้ำนควำมจำ เป็นพื้นฐำนในกำรเรียนรู้และงำนอำชีพทุกชนิด
5. ควำมถนัดด้ำนกำรสังเกต
รับรู้
งำนที่อำศัยควำมประณีต ละเอียดเพื่อกำรรับรู้ และตรวจสอบประเภท
งำนเสมียน งำนพิมพ์ งำนช่ำงประเภทต่ำงๆ
6. ควำมถนัดด้ำนเหตุผล เป็นพื้นฐำนในกำรเรียนรู้และงำนอำชีพทุกชนิด
เชาวน์ปัญญาความถนัด และผลสัมฤทธิ์ของผู้เียนน
 เชาวน์ปัญญา เป็ นความสามารถโดยรวมทางสติปัญญาของบุคคล ส่วน
ความถนัดเป็ นความสามารถเฉพาะตัวที่แสดงให้เห็นว่าบุคคลมีแนวโน้มจะ
ทาอะไรได้ดีถ้ามีโอกาสฝึ กฝน และผลสัมฤทธิ์เป็ นผลการเรียนรู ้ของบุคคล
ภายหลังจากที่เขาได้ทากิจกรรมหรือได้ผ่านกระบวนการเรียนรู ้เรื่องนั้น ๆ
ไปแล้ว
 ผลจากการวัดความถนัดจะแตกต่างจากผลของการวัดเชาวน์ปัญญา ทั้งนี้
เพราะ ค่าระดับเชาวน์ปัญญานั้นจะบอกว่า คนฉลาดหรือโง่ ส่วนผลจากการ
วัดความถนัดจะบอกว่า บุคคลคนหนึ่งมีความสามารถพิเศษในด้านใดบ้าง

 เรำสำมำรถวัดควำมถนัดของบุคคลได้ด้วยกำรใช้แบบทดสอบวัดควำมถนัด แบบทดสอบวัดควำม
ถนัดมีลักษณะคล้ำยกับแบบทดสอบวัดเชำวน์ปัญญำ แต่มักจะมีควำมลึกซึ้งมำกกว่ำ นอกจำกนั้นใน
กำรสร้ำงแบบทดสอบวัดควำมถนัดก็จะอำศัยทฤษฎีเชำวน์ปัญญำเป็นแนวทำงสำคัญ แบบทดสอบ
วัดควำมถนัดที่เป็นที่นิยมใช้แพร่หลำย ได้แก่ แบบทดสอบวัดควำมถนัดชนิดจำแนกตัวประกอบ
(Differential Aptitude Test หรือ DAT) และแบบทดสอบวัดควำมถนัดทั่วไป
(General Aptitude Test Battery หรือ GATB) เป็นต้น

More Related Content

What's hot

ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก593non
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมProud N. Boonrak
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาDekDoy Khonderm
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้านคู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้านInfluencer TH
 
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนTunggy
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงานใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงานKankamol Kunrat
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2sonsukda
 
สมองกับการเรียนรู้
สมองกับการเรียนรู้สมองกับการเรียนรู้
สมองกับการเรียนรู้Padvee Academy
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 

What's hot (20)

Jigsaw
JigsawJigsaw
Jigsaw
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสารเนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้านคู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
 
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
5 step
5 step5 step
5 step
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงานใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
สมองกับการเรียนรู้
สมองกับการเรียนรู้สมองกับการเรียนรู้
สมองกับการเรียนรู้
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 

Similar to 7

นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์nopthai
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1NusaiMath
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1pattamasatun
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Yee022
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1New Born
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11Benjarat Meechalat
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 

Similar to 7 (20)

นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 

More from SuriwiphaSriwanna (11)

Ied211
Ied211Ied211
Ied211
 
6
66
6
 
12
1212
12
 
11
1111
11
 
9
99
9
 
8
88
8
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
11
1111
11
 

7

  • 2. - Dictionary of Education ให้ความหมายว่า “เชาว์ปัญญา (Intelligence) คือ ความสามารถในการปรับตัว ให้เข้าสถานการณ์ใหม่ๆ ได้อย่างรวดเร็วและเป็น ผลสาเร็จ” - Webster’s New World Dictionary ให้นิยามคาว่า “เชาวน์ปัญญา (Intelligence) ว่า ก. ความสามารถในการเรียนรู้หรือเข้าใจ โดยผ่านประสบการณ์ทางการเรียน โดยบุคคลสามารถรับและรักษาความรู้ที่เรียนไว้ได้ เช่น เคยเรียนมานานแล้วแต่ ก็ยังจาได้ดี ข. ความสามารถในการตอบสนองอย่างรวดเร็วและถูกต้องในสถานการณ์ ใหม่ๆ โดยรู้จักใช้เหตุผลในการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความหมายของเชาวน์ปัญญา (Intelligence)
  • 3.  David Wechsler กล่าวว่า เชาวน์ปัญญา คือ ความสามารถทั้งหมดของ บุคคลในอันที่จะกระทาพฤติกรรมอย่างมีจุดมุ่งหมาย คิดอย่างมีเหตุผล และจัดการกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ  J.P. Gilford กล่าวว่า เชาวน์ปัญญามีองค์ประกอบ 3 มิติ ด้วยกัน คือ 1. วิธีการคิด 2. สิ่งที่ก่อให้เกิดเป็นความคิด เช่น ภาพ สัญลักษณ์ หรือเรื่องราวต่าง ๆ 3. ผลของความคิด สามารถดัดแปลงนาไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ  Munn กล่าวว่า เชาวน์ปัญญา คือ ความสามารถในการเรียนรู้ การจดจา สิ่งที่เรียนรู้ได้ การเรียนรู้เนื้อหาที่ซับซ้อนเพิ่มขึ้นได้ การใช้สัญลักษณ์ได้ อย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพ
  • 4. เชาวน์ปัญญาคืออะไร ?  คำว่ำเชำวน์ปัญญำมีผู้เรียกแตกต่ำงกันไปเช่น ภูมิปัญญำ สติปัญญำหรือไอคิว (I.Q.)  เชาวน์ปัญญา หมำยถึง ควำมสำมำรถของบุคคลในกำรเรียนรู้ กำรปรับตัวต่อปัญหำอย่ำงเหมำะสมและ ควำมสำมำรถในอันที่จะทำกิจกรรมต่ำงๆได้อย่ำงมีจุดมุ่งหมำยและมีคุณค่ำทำงสังคม สำมำรถ คิดอย่ำงมีเหตุผลสำมำรถปรับตัวเข้ำกับสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่ำงมีประสิทธิภำพ
  • 5.  Charles Spearman กล่าวถึง เชาวน์ปัญญา ซึ่งประกอบด้วย 2 โครงสร้าง คือ 1. ความสามารถทั่วไป เช่น เข้าใจความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ การวางแผนและการคิดอย่างมีเหตุผล 2. ความสามารถพิเศษ เช่น ความสามารถด้านกีฬา ศิลปะ ดนตรี ปี 1927 Spearman กล่าวว่าองค์ประกอบทั่วไปของเชาวน์ปัญญา เรียกว่า g หรือ g-factor เป็นความคิดแฝงที่อยู่ภายใต้การกระทาทุก ชนิดที่บ่งบอกลักษณะของเชาวน์ปัญญา และ g-factor คือสิ่งที่ถูกวัดโดย แบบทดสอบทางเชาวน์ปัญญา
  • 6.  Jean Piaget กล่าวว่า เชาวน์ปัญญา หมายถึง การที่บุคคล สามารถปรับตัวและแก้ปัญหาในสิ่งแวดล้อมรอบตัวเองได้  Alfred Binet อธิบายว่า เชาวน์ปัญญาคือการตัดสินใจที่ดี มี ความรวดเร็วและถูกต้อง สามารถพิจารณาตนเอง และมี ความสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม คิดอย่างมีเหตุผล และกระทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยความฉลาด  Lewis Terman ให้ความหมายของเชาว์ปัญญาว่า เป็น ความสามารถในการคิดเกี่ยวกับนามธรรมของแต่ละบุคคล
  • 7. George D. Stoddrd ได้ให้ความหมายว่า เชาว์ปัญญา คือ ความสามารถที่จะเข้าใจและทากิจกรรมที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ คือ 1.กิจกรรมที่ยาก (Difficulty) 2.กิจกรรมที่สลับซับซ้อน (Complexity) 3.กิจกรรมที่ลักษณะเป็นนามธรรม (Abstractness) 4.กิจกรรมที่ต้องการความประหยัด (Economy) 5.กิจกรรมที่นาไปสู่ความมุ่งหมาย (Addictiveness to a Goal) 6.กิจกรรมที่มีคุณประโยชน์ต่อสังคม (Social Value) 7.กิจกรรมที่ต้องใช้สมาธิ และความอดทนและความตั้งใจอย่างมาก
  • 8. Howard Gardner (1983)  กล่าวถึง เชาวน์ปัญญา 8 ชนิด แม้ว่าแต่ละชนิดต่างเป็นอิสระ ไม่ต้องอาศัยอย่างอื่นประกอบ แต่โดยทั่วไปแล้ว กิจกรรมต่าง ๆ จะประกอบด้วยส่วนของเชาวน์ปัญญาเหล่านี้ร่วมกัน คือ 1. เชาวน์ปัญญาทางด้านดนตรี (Musical intelligence) ได้แก่ ทักษะที่เกี่ยวข้องกับการดนตรี 2. เชาวน์ปัญญาที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย (Bodily kinesthetic intelligence) ได้แก่ทักษะที่ใช้ส่วนต่างๆ ของ ร่างกายในการแสดง หรือแก้ไขปัญหาเช่น นักกรีฑา นักแสดง นักเต้นรา และ ศัลยแพทย์
  • 9.  3. เชาวน์ปัญญาในด้านตรรกกะ และการคานวณ (Logical and mathematic intelligence) ได้แก่ทักษะในการใช้เหตุและผล รวมทั้ง การคิดคานวณ และความคิดเชิงวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหา 4. เชาวน์ปัญญาทางด้านการใช้ภาษา (Linguistic intelligence) ได้แก่ ทักษะซึ่งเป็นผลจากการใช้ภาษา 5. เชาวน์ปัญญาเกี่ยวกับมิติสัมพันธ์ (Spatial intelligence) ได้แก่ ทักษะที่ใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้าง รูปพรรณสัณฐาน องค์ประกอบ มักพบในกลุ่มที่เป็นศิลปิน หรือสถาปนิก
  • 10.  6. เชาวน์ปัญญาเชิงปฏิสัมพันธ์ (Interpersonal intelligence) ได้แก่ ทักษะที่ใช้ในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่นมีความไวใน การรับหรือส่งอารมณ์ ความรู้สึก แรงจูงใจ หรือมีความเข้าใจใน ผู้อื่น ข้อนี้น่าจะคล้ายกับเรื่องของ EQ. 7. เชาวน์ปัญญาในด้านความรู้ความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับตนเอง (Intrapersonal intelligence)ได้แก่ความเข้าใจถึงอารมณ์ ความรู้สึกที่ตนเองมีอยู่  8. เชาวน์ปัญญาในด้านความเข้าใจธรรมชาติ (Naturalistic) เรียนรู้ที่จะอยู่และเข้าใจธรรมชาติ เช่น การศึกษาต้นไม้ การใช้ ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ การเดินบนหญ้า การกอดต้นไม้ หรือ สัตว์เลี้ยง
  • 11.  Sternberg และคณะ (1981) กล่าวถึง เชาวน์ปัญญา (intelligence) ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ คือ 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา (problem solving ability) ด้วย หลักเกณฑ์ที่มีเหตุและผล 2. มีความคิดที่แสดงความสามารถในเชิงภาษา การติดต่อสื่อสารด้วย คาพูดและวาจา 3. มีความสามารถทางสังคม มีความสนใจผู้อื่น และสามารถสร้าง ปฏิสัมพันธ์ต่อกันอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 12.  McNemar แห่งมหาวิทยาลัย Stanford สหรัฐอเมริกา สรุป ความหมายของ เชาวน์ปัญญาที่นักจิตวิทยาต่างๆเน้น ออกเป็น 4 กลุ่ม คือ  กลุ่ม 1 เป็นความสามารถในการปรับตัว(Adaptability)ให้เข้ากับ สิ่งแวดล้อม คนที่มีเชาวน์ปัญญาสูงจะปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ ดีกว่าคนที่มีเชาวน์ปัญญาต่า  กลุ่มที่ 2 ความสามารถในการแก้ปัญหา (Problem Solving) บุคคลที่ มีเชาวน์ปัญญาสูงจะมีความสามารถในการแก้ปัญหาได้ดีกว่าบุคคลที่ มีเชาวน์ปัญญาต่า
  • 13.  กลุ่มที่ 3 เชาวน์ปัญญา คือ ความสามารถในการคิดแบบ นามธรรม การทาความเข้าใจกับสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางภาษาและ คณิตศาสตร์ จะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพถ้าบุคคลมีเชาวน์ ปัญญาอยู่ในระดับสูง  กลุ่มที่ 4 เชาวน์ปัญญา คือ ความสามารถในการเรียนรู้ คนที่มี เชาวน์ปัญญาสูงจะเรียนรู้ได้เร็วกว่าคนที่มีเชาวน์ปัญญาต่า
  • 15. พันธุกรรมกับเชาวน์ปัญญา  เชาวน์ปัญญาเป็นคุณสมบัติที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ ซึ่งเป็นรากฐานสาคัญแห่งความสาเร็จต่าง ๆ ดังนั้นการที่บุคคลใดจะมี โอกาสประสบความสาเร็จมากน้อยเพียงไรจึงขึ้นอยู่กับระดับเชาวน์ปัญญา เป็นอันดับแรก ส่วนสิ่งแวดล้อมจะเป็นปัจจัยช่วยส่งเสริมเชาวน์ปัญญาที่ บุคคลมีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสมบูรณ์ยิ่งขึ้น  การที่เด็กจะมีระดับเชาวน์ปัญญาเช่นไรขึ้นอยู่กับพันธุกรรมของฝ่าย พ่อและแม่เป็นสาคัญ กล่าวคือ ถ้าพ่อฉลาดแม่ฉลาด ลูกจะฉลาดเหมือน พ่อแม่ ถ้าพ่อแม่ไม่ฉลาด ลูกจะไม่ฉลาดเหมือนพ่อแม่ จากการศึกษาของ Terman พบว่า บุคคลที่มีความเป็นอัจฉริยะและฉลาดเป็นเลิศ มาจาก ครอบครัวที่มีการศึกษาสูงถึง 40 % มาจากครอบครัวยากจน ด้อยการศึกษาเพียง 7%
  • 16.  พันธุ ์กรรม พันธุ์กรรมที่ได้รับกำรถ่ำยทอดสืบต่อมำจำกพ่อแม่ คนเรำจะมีเชำวน์ปัญญำดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับพันธุ์กรรม 80% สิ่งแวดล้อม 20%  ความสมบูรณ์ของสมองและระบบประสาท
  • 17. สิ่งแวดล้อม  สิ่งแวดล้อมที่ช่วยกระตุ้น และส่งเสริมให้บุคคลได้มีโอกำสเรียนรู้เช่น พ่อแม่ที่เอำใจใส่พูดคุยกับลูก ลูกจะเรียนได้ดีและช่วยให้มีเชำวน์ปัญญำดี กำรให้ควำมรักและควำมอบอุ่น กำรยอมรับ กำรเลี้ยงดู อย่ำงมีเหตุผลที่เหมำะสม มีผลต่อสุขภำพจิตดีและมีอิทธิพลต่อเชำวน์ปัญญำ เมื่อเด็กได้รับกำร ตอบสนองควำมต้องกำรขั้นมูลฐำนดังกล่ำวแล้วเขำก็พร้อมที่จะพัฒนำควำมสำมำรถของเขำอย่ำง เต็มที่ ถ้ำพ่อแม่เลี้ยงดูลูกแบบทนุถนอมปกป้องเหมือนไข่ในหินจะทำให้พัฒนำกำรทำงเชำวน์ปัญญำของเด็ก ช้ำลงกำรมีหนังสือดีๆให้อ่ำนตำมควำมเหมำะสมของแต่ละวัยจะช่วยในกำรพัฒนำเชำวน์ปัญญำ กำรท่องเที่ยว ชมสถำนที่น่ำสนใจ จะเป็นสิ่งกระตุ้นพัฒนำกำรทำงเชำวน์ปัญญำในด้ำนต่ำงๆ ช่วย ให้เด็กรู้จักคิด สังเกตและแก้ปัญหำได้อย่ำงเหมำะสม
  • 18. อายุ  ระดับอำยุที่พัฒนำกำรของเชำวน์ปัญญำถึงขั้นสูงสุดคือระหว่ำงอำยุ 15-25 ปี เชำวน์ปัญญำเมื่อพัฒนำถึงขั้นสูงสุดจะค่อยๆเสื่อมลงตำม วัยแต่มีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป แทบสังเกตไม่ได้ กำรเสื่อมของเชำวน์ ปัญญำในแต่ละด้ำนอำจเสื่อมเร็วและช้ำไม่เท่ำกัน
  • 19.  เพศ เพศชำยมักมีควำมสำมำรถทำงด้ำนกำรคำนวณ ถนัดทำงกลไก กำรกระทำที่ใช้ไหวพริบ และควำมรวดเร็วดีกว่ำหญิง ส่วนเพศหญิงมักมี ควำมคล่องแคล่วในกำรใช้มือ งำนที่ต้องใช้ฝีมือ ลวดลำยที่ละเอียด กำร ใช้ภำษำ ควำมสำมำรถทำงภำษำ ควำมจำ  เชื้อชาติเด็กลูกผสมมักจะมีเชำวน์ปัญญำสูงกว่ำเด็กที่ไม่ใช่ลูกผสม
  • 20.  ความผิดปกติทางสมอง ควำมผิดปกติทำงสมองอำจมีผล ต่อกำรเสื่อมลงของเชำวน์ปัญญำ ก่อนเวลำอันสมควร เช่นเนื้องอกใน สมอง ลมชัก สมองได้รับกำรกระทบกระเทือนอย่ำงรุนแรง
  • 21.  Anne Anastasi (1908) สรุปถึง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมกับ สิ่งแวดล้อมว่า  1. พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมและพัฒนาการ ของบุคคล  2. พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมไม่ได้ทาหน้าที่แยกกันแบบโดดๆ แต่มี ปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกันตลอดมาตั้งแต่ปฏิสนธิ  3. การปฏิสัมพันธ์ของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมมีแต่เพิ่มพูนทบต้น ขึ้นเรื่อยๆ  4. ปฏิสัมพันธ์ของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่ซับซ้อนมากไม่ สามารถที่จะแยกได้ว่าอิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมมีสัดส่วน หรือปริมาณอย่างละเท่าไร
  • 22. ทฤษฎีเชาวน์ปัญญา (Theories of Intelligence) นักจิตวิทยาได้ทาการศึกษาเรื่องเชาวน์ปัญญา ทาการค้นคว้า และ ก่อตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับโครงสร้างทางสติปัญญาไว้ ที่สาคัญ ได้แก่ 1. ทฤษฎีองค์ประกอบเดี่ยว (Single –Factor Theory) 2. ทฤษฎีองค์ประกอบสองตัว (Two –Factor Theory) 3. ทฤษฎีองค์ประกอบหลายตัว (Multiple Factor Theory) 4. ทฤษฎีโครงสร้างเชาวน์ปัญญา ของ Guilford
  • 23. ทฤษฎีองค์ประกอบเดี่ยว (Single –Factor Theory) ผู้ก่อตั้งคือ Alfred Binet ชาวฝรั่งเศส เชื่อว่า เชาวน์ปัญญา คือ ความสามารถในการคิดแบบนามธรรม เป็นผลของพันธุกรรมแต่เพียง อย่างเดียว ดังนั้นจึงเป็นสิ่งคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลง เชาวน์ปัญญาจึงมีลักษณะเป็นผลรวมของความสามารถต่างๆ เป็นสมรรถภาพรวมที่นาไปใช้ในกิจกรรมต่างๆ ได้ทุกโอกาส
  • 24. ทฤษฎีองค์ประกอบสองตัว (Two –Factor Theory) ผู้ก่อตั้ง คือ Charles Spearman ชาวอังกฤษ ทฤษฎีนี้แบ่ง เชาวน์ปัญญา ออกเป็น 2 ตัว คือ 1. G – Factor (General Factor) เป็นความสามารถพื้นฐานของ แต่ละบุคคล เป็นความสามารถในการทางานทุกอย่าง 2. S – Factor (Specific Factor) เป็นความสามารถเฉพาะของ แต่ละบุคคล เช่น ความสามารถทางคณิตศาสตร์ ภาษา ดนตรี ศิลปะ หรือความคิดสร้างสรรค์
  • 25. ทฤษฎีองค์ประกอบหลายตัว (Multiple Factor Theory)  เธอร์สโตน (Thurstone ,1938) วิเคราะห์องค์ประกอบ แยก ความสามารถต่างๆ ของมนุษย์ ออกเป็น 7 กลุ่ม เรียกว่า ความสามารถปฐมภูมิ ได้แก่  1. ความเข้าใจในการใช้ภาษา (verbal comprehension)  2. ความคล่องในการใช้คา (word fluency)  3. ความสามารถในการคิดคานวณ (number)
  • 26.  4. ความสามารถในการจารูปทรงสิ่งของ (spatial)  5. ความจา คือความสามารถที่จะระลึกสิ่งที่ท่องจาไว้ ได้ (memory)  6. ความสามารถที่จะรับรู้สิ่งเร้าได้อย่างรวดเร็ว (perceptual speed)  7. ความสามารถทางการสรุปกฎเกณฑ์ทั่วไปจาก ตัวอย่างได้ (reasoning)
  • 27. ทฤษฎีโครงสร้างเชาวน์ปัญญา ของ Guilford  Guilford เสนอว่า เชาวน์ปัญญา ประกอบด้วย 3 มิติ คือ  มิติที่ 1 การคิด (Operations) เป็นกิจกรรมทางสมองที่เป็นการ รวบรวมข้อมูล ข่าวสารและพยายามเข้าใจความหมาย ประกอบด้วย 1. การรับรู้และเข้าใจ (cognition) 2. การจา (memory) 3. การคิดอเนกนัย (divergent thinking) 4. การคิดเอกนัย (convergent thinking) 5. การประเมินค่า (evaluation)
  • 28.  มิติที่ 2 เนื้อหา (content) เป็นการจัดจาพวกหรือประเภทของ ข้อมูลข่าวสาร แบ่งออกเป็น 4 พวก คือ 1. ภาพ (figural) 2. สัญลักษณ์ (symbolic) 3. ภาษา (semantic) 4. พฤติกรรม (behavioral)
  • 29.  มิติที่ 3 ผลการคิด (Product) เป็นแบบต่างๆ ที่ใช้ในการคิด ประกอบด้วย  1. แบบหน่วย (units) คือ สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รวมตัวสมบูรณ์  2. แบบกลุ่ม (classes) หมายถึง กลุ่มของหน่วยต่างๆที่มี คุณสมบัติร่วมกัน  3. แบบความสัมพันธ์ (relations)  4. แบบระบบ (systems)  5. แบบการแปลงรูป (transformations)  6. แบบประยุกต์ (implications)
  • 30. การวัดเชาวน์ปัญญา  ราวปี ค.ศ. 1904 รัฐบาลฝรั่งเศสมีความคาดหวังว่าการแบ่งกลุ่ม เด็กเรียนช้า เพื่อจัดชั้นเรียนพิเศษจะเป็นประโยชน์กับเด็กกลุ่มนี้มากกว่าที่ จะให้เรียน ในชั้นเรียนตามปกติ จึงมีการขอความร่วมมือไปยัง Alfred Binet นักจิตวิทยาเพื่อพัฒนาแบบทดสอบ มาตราในการวัดเชาวน์ปัญญาในระยะ เริ่มแรก เป็นการวัดสิ่งที่เด็กได้รับจากการเรียนรู้ หรือความรู้ทั่วไป (general knowledge)
  • 31.  Binet และ Simon สร้างชุดแบบสอบถามย่อย (subtest) แต่ละชนิด ประกอบด้วยคาถามที่เด็กทั่วไปตามเกณฑ์อายุนั้น ๆ ควรที่จะทาได้ อย่างถูกต้อง  คะแนนรวมสุดท้ายที่ได้จากการทดสอบเรียกว่า อายุสมอง (Mental Age) เช่น อายุสมองมีคะแนนเท่ากับ 12 หมายความว่า เด็กสามารถ ทาสิ่งต่าง ๆ (performed) ได้เท่ากับเด็กทั่วไปอายุ 12 ปี แน่นอนว่าเด็กอ่อนจะได้คะแนนของอายุสมอง (mental age) ต่ากว่า คะแนนที่ควรจะได้ ที่เรียกว่าอายุจริง หรืออายุตามปฏิทิน (chronological age) ดังนั้นเด็กอ่อนจะได้คะแนนของ MA. ต่ากว่า CA. และเด็กเก่งจะได้คะแนนของ MA. สูงกว่า CA.
  • 32. The Intelligence Quotient (IQ.) คืออะไร?  Lewis Terman แห่งมหาวิทยาลัย Stanford สหรัฐอเมริกาได้ทาการปรับปรุง แบบทดสอบของ Binet และ Simon ในปีค.ศ. 1916 และใช้ชื่อแบบทดสอบว่า Stanford-Binet Test แบบทดสอบนี้ได้รับการปรับปรุงอีกหลายครั้ง จนกระทั่ง ปัจจุบันก็ยังเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย Terman นาความคิดเรื่อง ดัชนี (Index) ของเชาวน์ปัญญาซึ่งได้รับการเสนอแนะ มาจาก นักจิตวิทยาชาวเยอรมันชื่อ William Stern (1917-1938) ดัชนีนี้ คือ Intelligence Quotient หรือที่นิยมเรียกย่อว่า IQ. เป็นการแสดงค่า ของอัตราส่วน (ratio) ของอายุสมอง Mental Age (MA) กับอายุจริงนับตามวันเดือน ปีเกิด Chronological Age (CA) ดังนี้ คือ
  • 33. ไอคิว (IQ = Intelligence Quotient ) หมายถึง...ความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา เป็ นความสามารถในการเรียนรู้ การจา การคิดอย่างมีเหตุผล คิดวิเคราะห์ และ การเชื่อมโยง แล้วสรุปเป็ นความหมาย
  • 34. ไอคิว  เป็นตัวเลขที่ได้จำกกำรทดสอบเชำวน์ปัญญำกับคะแนนเฉลี่ยที่คำดว่ำผู้ ถูกทดสอบสมควรจะทำได้ ตำมระดับอำยุที่แท้จริง วิธีคำนวณค่ำไอคิวใน กำรทดสอบเชำวน์ปัญญำแต่ละแบบขึ้นอยู่กับลักษณะแบบทดสอบและ กลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ ฉะนั้นไอคิวจะเป็นเครื่องแสดงให้ทรำบว่ำบุคคลนั้นมี ระดับเชำวน์ปัญญำอย่ำงไรเมื่อเปรียบเทียบกับบุคคลอื่นในระดับอำยุ เดียวกัน
  • 35.  วิธีคิด ไอ.คิว. IQ. = MA (Mental Age หรือ อายุสมอง) x 100  CA (Chronological age หรือ อายุตามปฏิทิน)  100 ที่นามาคูณเพื่อ IQ จะได้มีค่าเป็นจานวนเต็ม ไม่ติดทศนิยม ถ้าน้องออย มี CA เท่ากับ 5 และมี MA เท่ากับ 5 น้องออย มี IQ เท่ากับ 100 น้องแนน มี CA เท่ากับ 5 และมี MA เท่ากับ 7 น้องแนน มี IQ เท่ากับ 140 น้องนัท มี CA เท่ากับ 5 และมี MA เท่ากับ 4 น้องนัท มี IQ เท่ากับ 80
  • 38.  ผลกำรทดสอบอำจให้คะแนนเป็นตัวเลข เช่น ไอคิวหรือคะแนนที่มี ควำมหมำยบอกระดับควำมสำมำรถ เช่น เกรด และอำยุสมอง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับวิธีคำนวณหำค่ำที่แสดงถึงระดับเชำวน์ปัญญำซึ่งแตกต่ำง กันไปในทำงกำรทดสอบแต่ละแบบ
  • 40. เชาว์ปัญญากับความสาเร็จ  การที่บุคคลจะประสบความสาเร็จในชีวิตทั้งด้านการเรียน การประกอบ อาชีพต่างๆ  นอกจากจะต้องมีเชาว์ปัญญาดีแล้วจะต้องอาศัยองค์ประกอบอื่นๆด้วย เช่น ความมุมานะพยายาม ความอดทน มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลทั่วไป มีคุณธรรม มีสุขภาพจิตดี มีพื้นฐานทางบุคลิกภาพที่มั่นคง สภาพแวดล้อมที่ช่วยส่งเสริมอย่าง เหมาะสม ฯลฯ
  • 43. 130 ขึ้นไป ฉลาดมาก เป็นไอคิวเฉลี่ยของผู้สามารถเรียน ในระดับปริญญาเอก 120-129 ฉลาด เป็นไอคิวเฉลี่ยของผู้สามารถเรียน ในระดับปริญญาโท 110-119 สูงกว่าปกติ หรือค่อนข้าง ฉลาด เป็นไอคิวเฉลี่ยของผู้สามารถเรียน ในระดับปริญญาตรี หรือมีโอกาสจบ มหาวิทยาลัยได้ 90-109 ปกติหรือปาน กลาง เป็นไอคิวเฉลี่ยของประชากรปกติ ส่วนใหญ่มีความสามารถปานกลางเรียนจบ มัธยมศึกษาตอนปลายได้ 80-89 ต่ากว่าปกติหรือ ปัญญาทึบ เชาวน์ปัญญาต่าที่สามารถรับการ ศึกษาพิเศษสาหรับเด็กเรียนช้าๆ
  • 44. 70-79 ระดับเชาวน์ปัญญาก้ากึ่ง ระหว่างปัญญาทึบกับปัญญา อ่อน เชาวน์ปัญญาต่าที่สามารถรับการศึกษาพิเศษสาหรับเด็กเรียนช้าๆ และประกอบอาชีพประเภทช่างฝีมือได้ 50-69 ปัญญาอ่อนเล็กน้อย มีความสามารถเทียบเท่ากับเด็กอายุ 7-10 ปี อาจพอรับรู้การศึกษา ได้ ในระดับประถมต้น ป.1-ป.4 โดยเรียนอยู่ในชั้นเรียนพิเศษใน โรงเรียน การศึกษาพิเศษเฉพาะ ประกอบอาชีพที่ไม่ต้องความ รับผิดชอบสูง หรืองาน ประเภทช่างฝีมือง่ายๆ 35-49 ปัญญาอ่อนปานกลาง มีความสามารถเทียบเท่ากับเด็ก อายุ 4 -7 ปี อาจอ่านเขียนได้ เล็กน้อย แต่เรียนรู้ได้ช้า ไม่สามารถเรียน ในโรงเรียนปกติได้ ควรเรียน ในโรงเรียนการศึกษาพิเศษเฉพาะถ้าได้รับการฝึกสอนที่ เหมาะสมอาจพอดูแลตนเองในชีวิต ประจาวันได้ และทางานง่ายๆ ภายใต้การควบคุมดูแล 20-34 ปัญญาอ่อนมาก มีความสามารถเทียบเท่ากับเด็กอายุ 3 ปี เรียนหนังสือไม่ได้ มี ความบกพร่องเห็นได้ชัดในพฤติกรรมการปรับตัวและอาจมี พัฒนาการบกพร่องในด้านภาษาการรับรู้ การดารงชีวิต ต้องอยู่ ภายใต้การดูแล เช่นเดียวกับเด็กเล็ก ต่ากว่า 20 ลงไป ปัญญาอ่อน มากที่สุด มีความสามารถเทียบเท่ากับเด็กอายุ 1-2 ปี ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ ต้องมีผู้ให้การดูแลช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด
  • 45. จำกรูปนี้จะเห็นได้ว่ำ IQ. 100 เป็ นค่าของ IQ. ปกติของคนทั่วไปอยู่ที่ กึ่งกลำงของรูปทรงกระดิ่ง
  • 46. บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา  บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ได้แก่ บุคคลที่มีความจากัดอย่างชัดเจนในการ ปฏิบัติตน (Functioning) ในปัจจุบัน ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ คือ ความสามารถทางสติปัญญา ต่ากว่าเกณฑ์เฉลี่ยอย่างมีนัยสาคัญร่วมกับความจากัดของทักษะการปรับตัวอีกอย่างน้อย 2 ทักษะ จาก 10 ทักษะ ได้แก่ การสื่อความหมาย การดูแลตัวเอง การดารงชีวิต ภายในบ้าน ทักษะทางสังคม/การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การรู้จักใช้ทรัพยากรในชุมชน การ รู้จักดูแลควบคุมตนเอง การนาความรู้มาใช้ในชีวิตประจาวัน การทางาน การใช้เวลา ว่าง การรักษาสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย ทั้งนี้ได้แสดงอาการดังกล่าวก่อนอายุ 18 ปี ซึ่งลักษณะความบกพร่องทางสติปัญญาจะแสดงอาการแบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ  1. บกพร่องระดับเล็กน้อย - ระดับเชาวน์ปัญญา (IQ) ประมาณ 50-69 2. บกพร่องระดับปานกลาง - ระดับเชาว์ปัญญา (IQ) ประมาณ 35-49 3. บกพร่องระดับรุนแรง - ระดับเชาว์ปัญญา (IQ) ประมาณ 20-34 4. บกพร่องระดับรุนแรงมาก - ระดับเชาว์ปัญญา (IQ) ประมาณต่ากว่า 20
  • 47. ลักษณะบางอย่างที่พอสังเกตได้ของบุคคลที่มีความ บกพร่องทางสติปัญญา  1. ศีรษะมีลักษณะแหลมเล็กหรือใหญ่ผิดปกติจนเห็น ชัดเจน 2. เส้นผม มักหยาบแข็ง ขนตามร่างกายดกผิดปกติ บางคนอาจมี ลักษณะตรงข้าม 3. หน้าผาก มักแคบผิดปกติ ผมเกือบถึงคิ้ว 4. ตา มักจะหรี่หรือเล็ก 5. หู ลักษณะ รูปหูมักผิดปกติ 6. ปาก ริมฝีปากหนา ปากแบะ มีน้าลายไหล หรือมักเป็นโรคปากนกกระจอก 7. ฟัน มักเหยิน ฟันซี่โตๆ ขึ้นไม่เป็นระเบียบ 8. ลิ้น โตผิดปกติจนดูคับปาก ทาให้พูดไม่ชัด 9. ผิวหนังมักหยาบกร้าน เป็นแผลได้ง่าย มักเป็นโรค ผิวหนัง 10. ร่างกายส่วนอื่นๆ เช่น ลาตัว แขน ขา มือ เท้าใหญ่ ผิดปกติไม่สมวัย
  • 49. ไอคิวเฉลี่ยของบุคคลในอาชีพต่างๆ (จาก Cattell ,1971) อาชีพ ไอ.คิว.เฉลี่ย ศาสตราจารย์และนักวิจัย แพทย์ นักกฎหมาย วิศวกร ครู พยาบาล เสมียน ช่างโลหะ ชาวนา กรรมกรเหมืองแร่ กรรมกรห่อของในโรงงาน 134 128 128 125 123 119 112 100 96 91 85
  • 50. ปัจจัยที่มีผลต่อระดับสติปัญญา  การที่เด็กจะมีระดับสติปัญญาดีหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องมากมาย ซึ่งมีทั้งที่ เป็นปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยขัดขวางต่อการพัฒนาระดับสติปัญญา ได้แก่ ปัจจัยด้านภาวะโภชนาการ  1. นมแม่  ระยะเวลาการดื่มนมแม่ มีผลต่อระดับคะแนน IQ ที่สูงขึ้น เด็กที่ดื่มนมแม่นานกว่า 6 เดือน จะมีระดับคะแนน IQ เฉลี่ยสูงกว่าเด็กที่ดื่มน้อยกว่า 3 เดือน ประมาณ 6 คะแนน และสูงกว่า เด็กที่ไม่ดื่มนมแม่เลยประมาณ 9 คะแนน (Emend AM,2008)  2. สารอาหาร  ระดับไอโอดีน - เด็กนักเรียนที่มีไอโอดีนในน้าปัสสาวะมากกว่า 100 มิลลิกรัมต่อลิตรจะมีระดับคะแนน IQ ที่สูงกว่ากลุ่มเด็กนักเรียนที่มีระดับไอโอดีนในน้าปัสสาวะต่ากว่า 100 มิลลิกรัมต่อลิตร - 92.4% ของนักเรียนที่มีระดับ IQ ต่า 70 คะแนน เป็นนักเรียนที่มีระดับไอโอดีนในน้า ปัสสาวะต่ากว่า 100 มิลลิกรัมต่อลิตร
  • 51.  - ผู้ที่รับประทานเกลือไม่มีไอโอดีนและดื่มนมน้อยกว่า 1 ครั้งต่อวัน มีโอกาสที่ IQ จะอยู่ในระดับต่ากว่าปกติ (Santiago-Fernandez P, 2004) - การเสริมไอโอดีนให้มารดาตั้งแต่ก่อนและขณะตั้งครรภ์และเสริมไอโอดีนให้เด็ก หลังคลอดเด็กจะมีโอกาสที่ระดับ IQ มากกว่าเด็กที่ไม่ได้รับเสริมเลยประมาณ 12 คะแนน (Qian M, 2005)  - หญิงตั้งครรภ์ที่ขาดไอโอดีน จะให้กาเนิดบุตรที่มีสติปัญญาต่ากว่าปกติ  - ในพื้นที่ที่ขาดไอโอดีนมาก เด็กนักเรียนจะมีสติปัญญาน้อยกว่าที่ควรจะเป็น 10- 15 จุด อัตราตายของทารกจะมากกว่าปกติ ความสาเร็จในการศึกษาจะด้อยกว่า ปกติชัดเจน (ข้อมูลจาก Unicef) ธาตุเหล็ก กลุ่มเด็กที่มีภาวะโลหิตจางระยะแรกและได้รับการเสริมธาตุเหล็ก จะมี ผลให้ระดับ IQ เด็กเพิ่มขึ้น เมื่ออายุมากกว่า 7 ขวบเมื่อเทียบกับเด็กที่ไม่ได้รับ (Sachdev HPS, 2004)
  • 52.  ปัจจัยจากตัวเด็ก  1. อายุครรภ์  เด็กมีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ โอกาสจะมีระดับ IQ ต่ากว่า เด็กที่แม่มี อายุครรภ์ปกติถึง5.17 คะแนน (Peng Y, 2005)  2. น้าหนักตัวแรกคลอด  เด็กที่น้าหนักตัวแรกคลอดต่ากว่า 2,500 กรัม มีโอกาสที่จะมีการพัฒนา สติปัญญาช้ากว่าเด็กปกติ ถึง 2.8 เท่า (Mervis CA, 1997)  3. ภาวะหรือโรคประจาตัวต่างๆ  ปัจจัยทางด้านภาวะหรือโรคต่างๆ มีผลต่อการพัฒนา IQ ในเด็ก โดย พบว่า เด็กที่มีปัญหาโรคทางจิตเวชหรือมีปัญหาทางพฤติกรรมจะมีระดับ IQ ต่า กว่าเด็กปกติ
  • 53. ปัจจัยด้านครอบครัว/การเลี้ยงดู/สิ่งแวดล้อม  1. พื้นฐานของพ่อแม่  ระดับสติปัญญาของพ่อแม่ พ่อแม่ที่มีการศึกษาสูงมีแนวโน้มที่ลูกจะมีระดับคะแนน IQ สูงกว่า เด็กที่แม่การศึกษาน้อยกว่า (Choudhary R, 2002) อายุของแม่ขณะตั้งครรภ์ เด็กที่แม่ตั้งครรภ์เมื่ออายุมากกว่า 20 ปีจะมีคะแนนเฉลี่ย IQ สูงกว่า แม่ที่ตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อยกว่า 20 ปี และระดับ IQ เฉลี่ยจะต่าลง ในกลุ่มแม่ที่ตั้งครรภ์เมื่ออายุ มากกว่า 40 ปี(Leonard H, 2006) สถานะทางสังคม เด็กที่ยากจนจะมีระดับคะแนนเฉลี่ย IQ ประมาณ 100 คะแนน ส่วนกลุ่มเด็ก ที่อยู่ในสถานะทางสังคมสูงสุด พบว่าระดับคะแนนเฉลี่ย IQประมาณ 119 คะแนน (Dabbie AL, 2005)  2. การเลี้ยงดู  การให้เวลากับบุตรของผู้ปกครอง ผู้ปกครองที่มีเวลาให้กับบุตรมาก ทาให้มีโอกาสที่จะ ถ่ายทอดความรัก ความอบอุ่น ความรู้ หรือเล่นกับลูกในลักษณะที่จะช่วยส่งเสริมการพัฒนา สติปัญญาของลูกได้มาก  3. ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมสารบางอย่างที่ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมส่งผลกระทบต่อการพัฒนา สติปัญญา เช่น สาร ตะกั่ว สารหนูหรือ ฟลูโอไรด์
  • 54. เมื่อเข ้าสู่เว็บไซด์ที่ทดสอบ IQ กรุณาทาดังนี้ 1. เริ่มการทดสอบโดยการคลิกปุ่ มเพื่อเลือกภาษา 2. คลิกปุ่ ม เพื่อเริ่มทดสอบ 3. ถ ้าต ้องการไปคาถามต่อไป หรือย ้อนกับให ้คลิกที่ปุ่ ม 4. ต ้องการตรวจสอบผลให ้คลิกที่ปุ่ ม และเลือก "Send" 5. แบบทดสอบ มีการจับเวลา โดยให ้เวลาทั้งสิ้น 40 นาที ลองทาแบบทดสอบ ที่ http://www.iqtest.dk/main.swf IQ Test
  • 55. ความถนัด (Aptitude)  ความถนัด หมายถึง สมรรถภาพ หรือความสามารถที่มี อยู่ในตัวบุคคล อันเป็ นผลมาจากการฝึ กฝน และได้รับความรู ้ จากประสบการณ์ เป็ นสมรรถภาพที่ทาให้บุคคลมีแนวโน้มอัน เหมาะแก่การทางานชนิดหนึ่งๆ ได้เป็ นอย่างดีมีประสิทธิภาพ  ความถนัดเปรียบเสมือนเครื่องพยากรณ์ความสาเร็จในการ กระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น นายสมชายมีความถนัดในทางดนตรี สูง ก็หมายความว่า ถ้านายสมชายได้เรียน และฝึ กฝนในการ เล่นดนตรีแล้ว นายสมชายจะเล่นดนตรีได้ดี เพราะนายสมชาย มีความสามารถพิเศษหรือมีความถนัดที่จะช่วยให้เรียนดนตรีได้ ดี
  • 56. ประเภทของควำมถนัด  1. ความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude) เป็น ควำมสำมำรถของบุคคลในกำรเรียนรู้สิ่งหนึ่งสิ่งใดได้สำเร็จ นับเป็นปัจจัยสำคัญประกำรหนึ่งที่ สำมำรถนำมำพิจำรณำในกำรเลือกแนวทำงกำรศึกษำ และอำชีพ  2. ความถนัดเฉพาะ (Specific Aptitude) เป็นควำมสำมำรถเฉพำะ ด้ำนของบุคคลซึ่งจะทำให้แต่ละบุคคลมีควำมถนัดที่จะทำงำนด้ำนหนึ่งๆ ได้ดีกว่ำบุคคลอื่น บุคคล ที่มีควำมถนัดเฉพำะด้ำนนี้ หำกได้รับกำรฝึกฝนอบรมก็ย่อมประสบควำมสำเร็จในกิจกำรด้ำนนั้นๆ ได้
  • 57. ตารางแสดงลักษณะของความถนัดด้านต่าง ๆ และงานอาชีพที่ มีแนวโน้มจะประสบความสาเร็จสาหรับผู้มีความถนัดแต่ละด้าน ความถนัด งานอาชีพที่มีแนวโน้มจะประสบความสาเร็จ 1. ควำมถนัดด้ำนภำษำ วิทยำกรผู้ให้กำรฝึกอบรม นักกฎหมำย ทนำยควำม นักภำษำศำสตร์ นักวิจำรณ์ งำนติดต่อกับบุคคล กำรพูด กำรเขียน กำรโฆษณำ 2. ควำมถนัดด้ำนตัวเลข นักสถิติ นักบัญชี พนักงำนกำรเงิน นักกำรคลัง นักกำรธนำคำร นักเศรษฐศำสตร์ 3. ควำมถนัดด้ำนมิติสัมพันธ์ งำนวิศวกร งำนสถำปนิก นักวำงผังเมือง นักเขียนแบบ นักออกแบบ งำนตกแต่ง 4. ควำมถนัดด้ำนควำมจำ เป็นพื้นฐำนในกำรเรียนรู้และงำนอำชีพทุกชนิด 5. ควำมถนัดด้ำนกำรสังเกต รับรู้ งำนที่อำศัยควำมประณีต ละเอียดเพื่อกำรรับรู้ และตรวจสอบประเภท งำนเสมียน งำนพิมพ์ งำนช่ำงประเภทต่ำงๆ 6. ควำมถนัดด้ำนเหตุผล เป็นพื้นฐำนในกำรเรียนรู้และงำนอำชีพทุกชนิด
  • 58. เชาวน์ปัญญาความถนัด และผลสัมฤทธิ์ของผู้เียนน  เชาวน์ปัญญา เป็ นความสามารถโดยรวมทางสติปัญญาของบุคคล ส่วน ความถนัดเป็ นความสามารถเฉพาะตัวที่แสดงให้เห็นว่าบุคคลมีแนวโน้มจะ ทาอะไรได้ดีถ้ามีโอกาสฝึ กฝน และผลสัมฤทธิ์เป็ นผลการเรียนรู ้ของบุคคล ภายหลังจากที่เขาได้ทากิจกรรมหรือได้ผ่านกระบวนการเรียนรู ้เรื่องนั้น ๆ ไปแล้ว  ผลจากการวัดความถนัดจะแตกต่างจากผลของการวัดเชาวน์ปัญญา ทั้งนี้ เพราะ ค่าระดับเชาวน์ปัญญานั้นจะบอกว่า คนฉลาดหรือโง่ ส่วนผลจากการ วัดความถนัดจะบอกว่า บุคคลคนหนึ่งมีความสามารถพิเศษในด้านใดบ้าง 
  • 59.  เรำสำมำรถวัดควำมถนัดของบุคคลได้ด้วยกำรใช้แบบทดสอบวัดควำมถนัด แบบทดสอบวัดควำม ถนัดมีลักษณะคล้ำยกับแบบทดสอบวัดเชำวน์ปัญญำ แต่มักจะมีควำมลึกซึ้งมำกกว่ำ นอกจำกนั้นใน กำรสร้ำงแบบทดสอบวัดควำมถนัดก็จะอำศัยทฤษฎีเชำวน์ปัญญำเป็นแนวทำงสำคัญ แบบทดสอบ วัดควำมถนัดที่เป็นที่นิยมใช้แพร่หลำย ได้แก่ แบบทดสอบวัดควำมถนัดชนิดจำแนกตัวประกอบ (Differential Aptitude Test หรือ DAT) และแบบทดสอบวัดควำมถนัดทั่วไป (General Aptitude Test Battery หรือ GATB) เป็นต้น