SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
Download to read offline
Fungi (เชื้อรา)
สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอาณาจักรรา (Fungi) ประกอบด้วย รา เห็ด และยีสต์
Fungi in the Jungle
Cordycep Fungi
Fungi Plant Growth
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรรา
1. เซลล์เป็นแบบ Eucaryotic cell มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
2. ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดารงชีวิตเป็นผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ที่เน่าเปื่อย
หรือเป็นปรสิตทาให้เกิดโรคกับพืช สัตว์ หรือมนุษย์
3. ผนังเซลล์เป็นสารไคติน (true fungi) หรือเซลลูโลส (pseudofungi)
4. มีทั้งเซลล์เดียวและเป็นเส้นใยเล็ก เรียกว่าไฮฟา (Hypha) รวมกลุ่ม
เรียกว่าไมซีเลียม (mycelium) ลักษณะของเส้นใยแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
4.1 เส้นใยมีผนังกั้น (Septate hypha)
4.2 เส้นใยที่ไม่มีผนังกั้น (Nonseptate hypha or Coencytic hypha)
 โครงสร้างของเชื้อรา โดยที่ ก) เส้นใย, ข) กลุ่มเส้นใย และ ค) haustorium ที่ทาหน้าที่ในการดูด
ซับอาหารจากเซลล์พืชอาศัย (ที่มา: http://www.fungionline.org.uk/3hyphae/1hypha_ultra.html)
Haustorium อาจมีรูปร่างได้
หลายแบบ เช่น
- Unbranch bulbous type
- Branched
- Knob-shaped haustoria
เส้นใยของเชื้อราอาจเปลี่ยนแปลงแปลงรูปร่างเพื่อทาหน้าที่พิเศษ
ได้แก่ Haustorium เป็นเส้นใยที่ยื่นเข้าเซลล์ host เพื่อดูดอาหาร
จาก host พบในราที่เป็นปรสิตของพืช
 http://biology-pictures.blogspot.com/2011/11/septate-and-
coenocytic-hypha.html
Septum ของเชื้อราแบ่งออกเป
็ น 3 พวก คือ
Septum
3. closed diaphragm พบในพวก non-septate fungi จะพบ septum
กับส่วนที่ตายแล้ว หรือเพื่อกันเซลล์สืบพันธุ์
2. simple plate with a hole in center protoplasm ผ่านได้
1. dolipore septum ช่วยกั้นนิวเคลียส
http://www.paddenstoel.nl
simple pore
http://www.kcom.edu
Flagella เชื้อราในบางพวกเคลื่อนที่ได้ด้วย flagella เช่น zoospore
หรือ gamete
Flagella
flagella ในเชื้อรามี 2 ชนิด
1. whiplash เรียบ ไม่มีขน
2. tinsel= มีขนละเอียดเล็กๆ รอบหาง (fine
lateral hair like structure)
http://botit.botany.wisc.edu/
1 2
Cell wall ของเชื้อรามีลักษณะเป
็ นแผ่นบางๆ
มีองค์ประกอบแตกต่างกัน สามารถใช้แบ่งกลุ่ม fungi ได้
zoospore และ gametes จะไม่พบ cell wall
Cell wall ส่วนใหญ่ประกอบด้วย
- polysaccharide 80-90%
(อาจเป็น chitin หรือ cellulose)
- protein
- lipid
- บางครั้งอาจมี รงควัตถุpolyphosphate และ inorganic ion ต่างๆ
ผนังเซลล์(Cell Wall)
การสืบพันธุ์ของเชื้อรามี 2 แบบ คือ
1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction โดยการแตกหัก
ของเส้นใย การแตกหน่อ หรือการแบ่งเซลล์ ซึ่งการสืบพันธุ์แบบนี้อาจ
เรียกว่า vegetative reproduction และการสร้างสปอร์แบบไม่อาศัยเพศ
เช่นสร้าง zoospore, sporangiospore และ conidia แบบต่าง ๆ เป็นต้น
1.1 Fragmentation แตกหักของเส้นใยเป็นท่อนๆ
1.2 Budding หรือการแตกหน่อ
1.3 Fission เป็นการแบ่งออกเป็น 2 เซลล์
1.4 Chlamydospore สร้างสปอร์ผนังหนาเกิด ตรงกลางเส้นใย หรือปลายเส้นใย
1.5 การสร้างสปอร์แบบไม่อาศัยเพศ เช่น Zoospore, Sporangiospore, Conidiospore
การสืบพันธุ์ของเชื้อรา
 Zoospore สร้างโดยราชั้นต่าใน Phylum Chytridiomycota สร้างใน zoosporangia โดย
zoospore ไม่มีผนังเซลล์แต่มีหาง หรือ flagellum โดย zoospore ของเชื้อราแบ่งได้เป็น
3 แบบตามลักษณะของหาง ได้แก่
 A. Posteriorly uniflagellate zoospore มี flagellum 1 เส้นที่ท้ายเซลล์ เช่น chytrids
อาจเป็น whiplash
 B. Biflagellate zoospore มี whiplash และ tinsel อย่างละเส้น ได้แก่เชื้อราในวงศ์
Saprolegniaceae, Pythiaceae, Peronosporaceae และ Albuginaceae
 C. Anteriorly uniflagellate zoospore มี flagellum 1 เส้นที่ด้านหน้าเซลล์ อาจเป็น
tinsel
 ลักษณะของ sporangiospore ของเชื้อรา Rhizopus sp. ที่เกิดอยู่ใน
ถุงหุ้มที่เรียกว่า sporangium
(ที่มา:http://www.backyardnature.net/f/ bredmold.htm)
Sporangiospore
สร้างภายใน sporangium ซึ่งมีรูปกลม หรือรูปไข่
เช่นที่พบในเชื้อรา Rhizopus และ Mucor
http://www.botany.utoronto.ca/ http://mup.systbot.uni-tuebingen.de/
Rhizopus
Mucor
sporangiospore
sporangium
sporangiophore
 ลักษณะการสร้าง conidia ที่เกิดบนก้าน sterigma ของเชื้อรา Aspergillus sp.
(ซ้าย) และ Penicillium sp. (ขวา) (ที่มา: http://ww5.stlouisco.com/doh/
pollen_site/MoldInfo.html)
Conidiospore หรือ Conidium
เป
็ น naked spore ไม่มีอะไรห่อหุ้ม เช่น พบใน sac fungi ,
club fungi บางชนิด และใน Imperfect fungi ทุกชนิด
conidium สร้างบนก้านสปอร์เรียกว่า conidiophore
conidium และ conidiophore มีรูปร่างแตกต่างกันตามชนิดของเชื้อรา
Conidia ของเชื้อราบางชนิดสร้างใน Fruiting body ซึ่งมี 2 แบบ คือ
Pycnidium (pl. pycnidia) รูปคนโฑ
Acervulus (pl. acervuli) รูปจาน
http://www.mycolog.com/
CHAP4a.htm
pycnidium acervulus
1. แบบธรรมดา (simple)
2. แบบแตกกิ่งก้าน (branched)
3. แบบที่ก้านสปอร์รวมเป
็ นมัด ปลายแยก(synnema)
4. เกิดรวมกันเป
็ นกลุ่มคล้ายหมอนอิง (cushion shaped)
เรียกว่า sporodochium
5. แบบปลายขยายมนกลม มี vesicle, sterigma และ phialide
conidiopore มีรูปแบบต่างๆ
http://www.mycolog.com/CHAP4a.htm
2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) โดยการสร้าง
สปอร์แบบอาศัยเพศต่างๆ เช่น
zygospore,
ascospore และ
basidiospore
Sexual reproduction
การสืบพันธุ์แบบใช้เพศ มี 3 ขั้นตอนคือ
1. Plasmogamy คือ การเข้าคู่กันของนิวเคลียสจาก
เพศผู้และเพศเมีย (n+n)
2. Karyogamy คือ การผสมระหว่างนิวเคลียสทั้งสอง ได้2n zygote
3. Meiosis การแบ่งนิวเคลียสที่ผสมแล้วจาก 2n ได้4 haploid nuclei
http://www.herts.ac.uk/natsci/Env/Fungi/repro.htm
หมายเหตุ
1. ราชั้นสูงหลัง plasmogamy แล้ว นิวเคลียสอาจอยู่คู่กันระยะหนึ่ง
ทาให้เกิดระยะที่เรียกว่า “dikaryon” เช่น ใน Ascomycotina
และ Basidiomycotina
2. ใน Ascomycotina หลัง Meiosis จะตามด้วย Mitosis
ทาให้ได้ 8 ascospore ใน 1 ascus
3. ใน Basidiomycotina หลัง Meiosis ได้ 4 basidiospore
เจริญบน basidium
Fungal Phylogeny
Cladogram showing the relationships of the major groups of organisms traditionally referred
to as fungi. The Oomycota, Myxomycota, and Plasmodiophoromycota are distinct from the
true Fungi. In addition, the true Fungi are more closely related to animals than to plants.
Protista
Classification of Pseudo Fungi
Kingdom Protista (Protozoa)
Phylum Myxomycota (Slime Molds)
Phylum Plasmodiophoromycota
(Endoparasitic Slime Molds)
Kingdom Chromista (Stamenopila)
Phylum Oomycota (Water Molds, White Rusts,
and Downy Mildews)
Kingdom Fungi
Phylum Chytridiomycota สร้าง zoospores
Phylum Zygomycota สร้าง sporangiospore
 Class Zygomycetes ระยะ teleomorph สร้าง zygospore
Phylum Basidiomycota ระยะ teleomorph สร้าง basidiospore
Phylum Ascomycota ระยะ teleomorph สร้าง ascospore
Classification of True Fungi
Phylum Ascomycota ระยะ teleomorph สร้าง ascospore
Class Hemiascomycetesไม่สร้าง ascocarp, naked asci
Class Plectomycetes สร้าง ascocarp แบบปิด
เรียกว่า cleistothecium
Class Pyrenomycetes สร้าง ascocarp เรียกว่า perithecium
Class Discomycetes สร้าง ascocarp รูปถ้วยหรือจาน
เรียกว่า apothecium
Class Loculoascomycetes สร้าง asci ใน stroma
คล้าย perithecium
Classification of Fungi
Higher Fungi ระยะ anamorph (Deuteromycota)
Class Blastomycetes พวก yeast
Class Hyphomycetes สร้าง conidia บน conidiophore
ไม่สร้าง fruiting body
Class Coelomycetes สร้าง conidia ใน pycnidium
หรือ acervulus
Class Agonomycetes ไม่สร้างสปอร์ และโครงสร้างสืบพันธุ์
Classification of Fungi
การควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา
(Control of Fungal Diseases of Plants)
วิธีการต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ได้แก่
1. การใช้พันธุ์ต้านทานโรค
2. การใช้เมล็ดที่ปลอดจากเชื้อสาเหตุ
3. การกาจัดเชื้อโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์โดยใช้สารประเภทดูดซึม
4. การกาจัดพืชอาศัยรอง (alternate host)
5. การใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่สะอาดปลอดจากเชื้อโรค
6. การปลูกพืชหมุนเวียน
7. การใช้เชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นปรปักษ์กับเชื้อราสาเหตุโรค
8. การฉีดพ่นสารเคมีกาจัดเชื้อรา (ประเภทสัมผัสหรือประเภทดูดซึม)
9. การคลุกเมล็ดพืชด้วยสารเคมี
10. การแช่เมล็ดในน้าร้อน (hot water treatments)
11. การอบดินด้วยสารเคมี (fumigants)
12. การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (solarization)
13. การควบคุมแมลงพาหะนาโรค
14. การผสมพันธุ์พืชเพื่อให้ต้านทานต่อโรค
15. การใช้เทคนิคในการตัดต่อพันธุกรรมเพื่อให้พืชต้านทาน ฯ
โรคพืชที่มีสาเหตุจากสิ่งมีชีวิตคล้ายราและราชั้นต่า
โรคพืชที่เกิดจากเชื้อราเมือก (Kingdom Protista)
โรคพืชที่เกิดจากเชื้อราเมือก
Kindom: Protista
Phylum: Myxomycota
Genus: Physarum sp.
ต้นหญ้า (Turfgrass) ที่ใบถูกปกคลุมด้วย sporangium ของราเมือก Physarum
(ซ้าย) ส่วนภาพขวามือเป็นภาพขยายของ sporangium ของเชื้อรา (ที่มา:
Agrios, 2005)
วงชีวิตของราเมือก Physarum sp.
ราเมือก หรือ เชื้อราใน Phylum Myxomycota สร้าง plasmodium
plasmodium
โรคพืชที่เกิดจากเชื้อราเมือก
1. โรค Club Root of Crucifers(รากบวม)
เชื้อราสาเหตุโรค Plasmodiophora brassicae
http://www.angenetik.fu-berlin.de/images/AG_SDG_2.jpg
Phylum Plasmodiophoromycota
Resting spores ของเชื้อรา Plasmodiophora brassicae
Clubroot on Brussels sprouts
Clubroot damage to roots
โรครากบวมของพืชวงศ์กะหล่า (Club Root of Crucifers)
รากบวม และเกิดอาการเหี่ยวตายของผักกาดหัว ผักกาด
เขียวปลี คะน้า (เคยพบที่ภาคใต้ของไทย)
อาการ
resting spore
ในรากพืช
zoospore
infect พืชที่
รากขนอ่อน
plasmodium
zoosporangium
Asexual
zoospore
จับคู่
binucleateplasmodium
infect พืชที่
รากขนอ่อน
Sexual
วงจรชีวิต
โรครากบวมของพืชวงศ์กะหล่า (Club Root of Crucifers)
http://res2.agr.ca/stjean/images/bulltech/clubrt2e.jpg
2. โรค Powdery Scab เกิดจากเชื้อ Spongospora subterranea
http://www.pa.ipw.agrl.ethz.ch/spongospora/streptopotato.jpg
ลักษณะ sporangium ของเชื้อรา Spongospora subterranea
ลักษณะช่องทางที่ปลดปล่อย
Zoospore ออกสู่ภายนอก
Biglagellate primary zoospore ของเชื้อ Spongospora subterranea
เกิดจากเชื้อรา Phytophthora infestans
โรคที่เกิดจากเชื้อราใน Phylum นี้ คือ
โรค Late blight ของมันฝรั่งและมะเขือเทศ
(Late blight of Potato and Tomato)
Phylum Oomycota
Kingdom Chromista (Stamenopila)
โรครากเน่า และโคนเน่าของทุเรียน
เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora
เชื้อราก่อโรคราน้าค้าง (Downy Mildew) บนพืชชนิดต่างๆ
# Peronospora parasitica กะหล่า คะน้า
# Peronospora manchurica ถั่วเหลือง
# Peronosclerospora sorghi ข้าวฟ
่ าง
# Plasmopara viticola องุ่น
# Pseudoperonospora cubensis แตง ฟัก มะระ
# Sclerospora maydis ข้าวโพด
# Bremia lactucae ผักกาดหอม
# Basidiophora butleri หญ้าต่างๆ
โรค Late Blight ของมันฝรั่งและมะเขือเทศ
(Late Blight of Potato and Tomata)
อาการโรคใบไหม้ในมันฝรั่ง (ซ้าย) และเชื้อรา Phytophthora infestans
สาเหตุโรค (ขวา) (ที่มา: Agrios, 2005)
โรคใบใหม้ของมันฝรั่งและมะเขือเทศ (Late blight of Potato and Tomato)
อาการ
เชื้อสาเหตุ
ใบไหม้สีดา มีเชื้อราสีขาวปกคลุม
ผลสีน้าตาลเข้มมีเชื้อราปกคลุม
Phytophthora infestans
Zoosporangium
infection
Zoospore
ต้นเป็นโรค
Zoosporangiophore
Antheridium♂
+
Oogonium ♀
infection
Sporangium
Asexual
Sexual
วงจรชีวิต
http://www.fh-weihenstephan.de
Disease cycle of late blight of potato caused by Phytophthora infestans
โรคผลเน่าของลิ้นจี่ (Fruit Rot of Litchi)
สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Peronophythora litchii
ลักษณะของเชื้อรา
สาเหตุโรคผลเน่า
ของลิ้นจี่
Peronophythora
litchii
โรคราน้าค้าง Downy mildew
เชื้อสาเหตุ
เชื้อสาเหตุเป
็ น obligate parasite
ของพืชผัก ไม้ผล ธัญพืช พืชไร่
เชื้อเจริญใน intercellular space
และสร้าง hautorium แทงเข้าในเซลล์
เป็นเชื้อราใน Phylum Oomycota มีหลาย genus
http://www.gobcan.es
 โรคราน้าค้างขององุ่น (Downy Mildew)
 เชื้อสาเหตุ: เกิดจากเชื้อรา Plasmopara
viticola
โรคราน้าค้างขององุ่น (Downy Mildew of Grape)
เชื้อสาเหตุ Plasmopara viticola
อาการ หลังใบ แผลสีซีด ใต้ใบมีกลุ่ม sporangiophore
สีขาว เมื่อแก่จะสีเทา ช่อดอกแห้ง เชื้อราทา
ให้ผลย่น แห้ง สีแดง หรือสีน้าตาล
encysted
infection
พืชเป็นโรค
sporangiophore
sporangium
zoospore
asexual
antheridium♂
+
oogonium ♀
oospore
sporangium
zoospore
sexual
วงจรชีวิต
Disease cycle of downy mildew of grape caused by Plasmopara viticola
โรคราน้าค้างข้าวโพด (Downy Mildew)
เกิดจากเชื้อรา Peronosclerospora sorghi
โรคราสนิมขาว (White Rust) ของผักบุ้ง
 อาการโรคราสนิมขาวของผักบุ้ง (ซ้าย) พบด้านบนใบมีสีซีดขาว หรือเหลือง ด้านใต้ใบพบ
กลุ่มของเชื้อราสีขาวอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ใบอาจหงิกผิดรูปร่าง เมื่อนาชิ้นพืชส่วนที่เป็น
โรคมาตัดเป็นแผ่นบางและตรวจภายใต้กล้องจุลทรรศน์ จะพบสปอร์ของเชื้อรามีลักษณะ
กลมต่อกันคล้ายลูกปัด (ขวา) เชื้อราสาเหตุคือ Albugo ipomoeae-panduratae
fungi
fungi
fungi

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นมัทนา อานามนารถ
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4Puchida Saingchin
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5Wichai Likitponrak
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
รากศัพท์Bio
รากศัพท์Bioรากศัพท์Bio
รากศัพท์BioKittepot
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
รากศัพท์Bio
รากศัพท์Bioรากศัพท์Bio
รากศัพท์Bio
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 

Similar to fungi

Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563Postharvest Technology Innovation Center
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกnokbiology
 

Similar to fungi (20)

อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
เห็ดพิษ
เห็ดพิษเห็ดพิษ
เห็ดพิษ
 
random-161204072730.pdf
random-161204072730.pdfrandom-161204072730.pdf
random-161204072730.pdf
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
Kingdom fungi 3
Kingdom fungi 3Kingdom fungi 3
Kingdom fungi 3
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Protista55
Protista55Protista55
Protista55
 
ิ b
ิ bิ b
ิ b
 
bug
bugbug
bug
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 

fungi

  • 2. Fungi in the Jungle
  • 5. ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรรา 1. เซลล์เป็นแบบ Eucaryotic cell มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส 2. ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดารงชีวิตเป็นผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ที่เน่าเปื่อย หรือเป็นปรสิตทาให้เกิดโรคกับพืช สัตว์ หรือมนุษย์ 3. ผนังเซลล์เป็นสารไคติน (true fungi) หรือเซลลูโลส (pseudofungi) 4. มีทั้งเซลล์เดียวและเป็นเส้นใยเล็ก เรียกว่าไฮฟา (Hypha) รวมกลุ่ม เรียกว่าไมซีเลียม (mycelium) ลักษณะของเส้นใยแบ่งออกเป็น 2 ชนิด 4.1 เส้นใยมีผนังกั้น (Septate hypha) 4.2 เส้นใยที่ไม่มีผนังกั้น (Nonseptate hypha or Coencytic hypha)
  • 6.  โครงสร้างของเชื้อรา โดยที่ ก) เส้นใย, ข) กลุ่มเส้นใย และ ค) haustorium ที่ทาหน้าที่ในการดูด ซับอาหารจากเซลล์พืชอาศัย (ที่มา: http://www.fungionline.org.uk/3hyphae/1hypha_ultra.html)
  • 7. Haustorium อาจมีรูปร่างได้ หลายแบบ เช่น - Unbranch bulbous type - Branched - Knob-shaped haustoria เส้นใยของเชื้อราอาจเปลี่ยนแปลงแปลงรูปร่างเพื่อทาหน้าที่พิเศษ ได้แก่ Haustorium เป็นเส้นใยที่ยื่นเข้าเซลล์ host เพื่อดูดอาหาร จาก host พบในราที่เป็นปรสิตของพืช
  • 8.
  • 9.
  • 11. Septum ของเชื้อราแบ่งออกเป ็ น 3 พวก คือ Septum 3. closed diaphragm พบในพวก non-septate fungi จะพบ septum กับส่วนที่ตายแล้ว หรือเพื่อกันเซลล์สืบพันธุ์ 2. simple plate with a hole in center protoplasm ผ่านได้ 1. dolipore septum ช่วยกั้นนิวเคลียส http://www.paddenstoel.nl simple pore http://www.kcom.edu
  • 12. Flagella เชื้อราในบางพวกเคลื่อนที่ได้ด้วย flagella เช่น zoospore หรือ gamete Flagella flagella ในเชื้อรามี 2 ชนิด 1. whiplash เรียบ ไม่มีขน 2. tinsel= มีขนละเอียดเล็กๆ รอบหาง (fine lateral hair like structure) http://botit.botany.wisc.edu/ 1 2
  • 13. Cell wall ของเชื้อรามีลักษณะเป ็ นแผ่นบางๆ มีองค์ประกอบแตกต่างกัน สามารถใช้แบ่งกลุ่ม fungi ได้ zoospore และ gametes จะไม่พบ cell wall Cell wall ส่วนใหญ่ประกอบด้วย - polysaccharide 80-90% (อาจเป็น chitin หรือ cellulose) - protein - lipid - บางครั้งอาจมี รงควัตถุpolyphosphate และ inorganic ion ต่างๆ ผนังเซลล์(Cell Wall)
  • 14. การสืบพันธุ์ของเชื้อรามี 2 แบบ คือ 1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction โดยการแตกหัก ของเส้นใย การแตกหน่อ หรือการแบ่งเซลล์ ซึ่งการสืบพันธุ์แบบนี้อาจ เรียกว่า vegetative reproduction และการสร้างสปอร์แบบไม่อาศัยเพศ เช่นสร้าง zoospore, sporangiospore และ conidia แบบต่าง ๆ เป็นต้น 1.1 Fragmentation แตกหักของเส้นใยเป็นท่อนๆ 1.2 Budding หรือการแตกหน่อ 1.3 Fission เป็นการแบ่งออกเป็น 2 เซลล์ 1.4 Chlamydospore สร้างสปอร์ผนังหนาเกิด ตรงกลางเส้นใย หรือปลายเส้นใย 1.5 การสร้างสปอร์แบบไม่อาศัยเพศ เช่น Zoospore, Sporangiospore, Conidiospore การสืบพันธุ์ของเชื้อรา
  • 15.  Zoospore สร้างโดยราชั้นต่าใน Phylum Chytridiomycota สร้างใน zoosporangia โดย zoospore ไม่มีผนังเซลล์แต่มีหาง หรือ flagellum โดย zoospore ของเชื้อราแบ่งได้เป็น 3 แบบตามลักษณะของหาง ได้แก่  A. Posteriorly uniflagellate zoospore มี flagellum 1 เส้นที่ท้ายเซลล์ เช่น chytrids อาจเป็น whiplash  B. Biflagellate zoospore มี whiplash และ tinsel อย่างละเส้น ได้แก่เชื้อราในวงศ์ Saprolegniaceae, Pythiaceae, Peronosporaceae และ Albuginaceae  C. Anteriorly uniflagellate zoospore มี flagellum 1 เส้นที่ด้านหน้าเซลล์ อาจเป็น tinsel
  • 16.  ลักษณะของ sporangiospore ของเชื้อรา Rhizopus sp. ที่เกิดอยู่ใน ถุงหุ้มที่เรียกว่า sporangium (ที่มา:http://www.backyardnature.net/f/ bredmold.htm)
  • 17. Sporangiospore สร้างภายใน sporangium ซึ่งมีรูปกลม หรือรูปไข่ เช่นที่พบในเชื้อรา Rhizopus และ Mucor http://www.botany.utoronto.ca/ http://mup.systbot.uni-tuebingen.de/ Rhizopus Mucor sporangiospore sporangium sporangiophore
  • 18.  ลักษณะการสร้าง conidia ที่เกิดบนก้าน sterigma ของเชื้อรา Aspergillus sp. (ซ้าย) และ Penicillium sp. (ขวา) (ที่มา: http://ww5.stlouisco.com/doh/ pollen_site/MoldInfo.html)
  • 19. Conidiospore หรือ Conidium เป ็ น naked spore ไม่มีอะไรห่อหุ้ม เช่น พบใน sac fungi , club fungi บางชนิด และใน Imperfect fungi ทุกชนิด conidium สร้างบนก้านสปอร์เรียกว่า conidiophore conidium และ conidiophore มีรูปร่างแตกต่างกันตามชนิดของเชื้อรา Conidia ของเชื้อราบางชนิดสร้างใน Fruiting body ซึ่งมี 2 แบบ คือ Pycnidium (pl. pycnidia) รูปคนโฑ Acervulus (pl. acervuli) รูปจาน http://www.mycolog.com/ CHAP4a.htm pycnidium acervulus
  • 20. 1. แบบธรรมดา (simple) 2. แบบแตกกิ่งก้าน (branched) 3. แบบที่ก้านสปอร์รวมเป ็ นมัด ปลายแยก(synnema) 4. เกิดรวมกันเป ็ นกลุ่มคล้ายหมอนอิง (cushion shaped) เรียกว่า sporodochium 5. แบบปลายขยายมนกลม มี vesicle, sterigma และ phialide conidiopore มีรูปแบบต่างๆ http://www.mycolog.com/CHAP4a.htm
  • 21. 2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) โดยการสร้าง สปอร์แบบอาศัยเพศต่างๆ เช่น zygospore, ascospore และ basidiospore
  • 22. Sexual reproduction การสืบพันธุ์แบบใช้เพศ มี 3 ขั้นตอนคือ 1. Plasmogamy คือ การเข้าคู่กันของนิวเคลียสจาก เพศผู้และเพศเมีย (n+n) 2. Karyogamy คือ การผสมระหว่างนิวเคลียสทั้งสอง ได้2n zygote 3. Meiosis การแบ่งนิวเคลียสที่ผสมแล้วจาก 2n ได้4 haploid nuclei http://www.herts.ac.uk/natsci/Env/Fungi/repro.htm
  • 23. หมายเหตุ 1. ราชั้นสูงหลัง plasmogamy แล้ว นิวเคลียสอาจอยู่คู่กันระยะหนึ่ง ทาให้เกิดระยะที่เรียกว่า “dikaryon” เช่น ใน Ascomycotina และ Basidiomycotina 2. ใน Ascomycotina หลัง Meiosis จะตามด้วย Mitosis ทาให้ได้ 8 ascospore ใน 1 ascus 3. ใน Basidiomycotina หลัง Meiosis ได้ 4 basidiospore เจริญบน basidium
  • 24. Fungal Phylogeny Cladogram showing the relationships of the major groups of organisms traditionally referred to as fungi. The Oomycota, Myxomycota, and Plasmodiophoromycota are distinct from the true Fungi. In addition, the true Fungi are more closely related to animals than to plants. Protista
  • 25. Classification of Pseudo Fungi Kingdom Protista (Protozoa) Phylum Myxomycota (Slime Molds) Phylum Plasmodiophoromycota (Endoparasitic Slime Molds) Kingdom Chromista (Stamenopila) Phylum Oomycota (Water Molds, White Rusts, and Downy Mildews)
  • 26. Kingdom Fungi Phylum Chytridiomycota สร้าง zoospores Phylum Zygomycota สร้าง sporangiospore  Class Zygomycetes ระยะ teleomorph สร้าง zygospore Phylum Basidiomycota ระยะ teleomorph สร้าง basidiospore Phylum Ascomycota ระยะ teleomorph สร้าง ascospore Classification of True Fungi
  • 27. Phylum Ascomycota ระยะ teleomorph สร้าง ascospore Class Hemiascomycetesไม่สร้าง ascocarp, naked asci Class Plectomycetes สร้าง ascocarp แบบปิด เรียกว่า cleistothecium Class Pyrenomycetes สร้าง ascocarp เรียกว่า perithecium Class Discomycetes สร้าง ascocarp รูปถ้วยหรือจาน เรียกว่า apothecium Class Loculoascomycetes สร้าง asci ใน stroma คล้าย perithecium Classification of Fungi
  • 28. Higher Fungi ระยะ anamorph (Deuteromycota) Class Blastomycetes พวก yeast Class Hyphomycetes สร้าง conidia บน conidiophore ไม่สร้าง fruiting body Class Coelomycetes สร้าง conidia ใน pycnidium หรือ acervulus Class Agonomycetes ไม่สร้างสปอร์ และโครงสร้างสืบพันธุ์ Classification of Fungi
  • 29. การควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา (Control of Fungal Diseases of Plants) วิธีการต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ได้แก่ 1. การใช้พันธุ์ต้านทานโรค 2. การใช้เมล็ดที่ปลอดจากเชื้อสาเหตุ 3. การกาจัดเชื้อโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์โดยใช้สารประเภทดูดซึม 4. การกาจัดพืชอาศัยรอง (alternate host) 5. การใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่สะอาดปลอดจากเชื้อโรค 6. การปลูกพืชหมุนเวียน 7. การใช้เชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นปรปักษ์กับเชื้อราสาเหตุโรค 8. การฉีดพ่นสารเคมีกาจัดเชื้อรา (ประเภทสัมผัสหรือประเภทดูดซึม)
  • 30. 9. การคลุกเมล็ดพืชด้วยสารเคมี 10. การแช่เมล็ดในน้าร้อน (hot water treatments) 11. การอบดินด้วยสารเคมี (fumigants) 12. การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (solarization) 13. การควบคุมแมลงพาหะนาโรค 14. การผสมพันธุ์พืชเพื่อให้ต้านทานต่อโรค 15. การใช้เทคนิคในการตัดต่อพันธุกรรมเพื่อให้พืชต้านทาน ฯ
  • 33. โรคพืชที่เกิดจากเชื้อราเมือก Kindom: Protista Phylum: Myxomycota Genus: Physarum sp. ต้นหญ้า (Turfgrass) ที่ใบถูกปกคลุมด้วย sporangium ของราเมือก Physarum (ซ้าย) ส่วนภาพขวามือเป็นภาพขยายของ sporangium ของเชื้อรา (ที่มา: Agrios, 2005)
  • 34. วงชีวิตของราเมือก Physarum sp. ราเมือก หรือ เชื้อราใน Phylum Myxomycota สร้าง plasmodium plasmodium
  • 35. โรคพืชที่เกิดจากเชื้อราเมือก 1. โรค Club Root of Crucifers(รากบวม) เชื้อราสาเหตุโรค Plasmodiophora brassicae http://www.angenetik.fu-berlin.de/images/AG_SDG_2.jpg Phylum Plasmodiophoromycota
  • 39. โรครากบวมของพืชวงศ์กะหล่า (Club Root of Crucifers) รากบวม และเกิดอาการเหี่ยวตายของผักกาดหัว ผักกาด เขียวปลี คะน้า (เคยพบที่ภาคใต้ของไทย) อาการ resting spore ในรากพืช zoospore infect พืชที่ รากขนอ่อน plasmodium zoosporangium Asexual zoospore จับคู่ binucleateplasmodium infect พืชที่ รากขนอ่อน Sexual วงจรชีวิต
  • 40. โรครากบวมของพืชวงศ์กะหล่า (Club Root of Crucifers) http://res2.agr.ca/stjean/images/bulltech/clubrt2e.jpg
  • 41. 2. โรค Powdery Scab เกิดจากเชื้อ Spongospora subterranea http://www.pa.ipw.agrl.ethz.ch/spongospora/streptopotato.jpg
  • 44. Biglagellate primary zoospore ของเชื้อ Spongospora subterranea
  • 45. เกิดจากเชื้อรา Phytophthora infestans โรคที่เกิดจากเชื้อราใน Phylum นี้ คือ โรค Late blight ของมันฝรั่งและมะเขือเทศ (Late blight of Potato and Tomato) Phylum Oomycota Kingdom Chromista (Stamenopila) โรครากเน่า และโคนเน่าของทุเรียน เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora
  • 46. เชื้อราก่อโรคราน้าค้าง (Downy Mildew) บนพืชชนิดต่างๆ # Peronospora parasitica กะหล่า คะน้า # Peronospora manchurica ถั่วเหลือง # Peronosclerospora sorghi ข้าวฟ ่ าง # Plasmopara viticola องุ่น # Pseudoperonospora cubensis แตง ฟัก มะระ # Sclerospora maydis ข้าวโพด # Bremia lactucae ผักกาดหอม # Basidiophora butleri หญ้าต่างๆ
  • 47. โรค Late Blight ของมันฝรั่งและมะเขือเทศ (Late Blight of Potato and Tomata) อาการโรคใบไหม้ในมันฝรั่ง (ซ้าย) และเชื้อรา Phytophthora infestans สาเหตุโรค (ขวา) (ที่มา: Agrios, 2005)
  • 48. โรคใบใหม้ของมันฝรั่งและมะเขือเทศ (Late blight of Potato and Tomato) อาการ เชื้อสาเหตุ ใบไหม้สีดา มีเชื้อราสีขาวปกคลุม ผลสีน้าตาลเข้มมีเชื้อราปกคลุม Phytophthora infestans Zoosporangium infection Zoospore ต้นเป็นโรค Zoosporangiophore Antheridium♂ + Oogonium ♀ infection Sporangium Asexual Sexual วงจรชีวิต http://www.fh-weihenstephan.de
  • 49. Disease cycle of late blight of potato caused by Phytophthora infestans
  • 50. โรคผลเน่าของลิ้นจี่ (Fruit Rot of Litchi) สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Peronophythora litchii
  • 52. โรคราน้าค้าง Downy mildew เชื้อสาเหตุ เชื้อสาเหตุเป ็ น obligate parasite ของพืชผัก ไม้ผล ธัญพืช พืชไร่ เชื้อเจริญใน intercellular space และสร้าง hautorium แทงเข้าในเซลล์ เป็นเชื้อราใน Phylum Oomycota มีหลาย genus http://www.gobcan.es
  • 53.  โรคราน้าค้างขององุ่น (Downy Mildew)  เชื้อสาเหตุ: เกิดจากเชื้อรา Plasmopara viticola
  • 54. โรคราน้าค้างขององุ่น (Downy Mildew of Grape) เชื้อสาเหตุ Plasmopara viticola อาการ หลังใบ แผลสีซีด ใต้ใบมีกลุ่ม sporangiophore สีขาว เมื่อแก่จะสีเทา ช่อดอกแห้ง เชื้อราทา ให้ผลย่น แห้ง สีแดง หรือสีน้าตาล encysted infection พืชเป็นโรค sporangiophore sporangium zoospore asexual antheridium♂ + oogonium ♀ oospore sporangium zoospore sexual วงจรชีวิต
  • 55. Disease cycle of downy mildew of grape caused by Plasmopara viticola
  • 57. โรคราสนิมขาว (White Rust) ของผักบุ้ง  อาการโรคราสนิมขาวของผักบุ้ง (ซ้าย) พบด้านบนใบมีสีซีดขาว หรือเหลือง ด้านใต้ใบพบ กลุ่มของเชื้อราสีขาวอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ใบอาจหงิกผิดรูปร่าง เมื่อนาชิ้นพืชส่วนที่เป็น โรคมาตัดเป็นแผ่นบางและตรวจภายใต้กล้องจุลทรรศน์ จะพบสปอร์ของเชื้อรามีลักษณะ กลมต่อกันคล้ายลูกปัด (ขวา) เชื้อราสาเหตุคือ Albugo ipomoeae-panduratae