SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Gram-Negative
Bacilli
Gram negative bacteria แบคทีเรียแกรมลบ
เป็น แบคทีเรียที่ย้อมแกรม
Gram staining ติดสีแดงของ safranin
ผนังเซลล์บาง
 ชั้นในเป็นชั้นบางของ peptidoglycan
 ชั้นนอกเป็นชั้นไขมัน
 ภายนอกเซลล์ มี lipopolysacharide ซึ่งเป็น
สารพิษ endotoxin
แบคทีเรีย กลุ่มนี้เป็นได้ทั้งจุลินทรีย์ก่อโรคจริง และจุลินทรีย์ก่อโรคแบบฉวยโอกาสในสภาวะที่ร่างกาย
อ่อนแอ จีนัสที่พบเป็นเชื้อก่อโรคจริง
ได้แก่ Salmonella spp., Shigella spp., Yersinia enterocolitica และบางสายพันธุ์ของ Escherichia coliโดย
แบคทีเรียเหล่านี้มักก่อโรคอาหารเป็นพิษ ในระบบทางเดินอาหาร มีอาหารกระเพาะและลาไส้อักเสบ โดย
การกินอาหาร ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในระบบทางเดินอาหารของคนและสัตว์
เชื้อจะมี pili or fimbriae ช่วยในการเกาะติดกับผิวเซลล์
เชื้อที่สาคัญได้แก่ Escherichia, Salmonella, Shigella, Klebsiella, Serratia, Proteus, Yersinia, Enterobacter
Escherichia
• รูปร่างท่อนตรง ติดสีแกรมลบ
• ไม่สร้างสปอร์
• ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้
• โคโลนีสีชมพูหรือแดง
สายพันธุ์ที่ทาให้เกิดโรคอุจจาระร่วง
1 . Enteropathogenic E. coli (EPEC) อุจจาระร่วงในเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี
2. Enterotoxigenic E. coli (ETEC)
สร้างสารพิษ ที่มีผลต่อเซลล์เยื่อบุลาไส้ ท้าให้เกิดโรคอุจจาระร่วงในเด็กทารกในประเทศที่กาลังพัฒนา และ
นักท่องเที่ยวที่เดินทาง มาจากประเทศที่พัฒนาแล้ว (traveler’s diarrhea)
3. Enteroinvasive E. coli (EIEC) รุกรานเยื่อบุลาไส้ ก่อให้เกิดการอักเสบของลาไส้
ผู้ป่วยจะมีอาการคล้ายกับโรคบิดที่เกิดจากเชื้อ Shigella แต่ความรุนแรงน้อยกว่า มีอาการไข้ปวดท้อง ถ่ายเหลว
อุจจาระมีมูกปนเลือด
4. Enterohemorrhagic E. coli (EHEC) E. coli O157:H7 เป็นสายพันธุ์ที่สร้างสารพิษ Verotoxin
การติดเชื้อมักเกิดจากการรับประทานอาหารประเภท เนื้อวัวที่เตรียมไม่สุกดีและมีเชื้อนี้ปนเปื้อนอยู่
การติดเชื้อนอกระบบทางเดินอาหาร
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
• โลหิตเป็นพิษ
• ปอดอักเสบ
• เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
• การติดเชื้อที่บาดแผล
( E.coli เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะบ่อยที่สุด )
Salmonella
แกรมลบ รูปแท่ง เคลื่อนที่ได้ด้วย peritrichous flagella
ทาให้เกิดโรคในคนได้3 รูปแบบ
1. โรคไข้เอนเทอริค (Enteric fever) ไข้ไทฟอยด์หรือไข้รากสาดน้อย เกิดจากเชื้อ Salmonella Typhi
ไข้พาราไทฟอยด์หรือไข้รากสาดเทียม เกิดจากเชื้อ Salmonella Paratyphi A, B, C
2. โลหิตเป็นพิษ (Septicemia)
เชื้อที่เป็นสาเหตุคือ S. Choleraesuis
เมื่อรับประทานอาหารที่มีเชื้อนี้ปนเปื้อนเชื้อจากทางเดินอาหารจะรุกล้าเข้าสู่กระแสโลหิตโดยมักไม่ทาให้เกิดพยาธิ
สภาพที่ระบบทางเดินอาหาร
เชื้อในกระแสโลหิตแพร่ไปอวัยวะอื่นๆ แล้วทาให้เกิด พยาธิสภาพที่อวัยวะนั้นๆ เช่น เยื่อบุหัวใจอักเสบ เยื่อหุ้มสมอง
อักเสบ ข้ออักเสบ
3. Gastroenteritis
เกิดจากเชื้อ Salmonella สายพันธุ์อื่นที่ไม่ใช่ S. Typhi S. Paratyphi S. Choleraesuis
หลังจากรับประทานอาหารที่มีเชื้อนี้ปนเปื้อน8-48 ชั่วโมง ผู้ป่วยจะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง อยู่2-5 วัน
Shigella
• มีรูปร่างลักษณะคล้าย E.coli แต่ไม่มีแฟลกเจลลาสาหรับเคลื่อนที่
• ส่วนใหญ่ไม่สามารถเฟอร์เม็นต์น้าตาลแล๊คโตส (Nonlactose fermenter on MacConkey agar)
• ก่อให้เกิดโรคบิด (Classic bacillary dysentery) เชื้อรุกรานเยื่อบุลาไส้ ก่อให้เกิดการอักเสบของลาไส้
ผู้ป่วยมีอาการ ปวดท้องมาก ปวดเบ่งเวลาถ่าย คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ถ่ายเหลวเป็นมูกเลือด
Klebsiella
Klebsiella เป็นเชื้อในกลุ่ม superbug ที่สามารถก่อให้เกิดโรคได้หลากหลายขึ้นกับตาแหน่งของ
ร่างกายที่ติดเชื้อ Klebsiella คือเชื้อแบคทีเรียที่ปกติจะอาศัยในลาไส้มนุษย์และไม่ก่อให้เกิดโรค แต่หากเชื้อ
นี้แพร่ไปอยู่ในตาแหน่งอื่นๆในร่างกาย ก็จะสามารถทาให้เกิดโรคต่างๆขึ้นได้
ก่อให้เกิดโรคเหล่านี้ได้แก่
โรคติดเชื้อในปอด
โรคติดเชื้อในกระแสเลือด
โรคติดเชื้อที่บาดแผล
โรคติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
โรคติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
Serratia
Serratia เป็นแบคทีเรียแกรมลบ (Gram negative bacteria) จัดอยู่ในกลุ่มโคลิฟอร์ม (coliform)
อยู่ในวงศ์Enterobacteriaceae มีรูปร่างเป็นท่อน และเป็นพวก facultative anaerobe คือเจริญได้
ทั้งในภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจนไม่สร้างสปอร์ ไม่ทนร้อน อาจไม่เคลื่อนที่ หรือ เคลื่อนที่ด้วย
peritrichous flagella
Serratia เป็นสาเหตุการเสื่อมเสียของอาหาร (microbial spoilage) หลายชนิด เช่น การเสื่อมเสียของ
น้านม ทาให้น้านมเปลี่ยนเป็นสีแดง (red rod) และการเสื่อมเสียของเนื้อสัตว์
Proteus
Proteus เป็นสกุล (genus) ของแบคทีเรียกลุ่มแกรมลบ (Gram negative bacteria) อยู่ใน
วงศ์ (family) Enterobacteriaceae มีรูปร่างเป็นท่อน (rod) และ เป็นพวก facultative
anaerobe คือ เจริญได้ทั้งในภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจนอาจไม่เคลื่อนที่ หรือ เคลื่อนที่ด้วย
peritrichous flagella
Proteus เป็นแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุทาให้อาหารเน่าเสีย (microbial spoilage) หลายชนิด เช่น การ
เสื่อมเสียของไข่ ไข่ที่มีการปนเปื้อนโดย Proteus ทาให้เกิดการเน่าที่เรียกว่า black rot มีการผลิตและสะสม
ของแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์(H2S) มีกลิ่นเหม็นเน่าคล้ายอุจจาระ เนื่องจากการย่อยสลายของโปรตีนในไข่ โดยเกิด
กับกรดแอมิโน (amino acid) ที่มีซัลเฟอร์อยู่ในโมเลกุล (sulfur-containing amino acid)
เช่น cysteine แก๊สที่เกิดขึ้นอาจทาให้ไข่ระเบิดได้
Yersinia enterocolitica
Yersinia enterocolitica อาจเขียนย่อว่า Y. enterocolitica คือแบคทีเรียก่อโรค
(pathogen) ชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Enterobacteriaceae ย้อมติดสีแกรมลบ
(Gram negative bacteria) มีลักษณะเป็นท่อนสั้น (rod-shaped) มีขนาดเล็ก
ขนาดประมาณ 0.5-0.8 ไมโครเมตรไม่สร้างสปอร์
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญ
Yersinia enterocolitica เป็นแบคทีเรียที่ทนอุณหภูมิต่า (psychrotrophic bacteria) เจริญ
ได้ดีที่ 25-30 สามารถเพิ่ม
จานวนได้ในตู้เย็น ถึงแม้ที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียสเจริญได้ทั้งสภาวะที่มีอากาศและไม่มีอากาศ สามารถพบเชื้อได้
ในเนื้อสัตว์น้านมดิบ และอาหารดิบที่เตรียมไม่สะอาด
แหล่งที่พบ Yersinia enterocolitica พบบ่อยในสัตว์เลี้ยงโดยมีหมูเป็นแหล่งแพร่เชื้อสู่คน และยังพบในทางเดิน
อาหาร ของสัตว์ต่างๆ เช่น หมู สุนัข แมว นก หนู หมัดหนู รวมทั้ง สัตว์ป่ากระรอกและมักพบในแหล่งน้าธรรมชาติ เช่น ห้วย
หนอง บึง ทะเลสาบ น้าอุปโภค บริโภคที่มีการปนเปื้อนจากสิ่งปฏิกูล
โรคและอาการของโรค
เป็นสาเหตุของโรคที่มีอาหารเป็นสื่อ (foodbrone disease)
คือโรคเยอชินิโอซีส (Yersiniosis) มักพบในประเทศเขตหนาวปริมาณเชื้อที่ทาให้เกิดโรค (infective dose)
เมื่อผ่านเข้าสู่ทางเดินอาหาร จะเพิ่มจานวนในลาไส้ ทาให้เกิดโรคเยอชินิโอซีส ซึ่งเกิดจากสารพิษ enterotoxin ที่ทน
ต่อความร้อน เรียกว่า มีอาการกระเพาะและลาไส้อักเสบ
อาการสาคัญ คือ ท้องเสีย (diarrhea) อาจมีการอาเจียน (vomiting) มีไข้และปวดท้อง อาการคล้ายไส้ติ่งอักเสบ
(appendicitis) ทาให้อาจวินิจฉัย ผิดว่าเป็นไส้ติ่งอักเสบอาจทาให้เกิดการติดเชื้อที่บริเวณอื่น เช่น ผิวหนังมีผื่นแดง
และทางเดินปัสสาวะอักเสบ
ระยะเกิดอาการ คือ 24 ถึง 48 ชั่วโมง หลังรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อ แต่อาจเกิดขึ้นหลังจากได้รับ
เชื้อ 3-7 วันอาการปวดท้องปานกลาง และปวดท้องเรื้อรังเกิดขึ้นต่อเนื่อง 2-3 วัน ในบางรายอาจเป็นนาน 1-2 สัปดาห์
ส่วนใหญ่ผู้ป่วย
จะไม่เสียชีวิตนอกจากมีโรคแทรกซ้อนอื่น ผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงคือเด็กทารก คนชรา รวมทั้งผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่อง
อาหารที่เกี่ยวข้อง กับเชื้อแบคทีเรีย Y. enterocolitica คือ เนื้อสัตว์เช่น เนื้อหมู (pork) เนื้อวัว (beef)
เนื้อแกะ (lamb) และผลผลิตจากสัตว์เช่น น้านมดิบ (raw milk) นอกจากนี้ยัง อาจปนเปื้อนในสัตว์น้า เช่น
ปลา หอยนางลม (oyster) หอยแมงภู่
โดยปนเปื้อนอาจมาจากดิน แหล่งน้าที่ปนเปื้อน หรือสัตว์ที่มีเชื้อ หรืออาจเกิดจากการสุขาภิบาลที่ไม่เหมาะสม ทาให้
เกิดการปนเปื้อนข้าม (cross contamination)
Enterobacteriaceae
Enterobacteriaceae มีทั้ง oxidation คือ เปลี่ยนสารประกอบคาร์บอนให้ได้คาร์บอนไดออกไซด์ น้า
และพลังงาน และการหมัก (fermentation) ซึ่งได้กรดและ/หรือแอลกอฮอล์ สามารถสร้างกรดขึ้น
จากการหมักน้าตาลกลูโคส (glucose) สร้างเอนไซม์ Catalaseได้ (catalase-positive) และสามารถ
เปลี่ยนไนเทรด (nitrate) ให้เป็นไนไทรต์ (nitrate) โดยอาศัยปฏิกิริยารีดักชัน (reduction reaction)
แบคทีเรีย กลุ่มนี้เป็นได้ทั้งจุลินทรีย์ก่อโรคจริง และจุลินทรีย์ก่อโรคแบบฉวยโอกาสในสภาวะที่
ร่างกายอ่อนแอ จีนัสที่พบเป็นเชื้อก่อโรคจริง
จัดทาโดย
นางสาวสายสุดา เถาวัลย์ 593046080
นางสาวสิริยากร สายศรี 593046081
นางสาวสิริรัตน์ ศรีแสนตอ 593046082
นางสาวสุชาดา พิมพ์จันทร์ 593046084
นางสาวสุดาพร จักรแก้ว 593046085
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงสาขา วิชา เวชระเบียน ชั้นปีที่ 2

More Related Content

What's hot

เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+mekushi501
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)Nattanara Somtakaew
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอราโครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอราsupatcha roongruang
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆเชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆAidah Madeng
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
Gram-Positive cocci
Gram-Positive cocciGram-Positive cocci
Gram-Positive cocciJutaratDew
 
บท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโนบท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโนWichai Likitponrak
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมฟลุ๊ค ลำพูน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 

What's hot (20)

เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวกBac.Gram+
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
 
Bacillus anthracis
Bacillus anthracis Bacillus anthracis
Bacillus anthracis
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอราโครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
 
จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆเชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
Gram-Positive cocci
Gram-Positive cocciGram-Positive cocci
Gram-Positive cocci
 
บท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโนบท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโน
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 

Similar to Gram negative bacilli oxidase -

อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราพัน พัน
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมักPaper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมักKanitha Panya
 
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...pitsanu duangkartok
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriapitsanu duangkartok
 

Similar to Gram negative bacilli oxidase - (9)

อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
fungi
fungifungi
fungi
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมักPaper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
 
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
 
จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์
จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์
จุลินทรีย์ประจำกายมนุษย์
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
 

Gram negative bacilli oxidase -

  • 2. Gram negative bacteria แบคทีเรียแกรมลบ เป็น แบคทีเรียที่ย้อมแกรม Gram staining ติดสีแดงของ safranin ผนังเซลล์บาง  ชั้นในเป็นชั้นบางของ peptidoglycan  ชั้นนอกเป็นชั้นไขมัน  ภายนอกเซลล์ มี lipopolysacharide ซึ่งเป็น สารพิษ endotoxin
  • 3. แบคทีเรีย กลุ่มนี้เป็นได้ทั้งจุลินทรีย์ก่อโรคจริง และจุลินทรีย์ก่อโรคแบบฉวยโอกาสในสภาวะที่ร่างกาย อ่อนแอ จีนัสที่พบเป็นเชื้อก่อโรคจริง ได้แก่ Salmonella spp., Shigella spp., Yersinia enterocolitica และบางสายพันธุ์ของ Escherichia coliโดย แบคทีเรียเหล่านี้มักก่อโรคอาหารเป็นพิษ ในระบบทางเดินอาหาร มีอาหารกระเพาะและลาไส้อักเสบ โดย การกินอาหาร ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในระบบทางเดินอาหารของคนและสัตว์ เชื้อจะมี pili or fimbriae ช่วยในการเกาะติดกับผิวเซลล์ เชื้อที่สาคัญได้แก่ Escherichia, Salmonella, Shigella, Klebsiella, Serratia, Proteus, Yersinia, Enterobacter
  • 4. Escherichia • รูปร่างท่อนตรง ติดสีแกรมลบ • ไม่สร้างสปอร์ • ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ • โคโลนีสีชมพูหรือแดง สายพันธุ์ที่ทาให้เกิดโรคอุจจาระร่วง 1 . Enteropathogenic E. coli (EPEC) อุจจาระร่วงในเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี 2. Enterotoxigenic E. coli (ETEC) สร้างสารพิษ ที่มีผลต่อเซลล์เยื่อบุลาไส้ ท้าให้เกิดโรคอุจจาระร่วงในเด็กทารกในประเทศที่กาลังพัฒนา และ นักท่องเที่ยวที่เดินทาง มาจากประเทศที่พัฒนาแล้ว (traveler’s diarrhea)
  • 5. 3. Enteroinvasive E. coli (EIEC) รุกรานเยื่อบุลาไส้ ก่อให้เกิดการอักเสบของลาไส้ ผู้ป่วยจะมีอาการคล้ายกับโรคบิดที่เกิดจากเชื้อ Shigella แต่ความรุนแรงน้อยกว่า มีอาการไข้ปวดท้อง ถ่ายเหลว อุจจาระมีมูกปนเลือด 4. Enterohemorrhagic E. coli (EHEC) E. coli O157:H7 เป็นสายพันธุ์ที่สร้างสารพิษ Verotoxin การติดเชื้อมักเกิดจากการรับประทานอาหารประเภท เนื้อวัวที่เตรียมไม่สุกดีและมีเชื้อนี้ปนเปื้อนอยู่ การติดเชื้อนอกระบบทางเดินอาหาร การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ • โลหิตเป็นพิษ • ปอดอักเสบ • เยื่อหุ้มสมองอักเสบ • การติดเชื้อที่บาดแผล ( E.coli เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะบ่อยที่สุด )
  • 6. Salmonella แกรมลบ รูปแท่ง เคลื่อนที่ได้ด้วย peritrichous flagella ทาให้เกิดโรคในคนได้3 รูปแบบ 1. โรคไข้เอนเทอริค (Enteric fever) ไข้ไทฟอยด์หรือไข้รากสาดน้อย เกิดจากเชื้อ Salmonella Typhi ไข้พาราไทฟอยด์หรือไข้รากสาดเทียม เกิดจากเชื้อ Salmonella Paratyphi A, B, C 2. โลหิตเป็นพิษ (Septicemia) เชื้อที่เป็นสาเหตุคือ S. Choleraesuis เมื่อรับประทานอาหารที่มีเชื้อนี้ปนเปื้อนเชื้อจากทางเดินอาหารจะรุกล้าเข้าสู่กระแสโลหิตโดยมักไม่ทาให้เกิดพยาธิ สภาพที่ระบบทางเดินอาหาร เชื้อในกระแสโลหิตแพร่ไปอวัยวะอื่นๆ แล้วทาให้เกิด พยาธิสภาพที่อวัยวะนั้นๆ เช่น เยื่อบุหัวใจอักเสบ เยื่อหุ้มสมอง อักเสบ ข้ออักเสบ 3. Gastroenteritis เกิดจากเชื้อ Salmonella สายพันธุ์อื่นที่ไม่ใช่ S. Typhi S. Paratyphi S. Choleraesuis หลังจากรับประทานอาหารที่มีเชื้อนี้ปนเปื้อน8-48 ชั่วโมง ผู้ป่วยจะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง อยู่2-5 วัน
  • 7. Shigella • มีรูปร่างลักษณะคล้าย E.coli แต่ไม่มีแฟลกเจลลาสาหรับเคลื่อนที่ • ส่วนใหญ่ไม่สามารถเฟอร์เม็นต์น้าตาลแล๊คโตส (Nonlactose fermenter on MacConkey agar) • ก่อให้เกิดโรคบิด (Classic bacillary dysentery) เชื้อรุกรานเยื่อบุลาไส้ ก่อให้เกิดการอักเสบของลาไส้ ผู้ป่วยมีอาการ ปวดท้องมาก ปวดเบ่งเวลาถ่าย คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ถ่ายเหลวเป็นมูกเลือด
  • 8. Klebsiella Klebsiella เป็นเชื้อในกลุ่ม superbug ที่สามารถก่อให้เกิดโรคได้หลากหลายขึ้นกับตาแหน่งของ ร่างกายที่ติดเชื้อ Klebsiella คือเชื้อแบคทีเรียที่ปกติจะอาศัยในลาไส้มนุษย์และไม่ก่อให้เกิดโรค แต่หากเชื้อ นี้แพร่ไปอยู่ในตาแหน่งอื่นๆในร่างกาย ก็จะสามารถทาให้เกิดโรคต่างๆขึ้นได้ ก่อให้เกิดโรคเหล่านี้ได้แก่ โรคติดเชื้อในปอด โรคติดเชื้อในกระแสเลือด โรคติดเชื้อที่บาดแผล โรคติดเชื้อที่แผลผ่าตัด โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
  • 9. Serratia Serratia เป็นแบคทีเรียแกรมลบ (Gram negative bacteria) จัดอยู่ในกลุ่มโคลิฟอร์ม (coliform) อยู่ในวงศ์Enterobacteriaceae มีรูปร่างเป็นท่อน และเป็นพวก facultative anaerobe คือเจริญได้ ทั้งในภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจนไม่สร้างสปอร์ ไม่ทนร้อน อาจไม่เคลื่อนที่ หรือ เคลื่อนที่ด้วย peritrichous flagella Serratia เป็นสาเหตุการเสื่อมเสียของอาหาร (microbial spoilage) หลายชนิด เช่น การเสื่อมเสียของ น้านม ทาให้น้านมเปลี่ยนเป็นสีแดง (red rod) และการเสื่อมเสียของเนื้อสัตว์
  • 10. Proteus Proteus เป็นสกุล (genus) ของแบคทีเรียกลุ่มแกรมลบ (Gram negative bacteria) อยู่ใน วงศ์ (family) Enterobacteriaceae มีรูปร่างเป็นท่อน (rod) และ เป็นพวก facultative anaerobe คือ เจริญได้ทั้งในภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจนอาจไม่เคลื่อนที่ หรือ เคลื่อนที่ด้วย peritrichous flagella Proteus เป็นแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุทาให้อาหารเน่าเสีย (microbial spoilage) หลายชนิด เช่น การ เสื่อมเสียของไข่ ไข่ที่มีการปนเปื้อนโดย Proteus ทาให้เกิดการเน่าที่เรียกว่า black rot มีการผลิตและสะสม ของแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์(H2S) มีกลิ่นเหม็นเน่าคล้ายอุจจาระ เนื่องจากการย่อยสลายของโปรตีนในไข่ โดยเกิด กับกรดแอมิโน (amino acid) ที่มีซัลเฟอร์อยู่ในโมเลกุล (sulfur-containing amino acid) เช่น cysteine แก๊สที่เกิดขึ้นอาจทาให้ไข่ระเบิดได้
  • 11. Yersinia enterocolitica Yersinia enterocolitica อาจเขียนย่อว่า Y. enterocolitica คือแบคทีเรียก่อโรค (pathogen) ชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Enterobacteriaceae ย้อมติดสีแกรมลบ (Gram negative bacteria) มีลักษณะเป็นท่อนสั้น (rod-shaped) มีขนาดเล็ก ขนาดประมาณ 0.5-0.8 ไมโครเมตรไม่สร้างสปอร์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญ Yersinia enterocolitica เป็นแบคทีเรียที่ทนอุณหภูมิต่า (psychrotrophic bacteria) เจริญ ได้ดีที่ 25-30 สามารถเพิ่ม จานวนได้ในตู้เย็น ถึงแม้ที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียสเจริญได้ทั้งสภาวะที่มีอากาศและไม่มีอากาศ สามารถพบเชื้อได้ ในเนื้อสัตว์น้านมดิบ และอาหารดิบที่เตรียมไม่สะอาด
  • 12. แหล่งที่พบ Yersinia enterocolitica พบบ่อยในสัตว์เลี้ยงโดยมีหมูเป็นแหล่งแพร่เชื้อสู่คน และยังพบในทางเดิน อาหาร ของสัตว์ต่างๆ เช่น หมู สุนัข แมว นก หนู หมัดหนู รวมทั้ง สัตว์ป่ากระรอกและมักพบในแหล่งน้าธรรมชาติ เช่น ห้วย หนอง บึง ทะเลสาบ น้าอุปโภค บริโภคที่มีการปนเปื้อนจากสิ่งปฏิกูล โรคและอาการของโรค เป็นสาเหตุของโรคที่มีอาหารเป็นสื่อ (foodbrone disease) คือโรคเยอชินิโอซีส (Yersiniosis) มักพบในประเทศเขตหนาวปริมาณเชื้อที่ทาให้เกิดโรค (infective dose) เมื่อผ่านเข้าสู่ทางเดินอาหาร จะเพิ่มจานวนในลาไส้ ทาให้เกิดโรคเยอชินิโอซีส ซึ่งเกิดจากสารพิษ enterotoxin ที่ทน ต่อความร้อน เรียกว่า มีอาการกระเพาะและลาไส้อักเสบ อาการสาคัญ คือ ท้องเสีย (diarrhea) อาจมีการอาเจียน (vomiting) มีไข้และปวดท้อง อาการคล้ายไส้ติ่งอักเสบ (appendicitis) ทาให้อาจวินิจฉัย ผิดว่าเป็นไส้ติ่งอักเสบอาจทาให้เกิดการติดเชื้อที่บริเวณอื่น เช่น ผิวหนังมีผื่นแดง และทางเดินปัสสาวะอักเสบ
  • 13. ระยะเกิดอาการ คือ 24 ถึง 48 ชั่วโมง หลังรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อ แต่อาจเกิดขึ้นหลังจากได้รับ เชื้อ 3-7 วันอาการปวดท้องปานกลาง และปวดท้องเรื้อรังเกิดขึ้นต่อเนื่อง 2-3 วัน ในบางรายอาจเป็นนาน 1-2 สัปดาห์ ส่วนใหญ่ผู้ป่วย จะไม่เสียชีวิตนอกจากมีโรคแทรกซ้อนอื่น ผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงคือเด็กทารก คนชรา รวมทั้งผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่อง อาหารที่เกี่ยวข้อง กับเชื้อแบคทีเรีย Y. enterocolitica คือ เนื้อสัตว์เช่น เนื้อหมู (pork) เนื้อวัว (beef) เนื้อแกะ (lamb) และผลผลิตจากสัตว์เช่น น้านมดิบ (raw milk) นอกจากนี้ยัง อาจปนเปื้อนในสัตว์น้า เช่น ปลา หอยนางลม (oyster) หอยแมงภู่ โดยปนเปื้อนอาจมาจากดิน แหล่งน้าที่ปนเปื้อน หรือสัตว์ที่มีเชื้อ หรืออาจเกิดจากการสุขาภิบาลที่ไม่เหมาะสม ทาให้ เกิดการปนเปื้อนข้าม (cross contamination)
  • 14. Enterobacteriaceae Enterobacteriaceae มีทั้ง oxidation คือ เปลี่ยนสารประกอบคาร์บอนให้ได้คาร์บอนไดออกไซด์ น้า และพลังงาน และการหมัก (fermentation) ซึ่งได้กรดและ/หรือแอลกอฮอล์ สามารถสร้างกรดขึ้น จากการหมักน้าตาลกลูโคส (glucose) สร้างเอนไซม์ Catalaseได้ (catalase-positive) และสามารถ เปลี่ยนไนเทรด (nitrate) ให้เป็นไนไทรต์ (nitrate) โดยอาศัยปฏิกิริยารีดักชัน (reduction reaction) แบคทีเรีย กลุ่มนี้เป็นได้ทั้งจุลินทรีย์ก่อโรคจริง และจุลินทรีย์ก่อโรคแบบฉวยโอกาสในสภาวะที่ ร่างกายอ่อนแอ จีนัสที่พบเป็นเชื้อก่อโรคจริง
  • 15. จัดทาโดย นางสาวสายสุดา เถาวัลย์ 593046080 นางสาวสิริยากร สายศรี 593046081 นางสาวสิริรัตน์ ศรีแสนตอ 593046082 นางสาวสุชาดา พิมพ์จันทร์ 593046084 นางสาวสุดาพร จักรแก้ว 593046085 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงสาขา วิชา เวชระเบียน ชั้นปีที่ 2