SlideShare a Scribd company logo
1 of 79
THA46
4
ครั้งที่ 2
วัฒนธรรมคืออะไร ?
นักศึกษาคิดว่า ความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรม
นาไปสู่ผลดีหรือผลเสีย เพราะอะไร?
การมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่ง ผิดหรือไม่
อภิปรายก่อนเรียน
https://www.youtube.com/watch?v=1JF_Wo5wpNk
วัฒนธรรม
culture - - >cultura (ภาษาลาติน)
ซึ่งแตกมา จากคําว่า colere หมายถึง การ
เพาะปลูกและบํารุงให้เจริญงอกงาม (cultivate)
แปลว่าการฝึก หรือการทาให้ประณีตขึ้น ซึ่งจิตใจ
รสนิยม จริตอัธยาศัย สภาพแห่งการที่ ได้รับการ
อบรมหรือทาให้ประณีตขึ้นดังกล่าว
ภาคสติปัญญาของอารยธรรม
วัฒนธรรม : รากศัพท์ภาษา บาลีและสันสกฤต
• วฒฒน (วัฒน) หมายถึง ความเจริญ งอกงาม
• ธรม (ธรรม) หมายถึง ความดี ความงาม
กฎระเบียบ ข้อปฏิบัติ
• วัฒนธรรม หมายถึง ความดี
คาว่า วัฒนธรรม สาหรับคนไทย?
สมัยที่รัฐบาลของจอมพล ป.พิบูลสงครามเป็น
นายกรัฐมนตรีในตอนแรก
• พระมหาหรุ่น แห่งวัดมหาธาตุ ได้แปล ไว้ว่า
“ภูมิธรรม”
• กรมหมื่นนราธิป พงษ์ประพันธ์ “ภูมิธรรม” มีความหมาย
ค่อนข้างคงที่ อยากให้มีความหมายในลักษณะที่เคลื่อนไหว
เปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
• จึงทรงแปลใหม่เป็น “วัฒนธรรม” และมีการนามาใช้สืบต่อมา
(กรมศิลปากร : 12)
• คาว่า”วัฒนธรรม” มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่า ธรรมเป็น
เหตุให้เจริญ หรือ ธรรมคือความเจริญ
ความหมายอื่น ๆ ของคาว่า วัฒนธรรม
“ความดีความงาม และความเจริญในชีวิตมนุษย์ซึ่งปรากฏ
ในรูปธรรมต่าง ๆ และ ได้ตกทอดมาถึงเราในปัจจุบันหรือว่า
ที่เราได้ปรับปรุงและสร้างสรรค์ขึ้นในสมัยของเราเอง”
ศ.ดร.สาโรจ บัวศรี, มปป
“ หมายถึงวิถีชีวิต การปฏิบัติและสิ่งของที่เป็นผลมาจาก
การสะสมถ่ายทอดจากกลุ่มบุคคล หนึ่งไปสู่รุ่นถัดไป เพื่อ
แสดงความเป็นเอกลักษณ์หรือเครื่องบ่งชี้ความเป็นกลุ่ม
ชนของกลุ่มบุคคลนั้น ๆ ”
ดร.โกวิท ประวาลพฤกษ์
“ คือสิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลงปรับปรุงหรือผลิตขึ้นสร้างขึ้นเพื่อความเจริญงอกงามใน
วิถีชีวิตของส่วนรวม ถ่ายทอดกันไว้เอาอย่างกันไว้รวมทั้งผลิตผลของส่วนรวมที่
มนุษย์ได้เรียนรู้มาจากคนแต่ก่อน สืบต่อเป็นประเพณีกันมาตลอดจนความรู้สึก
ความคิดเห็น และกริยาอาการหรือการกระทาใด ๆ ของ มนุษย์ในส่วนรวม ลงรูปเป็น
พิมพ์เดียวกัน และสาแดงออกมาได้เป็นภาษา ศิลปะ ความเชื่อถือ ระเบียบ
ประเพณี เป็นต้น ”
พระยาอนุมานราชธน
นักมานุษยวิทยา
ปลายศตวรรษที่ 19 ศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมทั่วโลก
ลักษณะพื้นฐานที่สําคัญของวัฒนธรรม
1.วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (sheredidias)
และค่านิยมทางสังคมเป็นตัวกําหนดมาตรฐาน พฤติกรรม
2.วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (cultureislearned)
ทีละเล็กทีละน้อยจากกราเกิดในสังคม หนึ่ง เปรียบเสมือนเป็น
“มรดกสังคม”
3. วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (symbol)
พฤติกรรมมนุษย์มีต้นกาเนิดมาจาก การใช้สัญลักษณ์ ใน
ชีวิตประจําวัน เช่น เงินตรา สัญญาณจราจร สัญลักษณ์ทาง
ศาสนาและภาษามนุษย์เรียนรู้และถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นต่อไป
4.วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภมูิปัญญาทําหน้าที่
ตอบสนองความต้องการพื้นฐาน ของมนุษย์วางกฎเกณฑ์แบบแผนใน
ในการดําเนินชีวิตการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม
5.วัฒนธรรมคือกระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับ ชีวิตและ
สิ่งต่างๆ
6. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาซึ่ง
มีสาเหตุมาจากหลาย ประการเช่นการกระจายวัฒนธรรมการ
เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีวัฒนธรรมใดที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้
ทันก็อาจจะเกิดปรากฏการณ์ “วัฒนธรรมล้า” (culture lag)
ทําให้มนษุย์ในสังคมนั้นเกิด “การแปลกแยก” (alienation)
คำจำกัดควำมของวัฒนธรรมมักจะเน้นถึงระบบควำมเชื่อ
(beliefsystem) และ ค่ำนิยมทำงสังคม (socialvalues) วัฒนธรรม
ไม่ใช่พฤติกรรมที่สังเกตเห็นได้แต่เป็นระบบควำมเชื่อที่อยู่
เบื้องหลังพฤติกรรมมนุษย์
วัฒนธรรมคือระเบียบกฎระเบียบหรือ
มำตรฐำนของพฤติกรรมที่คนในสังคมยอมรับ
เป็นวิถีชีวิต (way of life) ของคนในสังคม
(ศ.ยศ สนัตสมบัติ. (2544) : 11)
วัฒนธรรม ในความหมายทางสังคมวิทยา
Tyler (1871)
• Style of life/ the way of life
• Everything in the World
วัฒนธรรมในความหมายตามกระทรวงวัฒนธรรม
วัฒนธรรมคือวิถีชีวิตซึ่ง มีทั้งที่เป็นนามธรรมและรูปธรรมเป็น
สิ่งที่จับต้องมองเห็นได้
- วัฒนธรรมที่เป็นรูปธรรมจะปรากฏในรูปของวัตถุส่วน -
วัฒนธรรมที่เป็นนามธรรมคือพฤติกรรมและที่จับต้องหรือ ยากที่
จะมองเห็นได้ในทันที ได้แก่ความรู้สึก คุณค่า ปรัชญา ความเชื่อ
และสิ่งศักดิ์ สิทธิ์
นักศึกษาสรุปโดยความคิดของตนเองว่า วัฒนธรรม คืออะไร?
สรุป ได้ว่า
วัฒนธรรมคือทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์ สร้างขึ้นจาก
กระบวนการเรียนรู้ของมนุษย์ ได้แก่ การรู้จักคิด รู้จักใช้
รู้จักถ่ายทอด ซึ่งเป็นลักษณะสาคัญที่ทาให้มนุษย์มี
ความแตกต่างจากสัตว์ เพราะว่าสิ่งที่สัตว์กระทาถือว่า
เป็นสัญชาตญาณ มิใช่การเรียนรู้
วัฒนธรรม จะพัฒนา ไปได้อย่างไร???
1. มีเสรีที่ไม่ต้องตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมโดยสัญชำติญำณ
2. ควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้
3. กำรคิดออกมำเป็นสัญลักษณ์
4. มีภำษำ
5. สำมำรถประดิษฐ์สิ่งใหม่ (Invention)
(ปฬำณี ฐิติวัฒนำ อ้ำงถึง Ashley Montagu)
ความสาคัญของวัฒนธรรม
1. เพื่อสนองควำมต้องกำรพื้นฐำน ได้แก่ ปัจจัย 4 ใน กำรครองชีพ
2.เพื่อควำมเรียบร้อยของสังคม ได้แก่ กำรปกครอง
3. เพื่อผลทำงจิตใจ ได้แก่ ศำสนำ
4. เพื่อควำมสดชื่นในชีวิต ได้แก่ สุนทรียภาพ
5. เพื่อกำรสื่อสำรควำมรู้ ได้แก่ กำรศึกษำ
ประเภทของวัฒนธรรม
1.Material Culture : รูปธรรม หรือ วัตถุธรรม
เป็น วัฒนธรรมที่สัมผัสได้ (tangible culture)
2.Non-material Culture : นามธรรม เป็นวัฒนธรรมที่
สัมผัส ไม่ได้(intangible culture) หรือวัฒนธรรมที่ไม่ใช่
วัตถุ เช่น สถาบันทางสังคม ค่านิยม ภาษา ฯลฯ แบ่งเป็น
2.1 คติธรรม เกี่ยวข้องกับคุณงามความดี จิตใจหรือคุณธรรม ในชีวิต
2.2 เนติธรรม เกี่ยวกับประเพณีและกฎหมาย
2.3 สหธรรม เกี่ยวข้องกับมารยาทในการอยู่ร่วมกันในสังคม
การจาแนกประเภทของวัฒนธรรมแบบอื่นๆ
สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2413 -- > 5 สาขา
1.1 สาขามนุษยศาสตร์ ได้แก่ ขนมธรรมเนียมประเพณี คุณธรรม ศีลธรรม
จริยธรรม ศาสนา ปรัชญา ประวัติศาสตร์ โบราณคดี มารยาท ในสังคม
การปกครอง กฎหมาย ฯลฯ
1.2 สาขาศิลปะ ได้แก่ ภาษา วรรณคดี ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ฯลฯ
1.3 สาขาการช่างฝี มือ ได้แก่ การเย็บปักถักร้อย การแกะสลัก
การทอผ้า การจักสาน เครื่องเงิน เครื่องทอง การจัดดอกไม้
การประดิษฐ์เครื่องปั้นดินเผา ฯลฯ
กระทรวงวัฒนธรรม (2552) ได้จำแนกวัฒนธรรม ดังนี้
1.รูปแบบของวัฒนธรรมที่เป็นมรดก (heritage culture)
2.วัฒนธรรมที่เป็นวิถีชีวิต (living culture)
3.วัฒนธรรมที่สร้ำงสรรค์(creative culture)
สาเหตุของการเกิดวัฒนธรรม
ความต้องการของมนุษย์ 3 ประการ คือ
1. ควำมต้องกำรที่จะได้รับกำรตอบสนองทำงชีววิทยำ (biological needs) ซึ่ง
เป็นควำมต้องกำรพื้นฐำน คือ ปัจจัย 4
2. ควำมต้องกำรทำงสังคม (social needs) เนื่องจำกกำรอยู่ร่วมกันของ คน
กำรแบ่งหน้ำที่ กำรร่วมมือกันแก้ไขปัญหำพื้นฐำน ก่อให้เกิด วัฒนธรรม
คือ กำรจัดระเบียบทำงสังคม (social organization)
3. ควำมต้องกำรทำงจิตใจ (psychological needs) ซึ่งวัฒนธรรมที่มำ
ตอบสนองควำมต้องกำร คือ ระบบควำมเชื่อ (ลัทธิ/ศำสนำ)
งามพิศ สัตย์สงวน (2543)
ลักษณะของวัฒนธรรม
1.เกิดจากการเรียนรู้ คิดค้นของสมาชิกในสังคม : ไม่ได้เกิดตาม
สัญชาตญาณแต่เกิดจากการอยู่ร่วมกันของมนุษย์
2. มีการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น : socialization
3.เกิดขึ้นเพื่อสนองความต้องการของคนในสังคม
4. วัฒนธรรมมีความหลากหลายแตกต่างกัน เพราะแต่ละสังคมมี
สภาพแวดล้อมแตกต่างกัน เช่น วัฒนธรรมชาวเขา ชาวเล ชาวนา
5.เป็นแบบแผนในการดํารงชีวิตอยู่ร่วมกัน : สร้างความเป็น
เอกลักษณ์ของสังคมนั้น
6.มีการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงอยู่เสมอ : เกิดจากการ
ประดิษฐ์ คิดค้น การยืม ผสมผสาน และการแพร่กระจาย
วัฒนธรรม
7. วัฒนธรรมมีทั้งระดับใหญ่และระดับรอง หมายถึง
วัฒนธรรม โลก กาหนดให้เป็นอารยธรรม วัฒนธรรม
ประจาชาติ วัฒนธรรม ท้องถิ่น
การผสมผสานทางวัฒนธรรม
การประดิษฐ์ คิดค้น
การแพร่กระจาย
การยืม
วัฒนธรรมอื่น
การเปลี่ยนแปลงทาง
วัฒนธรรม
ปัจจัยการผสมผสานวัฒนธรรม
1. การที่อยู่อาศัยใกล้ชิดกัน
2. การย้ายถิ่นที่อยู่อาศัย
3. .การทูตและการค้า
4. การสมรสระหว่างผู้ต่างวัฒนธรรม
5. ความเจริญทางด้านเทคโนโลยี และการคมนาคม
6. อิทธิพลของสื่อมวลชน
7. สงคราม
ผลจากการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม มี 2 ด้าน
1. ด้านบวก : ทําให้เกิดการพัฒนา ความเป็นอยู่
สะดวกสบายขึ้น
2. ด้านลบ : เกิดปัญหาการปรับตัว ปัญหาสังคม
ลักษณะสาคัญของวัฒนธรรมไทย
1.นับถือระบบเครือญาติ มีค่านิยมเคารพผู้อาวุธโส
2.ยึดถือในบุญกุศล เชื่อในกฎแห่งกรรมตามหลัก
พระพุทธศาสนา มีไมตรีจิตต่อผู้อื่น ชอบทําบุญตาม
โอกาสสําคัญของชีวิต
3. มีแบบแผนพิธีกรรมในการประกอบกิจการหรือ
ประเพณีต่าง ๆ ตังแต่เกิด จนตาย
4. มีวิถีชีวิตเกษตรกรรม ยอมรับความสําคัญของธรรมชาติ
5. นิยมความสนุกสนาน ดําเนินชีวิตแบสบายๆ
6. เป็นวัฒนธรรมแบบผสมผสาน (ไทย จีน ฝรั่ง แขก ฯลฯ)
7. ยึดมั่น จงรักภักดี เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
Thai Culture and Behavior (Ruth Benedict,1943)
1. คนไทยรักสนุก
“...คนไทยรักชีวิตสนุกสนานและการสังสรรค์บุคลิกของคนไทยแทบ ไม่มีความ
กังวลต่อปัญหายุ่งยากใดๆ คนไทยมีความสุขโดยไม่เอาใจ ใส่ต่อสิ่งใดๆ ความ
สนุกสนานและการจัดงานรื่นเริงในรูปแบบของ งานบุญและงานนักขัตฤกษ์
เป็นสิ่งสาคัญในชีวิตของคนไทยและ วัฒนธรรมไทย คนไทยชอบดื่มเหล้าเพราะ
เหล้าทาให้สบายใจ ไม่มี ความรู้สึกหดหู่...”
2. คนไทยชอบทาบุญ
“...คนไทยเน้นความสุขในโลกนี้มากกว่าสนในในชีวิตหน้า การ
ทาบุญ ของคนไทยเป็นการกระทามิใช่เพื่อบรรลุถึงโลกุตระ หากแต่
เป็นหลัก จริยธรรมเกี่ยวกับการดาเนินชีวิตที่ซึ่งเป็นพื้นฐานในพุทธ
ศาสนาของ ไทย การทาบุญเป็ นกิจกรรมร่วมกับเพื่อนบ้าน เป็น
กิจกรรมที่ สนุกสนานเพลิดเพลิน ก่อให้เกิดมิตรภาพอันดีในชุมชน...”
3. คนไทยรักสงบ ใจเย็น อ่อนน้อม
“...คนไทยไม่ชอบแสดงออกซึ่งความโกรธและความรุนแรง
หลีกเลี่ยง การใช้อารมณ์และการทะเลาะวิวาทในที่ชุมชน คนไทย
มีบุคลิกภาพใจ เย็น นับถือผู้หลักผู้ใหญ่และอ่อนน้อม พยายาม
หลีกเลี่ยงการขัดแย้ง และการเผชิญหน้ากับผู้อื่น...”
4. ผู้ชายเป็นใหญ่ในสังคม
“...การสั่งสอนของพุทธศาสนาและการที่ชายมีสิทธิ์ ในการบวช
เป็น ภิกษุสงฆ์ ส่งเสริมฐานะของผู้ชายให้สูงกว่าผู้หญิง ผู้ชาย
เป็นผู้นาและ มีอานาจทางสังคม ในขณะที่ผู้หญิงต้องเชื่อฟังพ่อ
แม่และสามี มีหน้าที่ ในการดูแลบ้านเรือน เลี้ยงลูกและ
ปรนนิบัติสามี...”
ลักษณะสังคมไทยจากสุภาษิต
สุภาษิตนับเป็นสิ่งที่แสดงภูมิปัญญา (Folk wisdom)
ของสังคมได้ อย่างหนึ่ง เพราะได้ผ่านการกลั่นกรองและ
พัฒนามาหลายชั่วอายุคน
สุภาษิตเกี่ยวกับคนแต่ละคน
• ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสาร
• ผู้หญิงยิงเรือผู้ชายพายเรือ
• ชาติเสือต้องไว้ลายชาติชายต้องไว้ชื่อ
• ชายเป็นช้างเท้าหน้าหญิงเป็นช้างเท้าหลัง
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย
สาเหตุที่ต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม มีดังนี้
1.การคิดค้นวิทยาการและการแสวงหาผลประโยชน์จากต่างชาติ
2.กระแสโลกาภิวัตน์(globalization)
1)ข้อมูลข่าวสารจากต่างประเทศ
2)2) ลัทธิบริโภคนิยม
การคิดค้นวิทยาการและการแสวงหาผลประโยชน์ จากต่างชาติ
ประเทศที่ต้องพึ่งพาวิทยาการจากต่างประเทศ
จาเป็นต้อง รู้เท่าทันวัฒนธรรมต่างประเทศด้วย
เพื่อนาไปปรับปรุงให้ เหมาะกับวัฒนธรรมของตน
และป้องกันการครอบงาของ ต่างชาติ
กระแสโลกาภิวัตน์: ข้อมูลข่าวสารจากต่างประเทศ
ข้อมูลข่าวสารอาจจะมีสาระที่เป็นอันตรายต่อ
ความเชื่อและ พฤติกรรมของเยาวชน ก่อให้เกิด
ค่านิยมฟุ้งเฟ้อ การมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
กระแสโลกาภิวัตน์: ลัทธิบริโภคนิยม
ได้แก่ อาหาร การแต่งกาย การใช้อินเทอร์เน็ต การบริโภค
ข้อมูล ข่าวสารจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และ การค้า
ขายทาง อิเล็กทรอนิกส์ ทาให้เกิดการหมกมุ่นต่อสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ แต่งกาย ล่อแหลม ความรุนแรงละเมิดซึ่งกัน
และกัน บริโภคอาหารขาดคุณค่า ทางโภชนาการ
การเลือกรับวัฒนธรรม
หลักในการเลือกรับวัฒนธรรม
1.ศึกษาวัฒนธรรมไทยให้เข้าใจตนเอง : เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้คนไทยให้ เข้าถึง
และเข้าใจวัฒนธรรม ภูมิปัญญา อันเป็นมรดกของชาติ
2. เรียนรู้วัฒนธรรมสากล : เพื่อรู้เท่าทันโลก เช่น ภาษา เทคโนโลยี ฯลฯ
3. เลือกรับวัฒนธรรมสากลในกระแสโลกาภิวัตน์ที่เป็นประโยชน์ : รับ
วิทยาการ ความเจริญต่าง ๆ ควรศึกษาผลกระทบที่เกิดให้รอบด้านเป็นไป เพื่อ
ประโยชน์ ความสมานฉันท์ ของสังคมโดยรวม
4.ปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบททางสังคม : รักษาความเป็นตัวของตัวเอง ปรับ
ให้เข้ากับตน ไม่ใช่การลอกเลียนแบบ
ผลของลัทธิบริโภคนิยม
วัฒนธรรม กลายเป็น สินค้า
ผลกระทบด้านลบ กลุ่มธุรกิจการท่องเทียวที่มุ่งแต่การทา
“รายได้” และ “กาไร” ทางวัตถุเป็น สาคัญ โดยไม่คานึงถึง
คุณค่า ความงดงามที่ละเอียดอ่อนของวัฒนธรรมวิถีชีวิต
ประกอบกิจการอย่างสุขเอา เผากิน สร้างความกดดัน
ให้กับศิลปินท้องถิ่น ทาให้คุณค่าของศิลปะการแสดงถูก
ลดคุณค่าลง และ นักท่องเที่ยวได้สัมผัสรับรู้ในสิ่งที่ขาด
คุณภาพ ไม่น่าประทับใจ
ผลกระทบด้านบวก
ธุรกิจท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ได้แก่ การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมมีผู้เกี่ยวข้อง
ที่ค่อนข้างมีคุณภาพ ไม่ว่ามักคุเทศที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมิติสัมพันธ์ทาง
วัฒนธรรม รู้จักแหล่ง วัฒนธรรมที่มีคุณค่าสาหรับการอวดนักท่องเที่ยว และ
นักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ สนใจเรียนรู้ และเคารพใน วัฒนธรรมที่แตกต่าง นอกจาก
เกิดการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่นแล้ว ยังเป็นการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ภูมิ ปัญญา
ท้องถิ่น ช่วยต่อลมหายใจกับบางอาชีพที่ไม่ได้รับความสนใจจากคนรุ่นใหม่ หรือช่วย
ส่งเสริมอาชีพที่ ที่ไปได้ดีอยู่แล้วให้มั่นคงยิ่งขึ้น
การผลิตซ้า

More Related Content

What's hot

หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Gob_duangkamon
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
อำนาจ ศรีทิม
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
Nattapon
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
ขนิษฐา ทวีศรี
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
Issara Mo
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
thnaporn999
 

What's hot (20)

หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
66 (1)
66  (1)66  (1)
66 (1)
 
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรมใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนเรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
 
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 

Similar to Tha464 2.1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
krusuparat01
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
สถาบันราชบุรีศึกษา
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
Rayoon Singchlad
 
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมวัฒนธรรม
วัฒนธรรม
thnaporn999
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
korakate
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
Rachabodin Suwannakanthi
 

Similar to Tha464 2.1 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
Kanokwan kanjana 5 2 20
Kanokwan  kanjana 5 2 20Kanokwan  kanjana 5 2 20
Kanokwan kanjana 5 2 20
 
Kanokwan kanjana 5 2 20
Kanokwan  kanjana 5 2 20Kanokwan  kanjana 5 2 20
Kanokwan kanjana 5 2 20
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
 
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมวัฒนธรรม
วัฒนธรรม
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 

More from SasiwimolKongsuwan (9)

Tha464 6
Tha464 6Tha464 6
Tha464 6
 
Tha203 6
Tha203 6Tha203 6
Tha203 6
 
Tha203 5
Tha203 5Tha203 5
Tha203 5
 
Tha464 5
Tha464 5Tha464 5
Tha464 5
 
Tha464 3
Tha464 3Tha464 3
Tha464 3
 
Tha203 3
Tha203 3Tha203 3
Tha203 3
 
Tha464 1
Tha464 1Tha464 1
Tha464 1
 
Tha203 1
Tha203 1Tha203 1
Tha203 1
 
Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
Tha203 2
 

Tha464 2.1