SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
THA464 ครั้งที่ 6
ทดสอบย่อย
ประเพณีและพิธีกรรม มีความสาคัญต่อ
สังคมอย่างไร
ประเพณีและพิธีกรรม มีความหมายแต่ก
ต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับประเพณี
ความหมายของ “ประเพณี”
คาว่า “พิธีกรรม” ประกอบกันขึ้นจาก 2 คาคือ “พิธีกับ กรรม” คาว่า “พิธี” เป็นคานาม
หมายถึง งานที่จัดขึ้น ตามลัทธิความเชื่อ ตามขนบธรรมเนียมความขลังหรือความเป็น
สิริมงคล เช่น พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พิธีมงคลสมรส พิธีประสาท
ปริญญา
พิธี + กรรม
คาว่า “กรรม” เป็นคานามเช่นกัน หมายถึง การงาน การกระทา
“พิธีกรรม” มีความหมายว่า การบูชา แบบอย่าง หรือ แบบแผน หน่วยงานที่ปฏิบัติในทาง
ศาสนา หรือหมายถึง การงานที่เกี่ยวข้องกับพิธีและแบบหนังสือทางการทูต กรรมวิธี
ทางการทูต
เมื่อกล่าวโดยสรุป คาว่า “พิธีกรรม” นั้น จึงหมายถึง
“แนวทาง หรือ วิธีทางานพิธีต่างๆ ตามที่ได้กาหนดไว้ให้ถูกต้อง”
Oxford (A.S. Hornby,2002, p 1106)
คาว่า หรือ พิธีกรรม (ritual) หมายถึง การกระทาหลากหลายที่ทา
ประจาโดยเฉพาะกิจกรรมทางศาสนาและ ประเพณี
เอริค รอตเทนบูเลอร์ (Rothenbuhler, E.W., 1998, pp. 3-27) ได้ให้คานิยามไว้ว่า
“พิธีกรรม” หมายถึง การแสดงอย่างมีเจตนาของแบบแผนพฤติกรรม
บางอย่างซึ่งเป็นสื่อสัญลักษณ์ อันมีผลกระทบหรือมีส่วนร่วมในชีวิตสังคม
กาญจนา แก้วเทพ (๒๕๔๙, หน้า ๒๘ - ๒๙)
กล่าวว่า “พิธีกรรม” ในฐานะที่เป็นการ แสดงแบบหนึ่ง ก็มีองค์ประกอบการ
แสดงครบถ้วน ทั้งตัวละคร ฉาก การกระทา บทเจรจา ดนตรีประกอบ
รวมถึงแก่นเรื่อง บ่อยครั้งที่เราพบว่าการแสดงออกทางพิธีกรรมมักมีปัจจัย
ด้านคุณค่า และความงามเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
ความหมายของ ประเพณี
ดนัย ไชยโยธา (2546 : 117)
ประเพณีหมายถึงแบบความคิดความเชื่อการกระทําความนิยม ทัศนคติ
ศีลธรรม จารีต ระเบียบแบบแผนที่ กระทําในโอกาสต าง ๆ ลักษณะสําคัญ
ของประเพณีคือ สิ่งท ีีีปฏิบัติเชื่อถือมานานจนกลายเป นแบบอย าง
ความคิดหรือการกระทําท ีีีได สืบต อกันมาและยังมี อิทธิพลอยู ในป
จจุบัน ซึ่งเป นที่ยอมรับของ
ส วนร วม สิ่งใดเมื่อประพฤติซ้ํา ๆ กันอยู บ อย ๆ จนเป นความเคย
ชินก็เกิดเป นนิสัยขึ้นมา ความประพฤติเหมือนๆ กันเป นส วนใหญ ใน
หมู คณะ เรียกว า ประเพณีหรือนิสัยสังคม
หรืออาจกล าวได ว า ประเพณีคือความประพฤติของคนส
วนรวมที่ถือกัน เป นธรรมเนียม หรือเป นระเบียบแบบแผน
และสืบต อกันมาจนเป นพิมพ เดียวกัน และยังคงอยู ได
เพราะมีสิ่งใหม เข ามา
ช วยเสริมสร างสิ่งเก าอยู เสมอและกลมกลืนเข ากันได
ดีจนทําให ประเพณีเดิม ยังคงอยู ต อไปได
บรรเทิง พาพิจิตร (2549 : 78)
ประเพณีคือ สิ่งที่คนในสังคม ส วนรวมสร างขึ้นให เป
นมรดกที่ผู้
เป นทายาทจะต องรับไว และปรับปรุงแก ไขให ดียิ่งๆ
ขึ้นไป รวมทั้งมีการเผยแพร แก คนในสังคมอื่นด วย รูป
ลักษณ สําคัญๆ ของประเพณี เท าที่เราพอจะ มองเห็นได มี
ดังนี้
1.เป นสิ่งที่ยึดถือร วมกันของกลุ มชน
2.มักเป นพิธีการ
3.มักเป นการกระทําที่มีการแสดงออกทางอารมณ ทํากันอย าง
เอิกเกริก หรือทําอย างตั้งใจมาก
4.มักเป นสิ่งที่ทําให คนมีความรู สึกว าตนมีข อผูกมัดต
อสังคม หรือคนมีความ รับผิดชอบชั่วดี
5. มักเกี่ยวกับความเชื่อของกลุ มชน ในเรื่องของอํานาจเหนือมนุษย
6.มักเป นพิธีการขอความช วยเหลือ หรือการบูชาคุณที่กลุ
พิธีกรรมที่พบในสังคมไทยอาจแบ่งออกได้เป็น ๔ ประเภท
คือ
๑)พิธีกรรมตามเทศกาล
๒)พิธีกรรมที่เกี่ยวกับวงจรชีวิต
๓)พิธีกรรมที่เกี่ยวกับการท ามาหากิน และ
๔)พิธีกรรมที่เกี่ยวกับชุมชนหรือท้องถิ่น
ประเพณี (Tradition)
VS
พิธีกรรม (Rite)
แสงอรุณ กนกพงศ ชัย (2548 : 87)
“คําว า ประเพณี (Tradition) กับคําว า พิธีกรรม (Rite)
มีความหมายใกล เคียงกัน มาก บางครั้งก็ใช ในความหมาย
เดียวกัน แต เท าที่ผ านมา คําแรกน าจะมีความหมายกว
างกว าคือ กินความไปถึงวิถีชีวิต ในขณะที่คําว า พิธีกรรม
มีความหมายไปในเชิงพิธีกรรม หรือกิจกรรมเฉพาะกิจมากกว
า”
ความสาคัญของประเพณีและพิธีกรรม
1. เป นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ
คนเราไม่ว่าจะอยู่ในยุคใด สมัยใด เมื่อประสบปัญหาอปุสรรคต่าง ๆ ก็มักจะเกิดภาวะ
ความเครียดและเกิดความกังวล สภาวะจิตใจที่ไม่มั่นคง โดยมากจะมี ผลต่อร่างกาย บั่นทอน
สุขภาพที่อาจทาให้เกิดความเจ็บป่วยทางกายหรือทางจิตประสาทก็ได้การทา พิธีกรรมหรือ “พิธี”
เป็นการแก้ไขเรื่องร้ายให้กลายเป็นดี ทาให้จิตใจสบายขึ้น ผ่อนคลายความ ตึงเครียดและสร้าง
ความมั่นคงเข้มแข็งขึ้น
2. เป นสิ่งควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม
ข้อตกลงการอยู่ร่วมกันของสมาชิกในสังคมเพื่อให้อยู่ร่วมกันได้อย่างสงบ สันติ
3. เป็นสัญลักษณ์ชี้นาให้เข้าสาระสาคัญของชีวิต
ประเพณี พิธีกรรมย่อมมีแบบแผน รูปแบบแฝงอยู่ตามขั้นตอนของการประกอบการกระทานั้นๆขึ้นมา
4. เป็นเครื่องผูกพันความเป็นพวกเดียวกัน
5. เป็นเครื่องมือผสมผสานความเชื่อต่างๆ เข้าด้วยกัน
การศึกษาโครงการสังคม
Radcliff – Brown อธิบายว า
พิธีกรรม ความเชื่อและเทพนิยายต างๆ ของชาวอันดามันว า เป
นส วน หนึ่งของระบบศาสนา ซึ่งมีหน าที่เสริมสร างความรู สึกเป
นอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในสังคม พิธีกรรมช วยเสริมสร าง “อา
รมณ ร วม” (Collective Emotions) และช วยควบคุมความประพฤติ
ของ สมาชิกสังคมให อยู ในกรอบของจารีตประเพณี
กล าวอีกนัยหนึ่งคือ พิธีกรรมมีหน าที่หลักในการ ช วยบํารุงรักษา
ความสามัคคี กลมเกลียว ระหว างสมาชิกสังคม ส วนการตอบสนอง
ความ ต องการด านจิตใจนั้น เป นหน าที่ รองลงมาของพิธีกรรม
Bronislaw Malinowski
เสนอว ามนุษย มีความต องการ
พื้นฐาน ซึ่งจะต องได รับการตอบสนองจาก
สังคม โดยแบ ง
ความต องการของมนุษย ออกเป น 3
ประเภท
1.ความต องการพื้นฐานทางร างกายและจิตใจ
(basic biological and psychological)
2. การตอบสนองร วมกันของสมาชิกในสังคม (instrumental
needs)
หมายถึง การทํางานร วมกันของสมาชิกในสังคม เพื่อตอบสนอง
ต อความต องการพื้นฐานทางร างกายและจิตใจ การทํางานร
วมกันของสมาชิกในสังคมก อให เกิดการจัดตั้งองค กร
และสถาบันสังคม
ต างๆ ขึ้นมา
3. ความต องการเชิงสัญลักษณ Symbolic
needs) ความต องการประเภทนี้ได รับการ
ตอบสนองโดยการพัฒนาระบบวิทยาศาสตร
ศาสนา ไสยศาสตร และศิลปะขึ้นในสังคม
มนุษย เป นสัตว ประเภทเดียวที่สามารถสะสมความรู และประสบกา
รณ และรวบรวมให เป นระบบ เพื่อนําไปใช ดัดแปลงแก ไขวิถีชีวิตของ
ตนต อไปในภายภาคหน า
ระบบความรู หรือวิทยาศาสตร ทําหน าที่ตอบสนองความต องการใน
การเรียนรู และเข าใจปรากฏการณ ธรรมชาติ ทวาหากวิทยาศาสตร ไม
สามารถอธิบายปรากฏ
การณ บางอย าง เช น “ภูเขาไประเป ด ฟ าผ า มนุษย ก็คิดค
นระบบไสยศาสตร และศาสนาขึ้นมาแทนที่ เพื่ออธิบายปรากฏการณ เหล
านั้น และเพื่อช วยให มนุษย มีความเข าใจและมี ความรู สึกปลอดภัย
นอกจากนั้นศาสนาและพิธีกรรมต าง ๆ ยังมีหน าที่เสริมสร างความเป
นนํ้าหนึ่ง ใจเดียวกัน และความร วมมือระหว างสมาชิกในสังคม
พิธีกรรมเกี่ยวกับการทานา
พิธีแรกไถ พิธีแรกหว านข าว พีแรกดํานา พิธีสวดนา พิธี แรกเก็บข าว พิธีกินข าวใหม และพิธ
ลาซัง
คือการอําลาซังข าวเมื่อเสร็จสิ้น ฤดูการทํานาและเก็บเกี่ยว ชาวนาจะกันข าวส
วนหนึ่งไว เพื่อใช เป นพันธ ข าวในป ต อไป และเลือกมา เพียงกํามือหนึ่ง
เพื่อนํามาเป นพันธุ ข าว ในงานลาซังนี้เองการทําขวัญข าวเป นความเชื่อเกี่ยวกับ
เรื่อง เจ าที่นาเกี่ยวกับเรื่องแม โพสพ โดยเชื่อว า ถ าจัดพิธีนี้ขึ้นมาจะทําให มี
พันธ ข าวไว ปลูกในป ต อไปและมีผลผลิตเนื่องจากข าวที่นํามาทําขวัญนี้ จะ
ไม นําไปรับประทาน เมื่อได พันธ ข าวที่นํามาทําขวัญแล วก็จะนําไปรวมกับ
พันธ ข าวที่กันไว ปลูกในป ต อไป
ภราดรจันทร กลิ่น และดรุณีมุซายี (2533 : 14-17)
งานกลุ่ม
ให้นักศึกษา พิธีกรรมมากลุ่มละ 1 พิธี เขียนเป็นรายงาน 1 แผ่น

More Related Content

Similar to Tha464 6

บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรPadvee Academy
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรsukanya56106930005
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13khumtan
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทยThaiway Thanathep
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีPa'rig Prig
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550Ging Kanok-on
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาFaralee Benahmad
 
สังคมศึกษา โควต้า มช.
สังคมศึกษา โควต้า มช.สังคมศึกษา โควต้า มช.
สังคมศึกษา โควต้า มช.Maya NNcuhmmy
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาFaralee Benahmad
 
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551Faralee Benahmad
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาFaralee Benahmad
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 

Similar to Tha464 6 (20)

บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
 
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
 
2555blessing
2555blessing2555blessing
2555blessing
 
2555blessing
2555blessing2555blessing
2555blessing
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2550
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
สังคมศึกษา โควต้า มช.
สังคมศึกษา โควต้า มช.สังคมศึกษา โควต้า มช.
สังคมศึกษา โควต้า มช.
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551
ข้อสอบโควตาสังคมศึกษา 2551
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 

More from SasiwimolKongsuwan (9)

Tha203 6
Tha203 6Tha203 6
Tha203 6
 
Tha203 5
Tha203 5Tha203 5
Tha203 5
 
Tha464 5
Tha464 5Tha464 5
Tha464 5
 
Tha464 3
Tha464 3Tha464 3
Tha464 3
 
Tha203 3
Tha203 3Tha203 3
Tha203 3
 
Tha464 2.1
Tha464 2.1Tha464 2.1
Tha464 2.1
 
Tha464 1
Tha464 1Tha464 1
Tha464 1
 
Tha203 1
Tha203 1Tha203 1
Tha203 1
 
Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
Tha203 2
 

Tha464 6