SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
ภาษาและวัฒนธรรม
THA
ครั้งที่1
•สายได้ไม่เกิน 15 นาที
•ขาดได้ 3 ครั้ง ครั้งที่ 4 ดร็อบให้ทันที
•มาครบ = 10 คะแนน หักคะแนนตาม
การลาและสาย
คะแนน
•จิตพิสัย 10 คะแนน
•รายงาน 10 คะแนน
•ทดสอบย่อย 10 คะแนน
•กลางภาค 30 คะแนน
•ปลายภาค 40 คะแนน
• = 100 คะแนน
ทดสอบก่อนเรียน
ภาษาและวัฒนธรรม เกี่ยวข้องกันอย่างไร
ภาษาหมายถึง
เมย์(MAY, อ้างถึง บันลือ พฤกษะวัน ,2533, หน้า5)
“การที่มนุษย์ใช้ภาษาสื่อความหมายกันได้ย่อมเป็น
เครื่องแสดงว่ามนุษย์ประเสริฐกว่าสัตว์”
“ คือเครื่องมือที่ใช้สื่อความหมายที่สาคัญที่สุดงองมนุษย์”
บันลือ พฤกษะวัน (2522, หน้า 5)
“ภาษา หมายถึง เสียงหรือกริยาอาการที่เป็น
สื่อเง้าใจความหมายรู้กันได้,คาพูด,ถ้อยคาที่
ใช้พูดจากัน"
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน(2530, หน้า203)
สรุป ภาษาหมายถึง?
ระดับภาษา
ระดับชั้นวรรณะ?
ระบบชนชั้น
การจัดระดับชั้นงองสังคมไทย
•ชั้นสูงสุด 1 . พระมหากษัตริย์ และพระราชินี พระบรมวงศานุวงศ
•ชั้นสูงธรรมดา 2 . คณะรัฐมนตรี่ รัฐบุรุษชั้นนา
•ชั้นค่อนข้างสูง 3 . ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ นักธุรกิจอุตสาหกรรมชั้นนา
ที่มีอิทธิพล
•ชั้นกลางสูง 4 . ปัญญาชนชั้นนา ข้าราชการชั้นพิเศษ
ชั้นกลางธรรมดา 5 . ข้าราชการชั้นเอก พ่อค้า
ชั้นต่าปานกลาง 6 . ข้าราชการชั้นผู้น้อย ช่างฝีมือ
ชั้นกลางค่อนข้างต่า 7 . เสมียนพนักงาน ลูกจ้าง
ชั้นต่า 8 . กรรมกร ชาวนา พ่อค้าหาบเร่
เต้นกินรำกิน
• ค่านิยมทางสังคม
•ดารา นักร้อง นักแสดง งิ้ว ตัวตลก อาชีพเกี่ยวกับการแสดง
•การผลิต พ่อค้าแม่ค้า
รถด่วน เรือเมล์ยี่เก ตารวจ
ไม่ควรคบ!!
พักสิบนาที
ควำมหมำยของวัฒนธรรม
1.วัฒนธรรมในควำมหมำยกว้ำง
วิถีทำงและแบบฉบับในกำรดำเนินชีวิตที่ได้ปฏิบัติ
สั่งสมกันมำ รวมทั้งควำมคิดต่ำงๆที่คนได้กระทำขึ้น
ถ่ำยทอด สะสม
2.วัฒนธรรมในควำมหมำยแคบ
หมำยถึง ลักษณะที่แสดงถึงควำมเจริญงอก
งำม ควำมเป็นระเบียบเรียบร้อย ควำมกลม
เกลียวก้ำวหน้ำของชำติ และศีลธรรมอันดีของ
ประชำชน
พรบ.วัฒนธรรมแห่งชำติ ให้ควำมหมำยไว้ดังนี้
1.ควำมเป็นระเบียบเรียบร้อยในกำรแต่งกำย
2.ควำมเป็นระเบียบเรียบร้อยในกำรปฏิบัติตนและกำรปฏิบัติต่อ
บ้ำนเมือง
3.ควำมเป็นระเบียบเรียบร้อยในกำรประพฤติตน ซึ่งเป็นเกียรติ
ของชำติ และ ศำสนำ
4.ควำมมีสมรรถภำพ และมำรยำทเกี่ยวกับกำรดำเนินอำชีพ
5.ควำมเจริญงอกงำมแห่งจิตใจ
6.ควำมก้ำวหน้ำทำงวรรณกรรมและ
ศิลปกรรม
7.ควำมนิยมไทย
ชาติไทยสมัยใหม่
จอมพล ป. นายกรัฐมนตรีคนที่ 3ของประเทศไทย
แปลก
ตอนเช้า “อรุณสวัสดิ์” มาจากคาว่า “good morning”
“ทิวาสวัสดิ์” มาจากคาว่า “good afternoon”
“สายัณห์สวัสดิ์” มาจากคาว่า “good evening”
“ราตรีสวัสดิ์” มาจากคาว่า “Good Night”
กระทรวงวัฒนธรรมแห่งชำติ สมัยจอมพล ป. พิบูลสงครำม
1.คติธรรม
ได้แก่ วัฒนธรรมทำงศำสนำ ศีลธรรม และทำงจิตใจ เช่น ควำม
เชื่อ อุดมกำรณ์ ศีลธรรม จรรยำ
2.เนติธรรม
ได้แก่ วัฒนธรรมทำงกฎหมำย หรือขนบประเพณี ที่มี
ควำมสำคัญเสมอด้วยกฎหมำย
3.วัตถุธรรม
ได้แก่ วัตถุทุกอย่ำงที่มนุษย์สร้ำงขึ้น เช่น อำหำร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่
อำศัย ยำรักษำโรค
4.สหธรรม
ได้แก่ วัฒนธรรมทำงด้ำนสังคม เช่น กำรอยู่ร่วมกัน กำรติดต่อสื่อสำร
กัน มำรยำทในโต๊ะอำหำร มำรยำทในกำรพูด มำรยำทในกำรเข้ำสังคม
ลักษณะของวัฒนธรรมไทย
1.ลักษณะทั่วไป
1.1 เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้ำงขึ้นกำหนดขึ้น แล้วตกลงยอมรับร่วมกัน สิ่งที่มนุษย์
สร้ำงขึ้นนั้นก็เพื่อตอบสนองควำมต้องกำรในชีวิตมนุษย์เอง
1.2 เป็นสิ่งที่คนแต่ละรุ่นสืบทอดต่อๆกันมำ จำกคนอีกรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่ง
กำรถ่ำยทอดนี้เกิดขึ้นด้วยกำรเรียนรู้ทั้งทำงตรงและทำงอ้อม
ลักษณะของวัฒนธรรมไทย
1.3 เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ การเปลี่ยนแปลงก็เพื่อความ
เหมาะสม ให้ทันกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
1.4 เป็นสิ่งที่มีระดับ มีความแตกต่างกันในกลุ่มย่อยๆ
แตกต่างกันไปตามวัย ตามเพศ
ตามท้องถิ่น ตามอาชีพ
2 ลักษณะเฉพำะ
วัฒนธรรมมีเอกลักษณ์เป็นงองตนเอง
ภาษาไทยแท้ๆ
ไม่มีการเปลี่ยนรูปคาเพื่อให้มีความหมายเปลี่ยนไป ดังเช่น
ภาษาอื่น คาควบกล้ามีเฉพาะเสียงควบ ร, ล, ว ใช้ ตัว สะกด
ตรงตามมาตรา ไม่นิยมใช้การันต์ และคาไทยแท้ไม่ใช้
พยัญชนะ ฆ ณ ญ ฎ ฏ ฑ ฒ ธ ศ ษ (ฃฅ)เลิกใช้แล้ว
*ยกเว้นคาต่อไปนี้ระฆัง ฆ่า เฆี่ยน หญิง ใหญ่ หญ้า ศอก
ศึก ฝีดาษ ดาษดา ธ เธอ ณ ฯพณฯซึ่งเป็นคาไทยแท้
วัฒนธรรมไม่หาย
ภาษาไม่หาย
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรม
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงวัฒนธรรมไทยกับภำษำไทย
1.ภำษำไทยเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย
1.1 ภาษาไทยเป็นสิ่งที่บรรพชนสร้างงึ้น
กาหนดงึ้นเพื่อใช้แทนวัตถุ ความคิด อารมณ์
ความรู้สึก
1.2 ภาษาไทยเป็นสิ่งที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ ถ่ายทอดสั่ง
สมกันมาเรื่อยๆ
1.3 ภาษาไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาตลอด
มีคาจานวนมากตายไปจากภาษา เช่น
น้ากัด หรือ น้าก้อน = น้าแง็ง
แรงน่อง = จักรยาน
1.4 ภาษาไทยมีระดับ มีความแตกต่างกันในกลุ่มย่อย
ตามอาชีพ ระดับความแตกต่างนี้เรียกว่า อนุภาษา
2. ภำษำไทยเป็นเครื่องมืออันสำคัญที่สุดในกำร
บันทึก และถ่ำยทอดวัฒนธรรมไทย
3. ภำษำไทยเป็นเครื่องสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมไทย โดย
กำรอำศัยภำษำเป็นเครื่องมือ ภำษำไทยสะท้อนควำม
เป็นอยู่ ควำมเชื่อ ทัศนคติ
4. ภำษำไทยสัมพันธ์กับวัฒนธรรม คือ กำรใช้ภำษำให้
สอดคล้องกับวัฒนธรรมของสังคมนั่นเอง
องค์ประกอบที่ทำให้เกิดวัฒนธรรมในกำรใช้ภำษำ
1.อำยุและประสบกำรณ์
ผู้ที่มีอายุต่างกันย่อมใช้ภาษาไม่เหมือนกัน
2.ควำมใกล้ชิด
ผู้ที่มีความใกล้ชิดสนิทสนมกันย่อมใช้ภาษาเป็นกันเอง
3.เพศ
ผู้ที่มีเพศต่างกันใช้ถ้อยคาบางอย่างแตกต่างต่างกัน เช่น คางานรับ
4.โอกำส
เมื่ออยู่ในโอกาสที่ต่างกันย่อมทาให้ใช้ภาษาแตกต่างกันออกไป
5.อำชีพ
บุคคลที่มีอาชีพต่างกัน ย่อมมีศัพท์เฉพาะในอาชีพนั้น เช่น คอมพิวเตอร์
แพทย์ฯลฯ
6.กำรอบรมเลี้ยงดูและกำรศึกษำ
งึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมการเลี้ยงดู
7.ตำแหน่งและฐำนะทำงสังคม
เช่น ตาแหน่งหน้าที่การงาน คุณวุฒิ เป็นต้น
8.สภำพทำงภูมิศำสตร์
ผู้ที่อยู่ท้องถิ่นต่างกัน การใช้ภาษาแตกต่างกันออกไป เช่น ภาคเหนือ อีสาน
ใต้ ฯลฯ
รายงานประจาวิชา
นักศึกษาจีน ทารายงานกลุ่ม เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย (เรื่องใดก็ได้)
นักศึกษาไทย ทารายงานกลุ่ม เกี่ยวกับวัฒนธรรมในสมัยจอมพล ป.
10 คะแนน ส่งวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2561
ส่งช้า ไม่รับ ให้ 0 ทันทีนะจ้ะ
Tha464 1

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆWilawun Wisanuvekin
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03Chaichan Boonmak
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดpyopyo
 
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการjustymew
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยpinyada
 
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)Milky' __
 

What's hot (12)

บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
 
Radio Script Concept
Radio Script ConceptRadio Script Concept
Radio Script Concept
 
ระดับภาษา
ระดับภาษาระดับภาษา
ระดับภาษา
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
Introto ling
Introto lingIntroto ling
Introto ling
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ภาษาเพื่อการสื่อสารG4
ภาษาเพื่อการสื่อสารG4ภาษาเพื่อการสื่อสารG4
ภาษาเพื่อการสื่อสารG4
 
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
 
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
ภาษาทั่วไป ภาษาราชการ
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
 

Similar to Tha464 1

Language
LanguageLanguage
Languagenattaya
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศthanakit553
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศBoonlert Aroonpiboon
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสปายด์ 'ดื้อ
 

Similar to Tha464 1 (12)

Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
Tha203 2
 
Language
LanguageLanguage
Language
 
Man lg eng hndout
Man lg eng hndoutMan lg eng hndout
Man lg eng hndout
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศ
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Tha203 3
Tha203 3Tha203 3
Tha203 3
 
Man lg
Man lgMan lg
Man lg
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
Man lg handout s
Man lg handout sMan lg handout s
Man lg handout s
 

More from SasiwimolKongsuwan (7)

Tha464 6
Tha464 6Tha464 6
Tha464 6
 
Tha203 6
Tha203 6Tha203 6
Tha203 6
 
Tha203 5
Tha203 5Tha203 5
Tha203 5
 
Tha464 5
Tha464 5Tha464 5
Tha464 5
 
Tha464 3
Tha464 3Tha464 3
Tha464 3
 
Tha464 2.1
Tha464 2.1Tha464 2.1
Tha464 2.1
 
Tha203 1
Tha203 1Tha203 1
Tha203 1
 

Tha464 1