SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
บทที่ 9
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
1. การค้าระหว่างประเทศ
2. การเงินระหว่างประเทศ
1. การค้าระหว่างประเทศ
1.1 ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ
1.2 ประโยชน์ของการค้าเสรี
1.3 ผลกระทบของการค้าระหว่างประเทศ
1.4 การค้าแบบคุ้มกัน
การค้าระหว่างประเทศ (International Trade)
ส่งเสริมประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจทาให้สินค้ามีคุณภาพ
และราคาถูกแต่ต้องเผชิญกับสภาวะการแข่งขันที่สูงขึ้นจาก
ผู้ผลิตในตลาดโลก
เกิดความชานาญในการผลิตมากขึ้น
เกิดการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนทางเทคโนโลยี
เรียกว่า “ระบบเศรษฐกิจเปิ ด” (Open Economy) การวัดระดับ
ของการเป็ นระบบเศรษฐกิจเปิ ดจะวัดจากสัดส่วนของการ
ส่งออก กับการนาเข้าต่อผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น
1.1 ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ
1) การได้เปรียบโดยสมบูรณ์
(Absolute Advantage Theory)
2) การได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ
(Comparative Advantage Theory)
1) การได้เปรียบโดยสมบูรณ์
 กรณีนี้ การได้เปรียบโดยสมบูรณ์ คือ การที่ประเทศมีความสามารถในการผลิต
สินค้าด้วยการใช้ทรัพยากรน้อยกว่าประเทศอื่น ๆ
 ประเทศ T ควรส่งออกข้าว (เพราะประเทศ T ใช้ 100 ชั่วโมง < ประเทศ S
ใช้ 400 ชั่วโมง) ส่วนประเทศ S ควรส่งออกน้ามัน (เพราะประเทศ S ใช้ 33
ชั่วโมง < ประเทศ T ใช้ 100 ชั่วโมง)
 จากทฤษฎีนี้แต่ละประเทศจะทาการค้ากันได้จะต้องได้เปรียบโดยสมบูรณ์ในสินค้าคน
ละชนิด
2) การได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ
สหรัฐฯส่งออกข้าวโพด (เพราะสหรัฐฯใช้ 3 ชั่วโมง <
เมกซิโกใช้ 6 ชั่วโมง) เมกซิโกส่งออกน้ามัน (เพราะ
เมกซิโกใช้ 0.16 ชั่วโมง < สหรัฐฯใช้ 0.33 ชั่วโมง)
1.2 ประโยชน์ของการค้าเสรี
 มีการแบ่งงานกันทา
 ผลิตตามความชานาญ
 ทาให้มีการเพิ่มสูงขึ้นของทั้ง
o ประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้น
o ปริมาณผลผลิตรวมของโลกเพิ่มขึ้น
o ปริมาณการบริโภคเพิ่มขึ้น
1.3 ผลกระทบของการค้าระหว่างประเทศ
ก่อนทาการค้า
o สหรัฐฯ มีดุลภาพที่จุด E คือมีราคาดุลยภาพเป็ น PN และปริมาณดุลยภาพ
เป็ น QN
o เยอรมันมีดุลยภาพที่จุด F คือมีราคาดุลยภาพเป็ น PN1 และปริมาณดุลย
ภาพเป็ น QN1
o ราคอมพิวเตอร์ใน สหรัฐ ฯ ต่ากว่าในเยอรมัน
o แสดงว่าสหรัฐฯ เป็ นประเทศที่มีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ
เมื่อมีการค้าแบบเสรี
o การที่ราคาในสหรัฐฯถูกกว่า เยอรมันจะซื้อคอมฯมาจากสหรัฐ ฯ
o ราคาคอมพิวเตอร์ในสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจาก PN เป็ น PT
o ปริมาณอุปสงค์ = Q2 และปริมาณอุปทาน = Q3 เกิดอุปทานส่วนเกิน
(Excess Supply) ของคอมพิวเตอร์ในสหรัฐฯ ซึ่งจานวนนี้จะส่งออกไปขาย
เยอรมัน
o ราคาคอมพิวเตอร์ในเยอรมันจะลดลงจาก PN1 เป็ น PT ทาให้ปริมาณอุปสงค์
= Q3 และปริมาณอุปทาน = Q2 เกิดอุปสงค์ส่วนเกิน (Excess Demand)
ของคอมพิวเตอร์ในเยอรมัน ซึ่งจานวนนี้จะนาเข้าจากสหรัฐฯ
ผลกระทบต่อประเทศผู้ส่งออก (สหรัฐฯ )
o ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์และแรงงานในสหรัฐฯ ได้ประโยชน์ คือ จาก
ราคาที่สูงขึ้น ขายสินค้าได้มากขึ้น ขยายการผลิต การจ้างงาน
เพิ่มขึ้น และแรงงานได้ค่าจ้างสูงขึ้น
o ผู้บริโภคคอมพิวเตอร์ในสหรัฐฯ เสียประโยชน์ คือ จากราคาที่สูงขึ้น
ทาให้บริโภคสินค้าได้ปริมาณลดลง
ผลกระทบต่อประเทศผู้นาเข้า (เยอรมัน)
o ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์และแรงงานในเยอรมันเสียประโยชน์ คือ จาก
ราคาที่ถูกลง ขายสินค้าได้น้อยลง
o การลดลงของการผลิต ความต้องการใช้แรงงานลดลง มีเลิกจ้าง
และลดค่าจ้าง
o ผู้บริโภคคอมพิวเตอร์ในเยอรมันได้ประโยชน์ คือ จากราคาที่ถูกลง
ทาให้บริโภคสินค้าได้มากขึ้น
จากรูป 8-1 ผลกระทบของการค้าเสรีต่อประเทศผู้ส่งออกและนาเข้า
ผลกระทบต่อประเทศผู้ส่งออก
ราคาสินค้าจะสูงขึ้น
ปริมาณการผลิตจะเพิ่มขึ้น
การจ้างงานเพิ่มขึ้น
ค่าจ้างแรงงานเพิ่มขึ้น
ผลกระทบต่อประเทศผู้นาเข้า
ราคาถูกลง
ปริมาณการผลิตลดลง
ค่าจ้างแรงงานลดลง
ค่าจ้างแรงงานลดลง
สหรัฐฯ
เยอรมัน
ผู้ผลิตและแรงงาน
ในสหรัฐฯ ได้
ประโยชน์
ผู้บริโภคในสหรัฐฯ
เสียประโยชน์
ผู้ผลิตและแรงงาน
ในเยอรมันเสีย
ประโยชน์
ผู้บริโภคในเยอรมัน
ได้ประโยชน์
1.4 การค้าแบบคุ้มกัน
1) ภาษีศุลกากร
2) การกาหนดโควตาการเข้า
3) การกีดกันการค้าอื่น ๆ
1) ภาษีศุลกากร
ภาษีศุลกากร หมายถึง ภาษีที่เก็บจากสินค้านาเข้าจาก
ต่างประเทศ จะมีการเก็บใน 2 ลักษณะคือ
oภาษีศุลกากรที่เก็บต่อหน่วย (Specific Tariff) เช่น
เก็บภาษีศุลกากรจากการนาเข้าน้ามัน 5 บาทต่อลิตร
oภาษีศุลกากรที่เก็บเป็ นเปอร์เซ็นต์ (Advalorem
Tariff) เช่น เก็บภาษี 20% ของราคาสินค้านาเข้า
จากรูป 8-2
กรณีไม่ค้ากับต่างประเทศ
ราคา=2,000 บาท มีปริมาณผลิต = ปริมาณบริโภค 50
ล้านตัน (ไม่ต้องนาเข้า)
กรณีมีการค้าเสรี
ราคา=1,000 บาท มีปริมาณผลิต = 20 หน่วย ปริมาณ
บริโภค = 70 หน่วย นาเข้า=50 หน่วย (คือ 70 -20)
กรณีเก็บภาษีศุลกากร (การค้าแบบคุ้มกัน)
ราคา= 1,500 บาท มีปริมาณผลิต = 30 หน่วย (ผลิต
เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับการค้าเสรี) ปริมาณบริโภค =
60 หน่วย (การบริโภคน้อยลงเมื่อเทียบกับการค้าเสรี)
นาเข้า = 30 หน่วย (คือ 60 -30) ซึ่งนาเข้าลดลงเมื่อ
เทียบกับการค้าเสรี
ผลกระทบเมื่อราคาสินค้าสูงขึ้นเนื่องจากการเก็บภาษีศุลกากร
o ผลกระทบต่อผู้บริโภค : ผู้บริโภคภายในประเทศจะเสียประโยชน์ เมื่อราคาสูงขึ้น
ทาให้บริโภคลดลง ทาให้ส่วนเกินของผู้บริโภคลดลง = พื้นที่ a+b+c+d
o ผลกระทบต่อผู้ผลิต : ผู้ผลิตภายในประเทศจะได้ประโยชน์จากราคาที่สูงขึ้นและ
ปริมาณผลิตที่เพิ่มขึ้น มีรายรับรวมเพิ่มขึ้น = พื้นที่ a+b+f เฉพาะพื้นที่ a
เป็ นส่วนเกินผู้ผลิต(Producer’s Surplus) ที่เพิ่มขึ้น
o พื้นที่ b เป็ นการสูญเสียสวัสดิการสุทธิ (Net Welfare Loss)
o รายได้ของรัฐบาล = พื้นที่ c (คือ500 x 30 )
o พื้นที่ d เป็ นการสูญเสียส่วนเกินของผู้บริโภคที่มาจากการลดปริมาณบริโภคลง
10 ล้านตัน และไม่มีใครได้รับประโยชน์ไป ดังนั้น พื้นที่ d จึงเป็ นการสูญเสีย
สวัสดิการสุทธิ (Net Welfare Loss)
o พื้นที่ b+d เป็ นการสูญเสียสวัสดิการสังคมทั้งหมด
o ดังนั้น การเก็บภาษีศุลกากรทาให้ราคาภายในประเทศ >ราคาตลาดโลก มี
ประโยชน์ต่อผู้ผลิตในประเทศทาให้เพิ่มการผลิตและยอดขาย แต่ทาให้เกิดการ
สูญเสียส่วนเกินผู้บริโภค = พื้นที่ a+b+c+d โดยพื้นที่ a จะเป็ นรายรับของ
ผู้ผลิตในประเทศ และพื้นที่ c เป็ นรายรับของรัฐบาล ส่วนพื้นที่ b+d เป็ นการ
สูญเสียสวัสดิการสังคม
2) การกาหนดโควตาการเข้า
จากรูป 8-3 กรณีการค้าเสรี
ปริมาณผลิต 20 หน่วย ปริมาณบริโภค 70 หน่วย นาเข้า 50 หน่วย ราคาอยู่ที่
1,000 บาท
 กรณีการกาหนดโควตา
นาเข้า 30 หน่วย ปริมาณผลิต 20 หน่วย ปริมาณบริโภค 70 หน่วย ทาให้จุดดุลย
ภาพเปลี่ยน ราคาดุลยภาพ =1,500 บาท ปริมาณดุลยภาพ = 60 หน่วย ทา
ให้ปริมาณผลิตในประเทศเพิ่ม 10 หน่วย รวมเป็ น 30 หน่วย นาเข้า 30 หน่วย
จึงเท่ากับดุลยภาพพอดี
 ผลกระทบต่อผู้บริโภค
ผู้บริโภคสูญเสียส่วนเกิน = a + b + c + d โดยพื้นที่ a กลับมาเป็ นส่วนเกิน
ของผู้ผลิต จึงไม่เป็ นการสูญเสียสวัสดิการสังคมของประเทศ การสูญเสีย
สวัสดิการรวมจึง = พื้นที่ b + c + d
 เปรียบเทียบภาษีศุลกากรและโควตา
o ทั้งภาษีศุลกากรและโควตาจะทาให้ราคาภายในประเทศเพิ่มขึ้น และส่งผลต่อ
การบริโภคเหมือนกัน
o ภาษีศุลกากรและโควตาจะทาให้ผู้บริโภคภายในประเทศสูญเสียส่วนเกิน
ผู้บริโภค แต่จะทาให้ผู้ผลิตมีส่วนเกินผู้ผลิตเพิ่มขึ้น
o รัฐบาลจะมีรายรับจากภาษีศุลกากร ขณะที่โควตาจะมีรายรับจากโควตาที่ตก
แก่ผู้ที่รับสิทธิ์ในโควตาให้ขายสินค้าในตลาดภายในประเทศ
3) การกีดกันการค้าอื่น ๆ
การกีดกันทางการค้าในรูปแบบอื่นๆ เช่น กฏหมาย ข้อบังคับใน
ประเทศ กล่าวคือ
o บางประเทศนั้นอาจจะใช้วิธีการสนับสนุนการส่งออก โดยการให้
เงินอุดหนุนแก่ธุรกิจส่งออก หรือให้กู้ในอัตราดอกเบี้ยที่ต่าแก่ผู้ซื้อ
ต่างประเทศ ในการซื้อสินค้าทุนขนาดใหญ่ (เครื่องจักร)
o ในยุโรปห้ามนาเข้าเนื้อสัตว์ที่มีการใช้ฮอร์โมนเร่งการเติบโต
o ในยุโรปใช้มาตรฐานทางเทคนิคในการกีดกันทางการค้า เช่น มี
การผลิตโมเดลโทรทัศน์ที่แตกต่างไปจากประเทศอื่น
o ในเยอรมันมีกฎหมายห้ามบาร์ต่างๆ โดยการจาหน่ายเบียร์นาเข้า
จากต่างประเทศ ให้จาหน่ายเฉพาะเบียร์ของเยอรมัน
o เนื่องจากว่าการกีดกันทางการค้าทาให้สูญเสียสวัสดิการทาง
เศรษฐกิจตามที่กล่าวมาแล้ว จึงมีความพยายามที่จะลดการกีด
กันทางการค้าระหว่างประเทศให้มีน้อยที่สุด
2. การเงินระหว่างประเทศ
2.1 ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
2.2 ดุลการชาระเงิน
ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
 เป็ นตลาดที่มีขนาดใหญ่ที่ทาการซื้อขายเงินตราสกุลต่างๆ
ทั่วโลก
 มีธนาคารพาณิชย์และนายหน้าค้าเงินตราต่างประเทศ เป็ น
ตัวกลางการซื้อขาย (Brokers Currency)
 ไม่มีสถานที่ซื้อขายที่แน่นอน
 อัตราแลกเปลี่ยนเป็ นการวัดราคาของสกุลเงินในประเทศ
เทียบกับสกุลเงินต่างประเทศ
 การเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน จะมีผลต่อการค้าระหว่าง
ประเทศ ซึ่งส่งผลต่อปริมาณการนาเข้าและส่งออก และ
กระทบต่อดุลการค้าและดุลการชาระเงิน
2.1 ตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
1) อุปสงค์เงินตราต่างประเทศ
2) อุปทานเงินตราต่างประเทศ
3) อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพ
4) การเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพ
1) อุปสงค์เงินตราต่างประเทศ
 อุปสงค์เงินตราต่างประเทศ หมายถึง คนไทยมีความต้องการเงินตรา
ต่างประเทศ (ดอลลาร์) เพื่อชาระค่าสินค้า ลงทุน หรือซื้อสินทรัพย์ และให้กู้ยืมใน
สหรัฐฯ
 ปัจจัยกาหนดอุปสงค์เงินตราต่างประเทศ ได้แก่
o เมื่ออัตราแลกเปลี่ยน (฿/$) เพิ่มขึ้น (บาทอ่อนค่า) ทาให้ราคาสินค้านาเข้า
และสินทรัพย์ต่างประเทศในรูปเงินบาทแพงขึ้น นาเข้าจะลดลง ทาให้อุป
สงค์เงินตราต่างประเทศ (ดอลลาร์) ลดลง
o รายได้ของผู้บริโภคของไทย
o การคาดการณ์เงินเฟ้ อของไทยและสหรัฐฯ
o ราคาสินค้าภายในประเทศ (เงินเฟ้ อ) ของสหรัฐฯ
o รสนิยมหรือความชอบของผู้บริโภคของไทย
o อัตราดอกเบี้ยของไทยและสหรัฐฯ
 ดังนั้น ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนต่า (บาทแข็งค่า) ปริมาณความต้องการสินค้านาเข้า
จากสหรัฐฯ ของคนไทยจะสูงขึ้น ทาให้ปริมาณอุปสงค์ต่อเงินดอลลาร์เพิ่มขึ้น
โดยกาหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
2) อุปทานเงินตราต่างประเทศ
 อุปทานเงินตราต่างประเทศ หมายถึง ความต้องการเงินบาท
ของชาวต่างประเทศ เพื่อชาระค่าสินค้า การซื้อสินทรัพย์ และ
ให้กู้ยืมแก่คนไทย
 ปัจจัยกาหนดอุปทานเงินตราต่างประเทศ ได้แก่
o เมื่ออัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น (บาทอ่อนค่า) จะทาให้อุปทานเงินตรา
ต่างประเทศเพิ่มขึ้น ตรงกันข้าม หากอัตราแลกเปลี่ยนลดลง (บาท
แข็งค่า) อุปทานเงินตราต่างประเทศก็จะลดลง
o รายได้ของผู้บริโภคสหรัฐฯ
o รสนิยมของผู้บริโภคสหรัฐฯ
o การคาดการณ์เกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้ อในสหรัฐฯ และไทย
o อัตราดอกเบี้ยในสหรัฐฯ และไทย
3) อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพ
จากรูปที่ 8-4
 D=S เกิดดุลฯ ในตลาดเงินตราต่างประเทศ มีอัตราแลกเปลี่ยนดุลฯ
= 35 บาท/$ ปริมาณ = 800$
 หากอัตราแลกเปลี่ยนสูงกว่าดุลยภาพ จะเกิดอุปทานเงินตรา
ต่างประเทศส่วนเกิน (Excess Supply) ซึ่งจะทาให้อัตราแลกเปลี่ยน
ปรับตัวลดลงเข้าสู่จุดดุลยภาพเช่นเดิม (move) ตรงกันข้าม หากอัตรา
แลกเปลี่ยนลดลงต่ากว่าจุดดุลยภาพ จะเกิดอุปสงค์เงินตราต่างประเทศ
ส่วนเกิน (Excess Demand) ซึ่งจะทาให้อัตราแลกเปลี่ยนปรับตัว
เพิ่มขึ้นเข้าสู่จุดดุลยภาพในที่สุด
 อย่างไรก็ตาม อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพจะเปลี่ยนแปลงได้หากเกิดการ
เปลี่ยนแปลงปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อเส้นอุปสงค์และอุปทาน
เงินตราต่างประเทศให้ทั้งสองเส้นเกิดการเคลื่อนย้ายเป็ นเส้นใหม่
(shift)
4) การเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพ
การเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่มีผลต่อการเคลื่อนย้าย
เส้นอุปสงค์เงินตราต่างประเทศ
การเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่มีผลต่อการเคลื่อนย้าย
เส้นอุปทานเงินตราต่างประเทศ
การเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่มีผลต่อการเคลื่อนย้าย
เส้นอุปสงค์เงินตราต่างประเทศ
 การเปลี่ยนแปลงรายได้
 การเปลี่ยนแปลงรสนิยม
 การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย
 การเปลี่ยนแปลงอัตราเงินเฟ้ อ
รูป 8-5 A
รายได้ไทย อุปสงค์เงินตราต่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน (฿/$)
รสนิยมไทย อุปสงค์เงินตราต่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน (฿/$)
อัตราดอกเบี้ยตปท. อุปสงค์เงินตราต่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน (฿/$)
อัตราเงินเฟ้ อไทย อุปสงค์เงินตราต่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน (฿/$)
การเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่มีผลต่อการเคลื่อนย้าย
เส้นอุปทานเงินตราต่างประเทศ
ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในต่างประเทศ
 การเปลี่ยนแปลงรายได้
 การเปลี่ยนแปลงรสนิยม
 การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยในสหรัฐ
รายได้ตปท. อุปทานเงินตราต่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน (฿/$)
รสนิยมตปท. อุปทานเงินตราต่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน (฿/$)
อัตราดอกเบี้ยไทย อุปทานเงินตราต่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน(฿/$)
รูป 8-5 B
2.2 ดุลการชาระเงิน
1. บัญชีดุลการชาระเงิน
1.1 ดุลบัญชีเดินสะพัด
1.2 ดุลบัญชีทุน
1.3 บัญชีทุนสารองระหว่างประเทศ
1.4 ค่าความผิดพลาดคลาดเคลื่อนทางสถิติ
2. ปัญหาเกี่ยวกับดุลการชาระเงิน
3. การแก้ปัญหาการขาดดุลการชาระเงิน
1. บัญชีดุลการชาระเงิน
คือ ผลสรุปของการทาธุรกรรมระหว่างผู้มี
ถิ่นฐานในประเทศกับต่างประเทศ ในช่วงระยะเวลา
ใดเวลาหนึ่ง
1.1 ดุลบัญชีเดินสะพัด ประกอบด้วย การนาเข้า-ส่งออก ทั้งที่เป็ นสินค้าและ
บริการ รายได้สุทธิจากการลงทุน และบัญชีเงินโอน และเงินช่วยเหลือที่
เกิดขึ้นตลอดช่วงหนึ่งปี
1.2 ดุลบัญชีทุน เป็ นการบันทึกการไหลเข้า-ออกของทุนระหว่างประเทศที่เกิด
จากการซื้อขายสินทรัพย์ โดยธนาคารแห่งประเทศไทยแบ่งบัญชีเงินทุนเป็ น 2
บัญชี คือ
 บัญชีทุน
 บัญชีการเงิน
1.3 บัญชีทุนสารองระหว่างประเทศ มีไว้เพื่อการชดเชยการขาดดุลการชาระเงิน
หรือใช้เป็ นเครื่องมือหนึ่งในการดาเนินนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน
1.4 ค่าความผิดพลาดคลาดเคลื่อนทางสถิติ มีไว้เพื่อวัดความคลาดเคลื่อน
สุทธิของข้อมูลในบัญชีดุลการชาระเงิน และเพื่อให้เป็ นไปตามระบบบัญชีคู่ที่
เดบิตต้องเท่ากับเครดิตเสมอ
ดุลบัญชีเดินสะพัด + ดุลบัญชีทุน + บัญชีทุนสารองระหว่างประเทศ = 0
ตารางที่ 8-5 ค่าความผิดพลาดคลาดเคลื่อนทางสถิติในบัญชีดุลการชาระเงิน
ตารางที่ 8-6 บัญชีดุลการชาระเงินของประเทศไทย ปี 2547 – ปี 2549
2. ปัญหาเกี่ยวกับดุลการชาระเงิน
การขาดดุลการค้าทาให้เงินตราไหลออกนอก
ประเทศ จึงต้องมีการจัดหาเงินตราต่างประเทศมา
ชดเชยส่วนต่างโดย
• นาเงินตราต่างประเทศในสารองมาชดเชยส่วนต่าง
• ดึงให้นักลงทุนชาวต่างชาติมาซื้อสินทรัพย์ที่แท้จริงใน
ประเทศ
• กู้ยืมเงินตราต่างประเทศ
สาเหตุที่อาจก่อให้เกิดปัญหาขาดดุลบัญชีเดินสะพัด
 อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น
 ค่าเงินของประเทศแข็งจนเกินไป
 การจัดทางบประมาณแบบขาดดุล
 ผลิตภาพการผลิตต่า
3. การแก้ปัญหาการขาดดุลการชาระเงิน
 ใช้นโยบายการเงินและการคลังแบบหดตัว เพื่อลด
ราคาสินค้าในประเทศ
 ส่งเสริมการส่งออก และรณรงค์ให้บริโภคสินค้าใน
ประเทศ
 แทรกแซงอัตราแลกเปลี่ยนให้อ่อนค่าลง

More Related Content

What's hot

ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxkrupornpana55
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหากำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหาฐิติรัตน์ สุขสวัสดิ์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 

What's hot (20)

ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหากำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 

Viewers also liked

ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศtumetr
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศAmarin Unchanum
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศthnaporn999
 
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นtumetr1
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คtumetr1
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินtumetr1
 
retrieving the mail
retrieving the mailretrieving the mail
retrieving the mailtumetr1
 
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกบทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกChacrit Sitdhiwej
 
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสTaraya Srivilas
 
file transfer and access utilities
file transfer and access utilitiesfile transfer and access utilities
file transfer and access utilitiestumetr1
 
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลังการคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลังtumetr1
 
Econ presentation 1
Econ presentation 1Econ presentation 1
Econ presentation 1wowwilawanph
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการสถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการtumetr1
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารtumetr1
 

Viewers also liked (20)

ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
 
1. Tax
1. Tax1. Tax
1. Tax
 
MGT3102 RU
MGT3102 RUMGT3102 RU
MGT3102 RU
 
retrieving the mail
retrieving the mailretrieving the mail
retrieving the mail
 
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกบทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
 
Exim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากรExim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากร
 
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
 
file transfer and access utilities
file transfer and access utilitiesfile transfer and access utilities
file transfer and access utilities
 
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลังการคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
 
Econ presentation 1
Econ presentation 1Econ presentation 1
Econ presentation 1
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการสถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคาร
 

Similar to เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
Tax 63
Tax 63Tax 63
Tax 63gg ll
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Docmaovkh
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯthnaporn999
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2Nopporn Thepsithar
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพtumetr1
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10praphol
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
9789740335337
97897403353379789740335337
9789740335337CUPress
 

Similar to เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ (13)

Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
Tax 63
Tax 63Tax 63
Tax 63
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Doc
 
Ch12
Ch12Ch12
Ch12
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10
 
Ec961
Ec961Ec961
Ec961
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
9789740335337
97897403353379789740335337
9789740335337
 

More from tumetr1

ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็คตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็คตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
connectivity utility
connectivity utilityconnectivity utility
connectivity utilitytumetr1
 
network hardware
network hardwarenetwork hardware
network hardwaretumetr1
 
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)tumetr1
 
the transport layer
the transport layerthe transport layer
the transport layertumetr1
 
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์กระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์กtumetr1
 
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์tumetr1
 
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายการส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายtumetr1
 
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลtumetr1
 
พัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจพัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจtumetr1
 
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐtumetr1
 
พฤติกรรมการผลิต
 พฤติกรรมการผลิต พฤติกรรมการผลิต
พฤติกรรมการผลิตtumetr1
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคtumetr1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูลtumetr1
 

More from tumetr1 (20)

ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็คตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็คตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
connectivity utility
connectivity utilityconnectivity utility
connectivity utility
 
network hardware
network hardwarenetwork hardware
network hardware
 
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
 
routing
routingrouting
routing
 
the transport layer
the transport layerthe transport layer
the transport layer
 
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์กระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
 
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
 
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายการส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
 
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
 
พัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจพัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจ
 
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
 
พฤติกรรมการผลิต
 พฤติกรรมการผลิต พฤติกรรมการผลิต
พฤติกรรมการผลิต
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูล
 

เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ