SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                              1

                                บทที่ 1 การเคลื่อ นที่ใ นแนวเส้น ตรง


เนื้อ หาประกอบด้ว ย
1.1 คำาจำากัดความของตำาแหน่งและการกระจัด
1.2 คำาจำากัดความของความเร็วเฉลีย
                                ่
1.3 คำาจำากัดความของความเร็วขณะใดขณะหนึงและอัตราเร็ว
                                       ่
1.4 คำาจำากัดความของความเร่งเฉลี่ยและความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง
1.5 การเคลื่อนที่เมื่อความเร่งคงที่
1.6 การตกอิสระของวัตถุ
1.7 สมการจลศาสตร์และการแก้สมการโดยใช้แคลลูลัส


         ในบทนี้จะศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุใน 1 มิติ โดยไม่สนใจถึงสาเหตุที่ทำาให้วัตถุ
เคลื่อนที่เรียกว่า จลศาสตร์


1.1                    คำา จำา กัด ความของตำา แหน่ง และการกระจัด
      ก่อนจะทำาความเข้าใจเรื่องต่าง ๆ ในหัวข้อต่อ ๆ ไป ต้องทราบความหมายตำาแหน่งของวัตถุ
ก่อน พิจารณารูปที่ 1.1




                  รูปที่ 1.1                                       รูปที่ 1.2


      ตำา แหน่ง คือบริเวณที่ตั้งของวัตถุ (รถตั้งอยู่ที่ตำาแหน่ง x1 ) ในระบบพิกัดฉาก
   การกระจัด คือการเปลียนแปลงตำาแหน่งของวัตถุ พิจารูปที่ 1.2 เมื่อรถเปลี่ยนตำาแหน่งจาก
                          ่
 x1 ไปยัง ตำาแหน่ง x 2 จากเงื่อนไขข้างต้นสามารถนำามาเขียนเป็นสมการทางคณิตศาสตร์ได้

ดังนี้
                                     ตำาแหน่ง    ⇒ x
                                     นิยามการกระจัด ∆x = x 2 − x1




ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                                         2

ตัว อย่า งที่ 1.1 จากรูปเป็นกราฟการเดินทางท่องเที่ยวไปเชียงใหม่โดยทางรถยนต์ เมื่อจุดเริ่ม
ต้นอยู่ที่มหาวิทยาลัยรังสิต ดังรูปที่ 1.2 จงคำานวณหา




                                                         1. ตำาแหน่งของรถยนต์ที่ t = 2 s
                                                         2. ตำาแหน่งของรถยนต์ที่ t = 8s
                                                         3. การกระจัดภายในเวลา 6 s
                                                         4. การกระจัดทั้งหมด




                       รูปที่ 1. 2
วิธ ีท ำา
            ก. จากกราฟ        x1 = 110km

2           ข. จากกราฟ        x 2 = 375km
3           ค. จากคำาจำากัดความของการกระจัด               ∆x       =        x 2 − x1

                                                                   =        ( 375km −110km)
                                                                   =    265km
            ง. จากกราฟการกระจัดทั้งหมด           ∆T
                                                  x      =         495km


1.2                    คำา จำา กัด ความของความเร็ว เฉลี่ย
      จากหั ว ข้ อ ที่ 1.1     เมื่ อ ทราบตำา แหน่ ง ของวั ต ถุ แ ล้ ว ในหั ว ข้ อ ต่ อ ไปจะอธิ บ ายถึ ง การ
เปลี่ยนแปลงตำาแหน่งอย่างรวดเร็ว
      ความเร็วเฉลี่ย คืออัตราการเปลียนแปลงการกระจัดต่อช่วงเวลา
                                    ่
      คำาจำากัดความของความเร็วเฉลียเมื่อเขียนในรูปของสมการทางคณิตศาสตร์
                                   ่
                                     ∆x x 2 − x1
                        v = v av =      =
                                     ∆t   t 2 − t1


ตัว อย่า งที่ 1.2 จากโจทย์ข้อ 1.1 จงคำานวณหา
            1. ความเร็วเฉลี่ยในการเดินทางจาก t = 2h ถึง t = 8h
            2. ความเร็วเฉลี่ยเมื่อสิ้นสุดการเดินทาง




ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                                      3

วิธ ีท ำา จากคำาจำากัดความของความเร็วเฉลี่ย
                                                                   ∆x
          ก.                  v      =         v av     =          ∆t
                                               x 2 − x1
                                     =          t 2 − t1
                                               ( 375km −110km )
                                     =               ( 8h − 2h )
                                     =         44.20( km / h ) ข.
                                                                   ∆x
                              v      =         v av     =          ∆t
                                               ( 495km)
                                     =            (11h )
4                                    =         45( km / h )



    จากตัวอย่า งข้า งต้นแสดงให้เห็น ถึงการเลื่อนตำา แหน่ง พิจารณาการเคลื่อนตำา แหน่งของ
วัตถุภายในเวลา 2 ชั่วโมง จากช่วงเวลา t = 3h ถึง t = 4h และจาก t = 6h ถึง t = 7 h
ความเร็วเฉลี่ยภายในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงในกรณีเช่นนี้หาไม่ได้เนื่องจากช่วงเวลาไม่ต่อเนื่อง




1.3                    นิย ามความเร็ว ขณะใดขณะหนึ่ง และอัต ราเร็ว




                                                   จากรู ป ที่ 1.3 กราฟแสดงความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
                                                   ตำา แ ห น่ ง กั บ เ ว ล า เป็ น กราฟเส้ น ตรงความเร็ ว
                                                   เฉลี่ยคือความชัน (slope) ของกราฟ
                                                   เนื่องจาก
                                                                             ∆x 
                                                                   slope =      = v = v av
                                                                             ∆t




ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                                            4

     อัตราเร็วเฉลี่ย คือขนาดของเร็วเฉลีย เป็นการกระจัดต่อช่วงเวลา
                                       ่




                       รูปที่ 1.3




                                                        จ า ก รู ป ที่ 1.4 ก ร า ฟ แ ส ด ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์
                                                 ระหว่ า ง ตำา แ ห น่ ง กั บ เ ว ล า เป็ น กราฟเส้ น โค้ ง
                                                 ความเร็วเฉลี่ย (ความชัน ) จะมีการเปลี่ยนแปลงขึ้น
                                                 อยู่กับขนาดของ ∆ ถ้า ∆ มีค่าน้อยมาก ๆ เรา
                                                                   t         t
                                                 สามารถหา ความชั น ได้ จ ากเส้ น สั ม ผั ส (tangent
                                                 line) ส่วนโค้ง ความเร็วทีได้เรียกว่าความเร็วขณะ
                                                 ใดขณะหนึ่งนั่นคือ
                                                                           ∆x
                                                 v      =          lim
                                                                   ∆t →0   ∆t
สามารถเขียนอยูในรูปของสมการทางคณิตศาสตร์ได้ดังนี้
              ่

                                                                                      dx
                       รูปที่ 1.4                                  v        =         dt




                                              นั่ น คื อ ความเร็ ว ขณะใดขณะหนึ่ ง เป็ น การกระจั ด ต่ อ
                                     เวลาในช่ ว งเวลาสั้ น มาก ๆ หรื อ เป็ น ความเร็ ว ที่ จุ ด ใดจุ ด หนึ่ ง
                                     ของการเคลื่ อ นที่ เช่ น ความเร็ ว ขณะขั บ รถสั ง เกตุ ไ ด้ จ ากเข็ ม
                                     ไมล์ขณะนัน ดังรูปที่ 1.5
                                              ้




          รูปที่ 1.5




ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                                 5



ตั ว อ ย่ า ง ที่ 1.3 โยนลู ก บอลขึ้ น ตามแนวดิ่ ง ตำา แหน่ ง ของลู ก บอล ณ.เวลา        t ใด ๆ คื อ
y = (1 + 25t − 5t 2 )m
            1. จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับระยะทาง
            2. ความเร็วเฉลี่ยในช่วง 2 วินาทีแรก
            3. ความเร็วเฉลี่ยในช่วง 1 วินาทีแรก
            4. ความเร็วที่เวลา t = 0 s
วิธ ีท ำา
ก.




2. จากคำาจำากัดความของความเร็วเฉลี่ย
                           ∆y y 2 − y1
               v     =          =
                            ∆t       t 2 − t1
                       y2   =         (1 + 25( 2) − 5( 2) )m2
                                                                            =     31m
                       y1   =         (1 + 25( 0) − 5( 0) )m2
                                                                            =     1m
                       t2   =         2s
                       t1   =         0s
                                     ( 31 −1) m
                       v    =                           =          15( m / s )
                                       ( 2 − 0) s
3. จากคำาจำากัดความของความเร็วเฉลี่ย
                           ∆y y 2 − y1
               v     =          =
                            ∆t       t 2 − t1
                                     1 + 25(1) − 5(1)      m =
                                                        2
                       y2   =                                               21m
                                     1 + 25( 0 ) − 50( 0 ) m
                                                            2
                       y1   =                                               =     1m



ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                                           6

                       t2    =        1s
                       t1    =        0s
                                     ( 21m −1m )
                       v     =                            =           20( m / s )
                                        (1s − 0s )

4. ความเร็วที่ t = 0 s คือความเร็วขณะใดขณะหนึ่งจะได้

                v                 =
                                                (
                              dy d 1 + 25t − 5t 2  m 
                                                   
                                                                  )
                       =
                               dt       dt        s
                             =        25 −10t ( m / s )

เมื่อ t = 0 s
                       v     =        25 −10( 0 )( m / s )

                             =        25( m / s )



          ข้อ สัง เกต จากตัวอย่างข้างต้นสังเกตได้ว่าในขณะที่ช่วงเวลาสั้นลงความเร็วเฉลี่ยจะมี
ค่าใกล้กับความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง
          คำา จำา กัดความของอัต ราเร็วคือขนาดของความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง อัตราเร็วจะมีค่า
เป็นบวกเสมอ ในขณะที่ความเร็วมีได้ทั้งค่าบวกและค่าลบ ข้อแตกต่างระหว่างอัต ราเร็วและ
ความเร็วจะสังเกตเห็นได้ง่ายขึ้น เมื่อความเร็วคิดอยู่ในรูปของเวกเตอร์ซึ่งจะศึกษาไปในการ
เคลื่อนที่ 2 มิติ


1.4                    คำา จำา กัด ความของความเร่ง เฉลี่ย และความเร่ง ขณะใดขณะหนึ่ง
          ในหั ว ข้ อ นี้ จ ะอธิ บ ายถึ ง การเปลี่ ย นแปลงความเร็ ว ซึ่ ง เรี ย กว่ า ความเร่ ง ข้ อ แตกต่ า ง
ระหว่างความเร็วและความเร่งคือ ความเร็วบอกถึงการเปลี่ยนแปลงตำาแหน่ง ส่วนความเร่งบอก
ถึงการเปลี่ยนแปลงความเร็วนั่นคือความเร่งคืออัตราการเปลียนแปลงความเร็ว
                                                       ่
          เมื่อเขียนอยู่ในรูปสมการทางคณิตศาสตร์จะได้นิยามของความเร่งเฉลียคือ
                                                                        ่
                                        ∆v v 2 − v1
                             a    =         =
                                         ∆t   t −t        2   1

          คำาจำากัดความของความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง
                                      dv
                         a     =      dt


ตั ว อ ย่ า ง ที่ 1.4 รถยนต์ คั น หนึ่ ง สามารถเร่ ง ความเร็ ว จาก 0m / s จนกระทั่ ง มี ค วามเร็ ว
26.8m / s ภายในเวลา 6 s จงหาความเร่งเฉลี่ยของรถคันนี้
                                             ∆v v 2 − v1
วิธ ีท ำา จาก             a         =             =
                                              ∆t      t −t2   1
                                                ( 26.8m / s − 0m / s )
                                      =               ( 6s − 0s )
                                      =         4.47( m / s 2 )



ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                                                      7



            จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตำาแหน่งกับเวลา ความชันของกราฟคือความเร็ว
ในทำานองเดียวกันความเร่งคือความชันของกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลา


ตัว อย่า ง ที่ 1.5           กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลาของรถคันหนึ่งแสดงดัง
รูปที่ 1.6 จากกราฟอธิบายว่าเมื่อ


                                                     1. ช่วงแรกรถมีความหน่วง (decelerating)
                                                     2. รถมีความเร่ง (accelerating)
                                                     3. ความเร่งเป็นศูนย์
                                                     4. รถมีความเร็วลดลง




                รูปที่ 1.6
                                                                      dv
วิธ ีท ำา    ก. ; ข. ; ค. จากคำาจำากัดความของความเร่งขณะใดขณะหนึง a = dt ซึ่งสามารถหา
                                                                ่

ได้จากความชันของกราฟ
       ง. ช่วงที่รถมีความเร็วลดลงมีอยู่ 2 ช่วงคือช่วงเวลา t = 0 s ถึง t = 0.5s และช่วง
เวลา t = 2.8s ถึง t = 3.5s


1.5                    การเคลื่อ นที่เ มื่อ ความเร่ง คงที่
            ถ้ า เรารู้ ว่ า วั ต ถุ เ ริ่ ม ต้ น เคลื่ อ นที่ จ ากตำา แหน่ ง ไหน ความเร็ ว ต้ น เท่ า ใดและมี ค วามเร่ ง
เท่าใด เราจะสามารถบอกได้ว่าช่วงต่อไปวัตถุจะอยู่ที่ไหน ปัญหาที่เกิดขึ้นนี้สามารถอธิบายได้
โดยใช้ สมการทางคณิต ศาสตร์ เมื่อ กำา หนดให้ตำา แหน่ งเริ่ ม ต้น คื อ x 0 ; ความเร็ว ต้น คื อ v 0 ;
ความเร่งคือ a ความเร่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาคือ a t ; ความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาคือ
vt ; ตำาแหน่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาคือ x t ; ความเร่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของตำาแหน่งคือ a x ;

และความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของตำาแหน่งคือ                 v x ซึ่งสามารถเขียนอยู่ในรูปสมการการเคลื่อนที่

   ในกรณีที่วัต ถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่สมการการเคลื่อนที่กรณีนี้ เราเรียกว่าสมการจล
ศาสตร์ ให้ at = a ; a x = a ; เมื่อ a คือความเร่งคงที่
สมการความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาพิจารณาได้จากนิยามความเร่งเฉลี่ย
                                       ∆ v
                        a       =       ∆ t
                                                      vt − v 0
                                 a         =
                                                       t −0
                                 vt        =         v 0 + at

เป็นสมการความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลา




ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                                         8

สมการตำาแหน่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาพิจารณาได้จากนิยามความเร็วเฉลี่ย ( v )
                                        ∆ x
                         v      =       ∆ t
              1                         xt − x 0
                  ( v + v0 )    =
               2                         t −0
                                                 1
              xt − x 0                 =           ( v + v0 )t
                                                 2
แทน v ด้วย vt จากสมการข้างบนซึ่งเป็นสมการความเร็วเมื่อฟังก์ชั่นของเวลาจะได้
                                                              1
                       xt − x 0                    =            ( v0 + at + v0 )t
                                                              2
                                                          1 2
                                           =       v0 t +     at
                                                          2
                                                                 1
                                  xt       =       x 0 + v 0 t + at 2
                                                                 2
เป็นสมการตำาแหน่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลา


          ในทำานองเดียวกันความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของตำาแหน่ง สามารถหาได้โดยหาเวลาจาก
สมการความเร็วที่เป็นฟังก์ชั่นของเวลา จากนั้นนำาเวลาที่ได้แทนลงในสมการตำาแหน่งเมื่อเป็น
ฟังก์ชั่นของเวลาดังนี้
                                  vt       =       v 0 + at
                                                    v − v0
                                  t        =
                                                      a
                                                                1 2
จาก                               x        =       x0 + v 0 t +    at
                                                                2
                                                                                    2
                                                             v − v0  1  v − v0 
                                           =       x0 + v 0          + a       
                                                             a  2  a 
                                                         vv0 − v0 v 2 − 2vv0 + v0
                                                                  2             2

                                           =       x0 +             +
                                                             a              2a
                                                         2vv0 − 2v0 + v − 2vv0 + v 0
                                                                     2    2        2

                                           =       x0 +
                                                                        2a
                                                         v − v0
                                                          2      2

                                           =       x0 +
                                                            2a
                                  v2       =       v 0 + 2a ( x − x 0 )
                                                     2




จากสมการจะเห็นว่าเมื่อ            a     คงที่ความเร็วจะเป็นฟังก์ชั่นของระยะทางเขียนใหม่ได้เป็น
                                  vt2      =       v 0 + 2a ( x − x 0 )
                                                     2




          จากสมการที่ ไ ด้ กำา หนดให้ x 0 คื อ ตำา แหน่ ง เริ่ ม ต้ น ; v 0 คื อ ความเร็ ว ต้ น ;   a   คื อ
ความเร่งเป็นค่าคงที่ เราสามารถใช้สมการเหล่านี้หาความเร่ง ความเร็ว และตำาแหน่งของวัตถุ
ที่เวลาใด ๆได้และยังสามารถหาความเร่งและความเร็วของวัตถุที่ตำาแหน่งใด ๆ ได้




ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                                              9

สมการการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อความเร่งคงที่สามารถเขียนได้ดังนี้
                       at       =       a
                                vt       =            v 0 + at
                                                                     1 2
                                xt       =            x0 + v 0 t +     at
                                                                     2
                                at       =            a
                                vt2      =            v 0 + 2a ( x − x 0 )
                                                        2




          บางกรณีในสมการจลศาสตร์เราไม่ทราบตำา แหน่งเริ่มต้น ความเร็วต้น หรือค่าต่าง ๆ
เพื่อความสะดวกในการใช้เราสมารถนำามาเขียนเพื่อแสดงค่าที่ไม่ปรากฎได้ดังนี้




                            สมการจลศาสตร์                                    ค่าที่ไม่ปรากฏ
                              v = v 0 + at                                       x − x0
                                           1                                       v
                          x = x 0 + v 0 t + at 2
                                           2
                         v 2 = v 0 + 2a ( x − x 0 )
                                 2                                                 t
                                    1                                              a
                          x − x0 =    ( v + v0 )t
                                    2
                                          1                                       v0
                          x = x 0 + vt − at 2
                                          2




          จากห้าสมการที่ได้จะสังเกตได้ว่าแต่ละสมการจะมีค่าที่ไม่ปรากฏในแต่ล ะสมการอยู่ 1
ค่า จากเงื่อนไขดังกล่าวเราสมารถยุบสมการต่าง ๆ ดังกล่าวให้เหลือเพียง 2 หรือ 3 สมการได้
จากนั้นก็ให้แทนค่าที่ไม่ต้องการให้ปรากฏลงในสมการนันได้ดังนี้
                                                  ่
          กรณียุบให้เหลือเพียง 2 สมการคือ
                          v      =      v 0 + at
                                                                     1 2
                                x        =            x0 + v 0 t +     at
                                                                     2
                                                                                           v − v0
          เมื่อ ไม่ต้ องการให้ มีค่ า t ปรากฏในสมการก็ ใ ห้ แ ทนค่ า t =                          ลงในสมการ
                                                                                             a
                   1 2
x = x0 + v0 t +      at จะได้
                   2
                                                                                       2
                                                          v − v0  1  v − v0 
                       x − x0            =            v0          + a       
                                                          a  2  a 
                                                      v0 v − v02
                                                                    1
                                         =                       +    ( v − v0 ) 2
                                                          a        2a
                                                      v0 v − v 0
                                                               2

                                         =
                                                          a
                                                                 +
                                                                    1 2
                                                                   2a
                                                                         (
                                                                       v − 2v 0 v + v 0
                                                                                      2
                                                                                            )


ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                                           10

                                                v 0 v − v 0 v 2 − 2v 0 v + v 0
                                                          2                  2
                       x − x0              =                +
                                                     a             2a
                                                2v0 v − 2v0 + v − 2v0 v + v0
                                                             2   2             2

                                           =
                                                               2a
                                                v − v0
                                                  2      2

                                           =
                                                    2a
                       v 2 − v0
                              2
                                           =    2a ( x − x 0 )
                                  v   2
                                           =    v 0 + 2a ( x − x 0 )
                                                  2




          ห มา ย เ ห ตุ      x − x 0 นับเป็นค่า เดียวได้เนื่องจากเราสามารถเลือก                x   หรือ x 0 ได้
จากระบบพิกัดแกนมุมฉาก


ตัว อย่า ง ที่ 1.6 รถยนต์คันหนึ่งเร่งความเร็วจาก 0m / s เป็น 26.8m / s ภายในเวลา 6 s
ดังรูปที่ 1.7 จงหา


                                                                                                       ก      .
                                                                                                       ความเร่ง
                                                     ข. ระยะทางที่รถวิ่งได้ภายในเวลา 6 s.


                                                    วิ ธ ี ท ำาก. จากโจทย์ ค่ า ที่ ไ ม่ ป รากฏคื อ ตำา แหน่ ง
                                                    สุ ด ท้ า ย ( x ) เ มื่ อ x0 = 0 ; x = ? ; v 0 = 0 ;
                                                    v = 26.8m / s ; a = ? ; t = 6 s
          จากสมการ


                        v       =    v 0 + at
                                v 26.8m / s
           a           =           =
                                 t    6s
          รูปที่ 1.7                                                     =           4.47( m / s 2 )
          ข. เมื่อค่าที่ไม่ปรากฏคือความเร่ง ( a )
                                                             1
                                  x − x0        =              ( v + v0 )t
                                                             2
เริ่มต้น t = s ; x 0 = 0 ; v 0 = 0
                                                            1
                                           x    =              vt
                                                            2
                                                            1
                                                =             ( 26.8m / s )( 6 s )
                                                            2
                                                =           80.4m


1.6                    การตกอิส ระของวัต ถุ



ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                                        11

      วัตถุเมื่อตกอย่างอิสระจะมีความเร่ง g = 9.8m / s เมื่อไม่คดแรงต้านของอากาศ
                                                     2
                                                               ิ
ห ลัก ก า ร คำา น ว ณ ใช้สมการจลศาสตร์ดังกล่าวจากข้างต้นเมื่อแทนค่า                        a   ด้วยค่า g การ
พิจารณาทิศให้พิจารณาตามความเร็วต้น


ตัว อ ย่ า ง ที่ 1.7 ขว้า งลูก บอลขึ้ น ไปในอากาศด้ วยความเร็วต้ น 15 (m/s) ดังรู ปที่ 1.8 จง
คำานวณหา
            ก. ระยะทางสูงสุดที่ลูกบอลเคลื่อนที่ได้
            ข. เวลาทีตำาแหน่งสูงสุด
                     ่
วิธ ีท ำา


       ก. จากโจทย์ เ มื่ อ ไม่ ท ราบเวลา ( t ) เมื่ อ y 0 = 0 ; y = ? v 0 = 15m / s ; v = 0 ;
a y = −g = −9.8m / s 2 ; t = ? จากสมการ


                                               v2      =           v0 + 2a y ( y − y 0 )
                                                                    2



                                                          เริ่มต้น y 0 = 0
                                                          ที่ตำาแหน่งสูงสุด v = 0
                                                          0       =        v 0 + 2a y y
                                                                             2




                                                                                    2
                                                                                   v0   − v02
                                                           y        =         −       =
                                                                                  2a y 2( − g )
                                                                               − (15m / s )
                                                                                               2


                                                                              2( − 9.8m / s 2 )
                                                                   =

                                                                   =          11.5m




        รูปที่ 1.8


ข. จากโจทย์เมื่อไม่ทราบตำาแหน่งสุดท้าย
                            v         =        v 0 + at

ที่ตำาแหน่งสูงสุด v = 0
                                                   v0    − 15m / s
                            t         =        −      =
                                                   ay   − 9.8m / s 2
                                      =        1.53s




ตัว อย่า งที่ 1.8 ขว้างลูกบอลขึ้นไปในอากาศด้วยความเร็วต้น                     u   ดังรูปที่ 1.9




ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                                                12

            ก.จงแสดงให้เห็น ว่า เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ ถึง ตำา แหน่ง สูง สุด มีค่าเท่ากับเวลาที่ใ ช้
เคลื่อนที่กลับสู่ตำาแหน่งเดิม
            ข. ความเร็วปลายเมื่อเคลื่อนที่กลับสู่ตำาแหน่งเดิม


วิธ ีท ำา
                              ก. จากโจทย์ เ มื่ อ ไม่ ท ราบตำา แหน่ ง สุ ด ท้ า ย เมื่ อ y 0 = 0 ; y = ?
                               v0 = u ; v = 0 ; a y = −g = −9.8m / s 2 ; t = ?
                                         v     =          v0 + a y t

                                         0     =          u − gt
                                                          u
                                      t up     =          g


                                             หาระยะที่วัตถุขึ้นไปได้สูงสุด เมื่อไม่ทราบเวลา t = ?
                                                   v2           =       v0 + 2a y ( y − y 0 )
                                                                          2


                                       0       =         u 2 − 2 gy

                                         y                   u2
                                               =             2g




                                               เมื่ อตำา แหน่ง สู ง สุ ด คื อ ระยะเริ่ ม ต้ น เมื่ อ ลู ก บอลเริ่ ม ตก
                                      และ
                             ความเร็ว ณ. ตำาแหน่งนี้คือความเร็วต้นมีค่าเท่ากับศูนย์ จากโจทย์เมื่อ
                                                               u2
                             ไม่ทราบความเร็วสุดท้าย เมื่อ y0 =      y = 0 ; v0 = 0 ; v = ? ;
                                                               2g ;
                              a y = −g = −9.8m / s 2 ; t = ?

                                                y                                   1
                                                         =           y 0 + v0 t +     a yt 2
                                                                                    2
                                               u2      1
                             0       =            + 0 − gt 2
                                               2g      2
                                               1                     u2
      รูปที่ 1.9                                 gt 2 =
                                               2                     2g
                                                                     u
                                               t down =
                                                                     g


นั่นคือ                                        t up      =           t down




ข. จากโจทย์เมื่อไม่ทราบความเร็วสุดท้าย



ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                                              13

                                      v        =             v0 + a y t
                                                                  u 
                                               =             0 − g 
                                                                  g 
                                                                   
                                               =             −u
นั่นคือความเร็วของลูกบอลขณะกลับสู่ตำาแหน่งเดิมจะมีความเร็วเท่ากันแต่ทิศตรงกันข้าม
1.7                    สมการจลศาสตร์แ ละการคำา นวณ
          บางครั้งการเคลื่อนที่ของวัตถุถูกกำาหนดโดยคำาจำากัดความ ของความเร็วและความเร่ง
                                            dx
                           v      =         dt
                                            dv
และ                        a      =         dt


จากสมการข้างต้นเราสามารถใช้แคลลูลัสสร้างสมการจลศาสตร์เมื่อมีความเร่งคงที่ได้
                                   dv
                     a     =        dt
                     dv    =       a ( dt )
                             v                  t

                             ∫dv =
                             v0
                                               ∫a( dt )
                                               0


ให้   a   คงที่
                             v                      t

                             ∫dv =
                             v0
                                               a ∫dt
                                                    0

                             v − v0 =          a(t − 0)
                             v       =         v 0 + at

          จากสมการที่ได้จะสังเกตุเห็นได้ว่า ความเร็วขึ้นกับเวลา เขียนใหม่ได้เป็น vt = v0 + at
ก็คือสมการจลศาสตร์เมื่อความเร็วเป็นฟังก์ชั่นของเวลาในทำานองเดียวกัน
                       dx     =        v ( dt )

แต่                          v       =         v 0 + at
                             dx      =         ( v0 + at ) dt
                                     =         v 0 ( dt ) + at ( dt )
                             x                  t               t

                             ∫dx =
                             x0
                                               ∫ v0 dt + ∫ at ( dt )
                                               0               0

แต่ความเร่ง และความเร็วต้นไม่เปลียนแปลงตามเวลา
                                 ่
                             x                          t           t

                             ∫dx =
                             x0
                                               v 0 ∫ dt + a ∫ tdt
                                                    0               0

                                                            1 2
                             x − x0 =          v0 t +         at
                                                            2
เป็นสมการจลศาสตร์เมื่อตำาแหน่งเป็นฟังก์ชั่นของเวลา
          การหาสมการการเคลื่ อ นที่ ข องวั ต ถุ             ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น โดยวิ ธี ก ารหาอนุ พั น ธ์ หรื อ
การอินทิเกรต ใช้สำาหรับการหาสมการเมื่อความเร่งไม่คงที่


ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                                    14




สรุป
          ในบทนี้ สามารถอธิบ ายการเคลื่อนที่ใ นรู ปของตำา แหน่ง การกระจั ด ความเร็ว และ
ความเร่ง ในกรณีที่ความเร่งคงที่เราสามารถใช้เงื่อนไขต่าง ๆ สร้างสมการจลศาสตร์ได้ และ
สามารถใช้คำาจำากัดความเบื้องต้นเพื่อหาสมการการเคลื่อนที่เมื่อความเร่งไม่คงที่ได้
ตำาแหน่ง :       x
การกระจัด : ∆x = x 2 − x1
                  ∆x x 2 − x1
ความเร็วเฉลี่ย : v = ∆t = t − t
                           2    1
                                dx
ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง : v = dt
                  ∆v v 2 − v1
ความเร่งเฉลี่ย : a = ∆t = t − t
                                2     1
                            dv
ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง : a = dt


                                สมการจลศาสตร์                      ค่าที่ไม่ปรากฏ
                                  v = v 0 + at                         x − x0
                                               1                         v
                              x = x 0 + v 0 t + at 2
                                               2
                             v 2 = v 0 + 2a ( x − x 0 )
                                     2                                   t
                                        1                                a
                              x − x0 =    ( v + v0 )t
                                        2
                                              1                         v0
                              x = x 0 + vt − at 2
                                              2


ใช้ในกรณีเมื่อความเร่ง ( a ) คงที่




ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ
Physics 1 – ฟิสกส์ 1
               ิ                                                   15




ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
                            ิ

More Related Content

What's hot

การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่Chakkrawut Mueangkhon
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีjirat266
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์Garsiet Creus
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)wiriya kosit
 
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันApinya Phuadsing
 

What's hot (20)

การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
trigo1.pdf
trigo1.pdftrigo1.pdf
trigo1.pdf
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
 
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

Similar to การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่kroosarisa
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติkungten555
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติThepsatri Rajabhat University
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1weerawat pisurat
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติPrint25
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s EquationsThepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1kroosarisa
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วnuchpool
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896CUPress
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896CUPress
 

Similar to การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง (20)

การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1
 
Phy1
Phy1Phy1
Phy1
 
Test phy1
Test phy1Test phy1
Test phy1
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
Physics 4,5,6 summary
Physics 4,5,6 summaryPhysics 4,5,6 summary
Physics 4,5,6 summary
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
Contraction Mapping
Contraction MappingContraction Mapping
Contraction Mapping
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896
 

การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

  • 1. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 1 บทที่ 1 การเคลื่อ นที่ใ นแนวเส้น ตรง เนื้อ หาประกอบด้ว ย 1.1 คำาจำากัดความของตำาแหน่งและการกระจัด 1.2 คำาจำากัดความของความเร็วเฉลีย ่ 1.3 คำาจำากัดความของความเร็วขณะใดขณะหนึงและอัตราเร็ว ่ 1.4 คำาจำากัดความของความเร่งเฉลี่ยและความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง 1.5 การเคลื่อนที่เมื่อความเร่งคงที่ 1.6 การตกอิสระของวัตถุ 1.7 สมการจลศาสตร์และการแก้สมการโดยใช้แคลลูลัส ในบทนี้จะศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุใน 1 มิติ โดยไม่สนใจถึงสาเหตุที่ทำาให้วัตถุ เคลื่อนที่เรียกว่า จลศาสตร์ 1.1 คำา จำา กัด ความของตำา แหน่ง และการกระจัด ก่อนจะทำาความเข้าใจเรื่องต่าง ๆ ในหัวข้อต่อ ๆ ไป ต้องทราบความหมายตำาแหน่งของวัตถุ ก่อน พิจารณารูปที่ 1.1 รูปที่ 1.1 รูปที่ 1.2 ตำา แหน่ง คือบริเวณที่ตั้งของวัตถุ (รถตั้งอยู่ที่ตำาแหน่ง x1 ) ในระบบพิกัดฉาก การกระจัด คือการเปลียนแปลงตำาแหน่งของวัตถุ พิจารูปที่ 1.2 เมื่อรถเปลี่ยนตำาแหน่งจาก ่ x1 ไปยัง ตำาแหน่ง x 2 จากเงื่อนไขข้างต้นสามารถนำามาเขียนเป็นสมการทางคณิตศาสตร์ได้ ดังนี้ ตำาแหน่ง ⇒ x นิยามการกระจัด ∆x = x 2 − x1 ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 2. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 2 ตัว อย่า งที่ 1.1 จากรูปเป็นกราฟการเดินทางท่องเที่ยวไปเชียงใหม่โดยทางรถยนต์ เมื่อจุดเริ่ม ต้นอยู่ที่มหาวิทยาลัยรังสิต ดังรูปที่ 1.2 จงคำานวณหา 1. ตำาแหน่งของรถยนต์ที่ t = 2 s 2. ตำาแหน่งของรถยนต์ที่ t = 8s 3. การกระจัดภายในเวลา 6 s 4. การกระจัดทั้งหมด รูปที่ 1. 2 วิธ ีท ำา ก. จากกราฟ x1 = 110km 2 ข. จากกราฟ x 2 = 375km 3 ค. จากคำาจำากัดความของการกระจัด ∆x = x 2 − x1 = ( 375km −110km) = 265km ง. จากกราฟการกระจัดทั้งหมด ∆T x = 495km 1.2 คำา จำา กัด ความของความเร็ว เฉลี่ย จากหั ว ข้ อ ที่ 1.1 เมื่ อ ทราบตำา แหน่ ง ของวั ต ถุ แ ล้ ว ในหั ว ข้ อ ต่ อ ไปจะอธิ บ ายถึ ง การ เปลี่ยนแปลงตำาแหน่งอย่างรวดเร็ว ความเร็วเฉลี่ย คืออัตราการเปลียนแปลงการกระจัดต่อช่วงเวลา ่ คำาจำากัดความของความเร็วเฉลียเมื่อเขียนในรูปของสมการทางคณิตศาสตร์ ่ ∆x x 2 − x1 v = v av = = ∆t t 2 − t1 ตัว อย่า งที่ 1.2 จากโจทย์ข้อ 1.1 จงคำานวณหา 1. ความเร็วเฉลี่ยในการเดินทางจาก t = 2h ถึง t = 8h 2. ความเร็วเฉลี่ยเมื่อสิ้นสุดการเดินทาง ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 3. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 3 วิธ ีท ำา จากคำาจำากัดความของความเร็วเฉลี่ย ∆x ก. v = v av = ∆t x 2 − x1 = t 2 − t1 ( 375km −110km ) = ( 8h − 2h ) = 44.20( km / h ) ข. ∆x v = v av = ∆t ( 495km) = (11h ) 4 = 45( km / h ) จากตัวอย่า งข้า งต้นแสดงให้เห็น ถึงการเลื่อนตำา แหน่ง พิจารณาการเคลื่อนตำา แหน่งของ วัตถุภายในเวลา 2 ชั่วโมง จากช่วงเวลา t = 3h ถึง t = 4h และจาก t = 6h ถึง t = 7 h ความเร็วเฉลี่ยภายในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงในกรณีเช่นนี้หาไม่ได้เนื่องจากช่วงเวลาไม่ต่อเนื่อง 1.3 นิย ามความเร็ว ขณะใดขณะหนึ่ง และอัต ราเร็ว จากรู ป ที่ 1.3 กราฟแสดงความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ตำา แ ห น่ ง กั บ เ ว ล า เป็ น กราฟเส้ น ตรงความเร็ ว เฉลี่ยคือความชัน (slope) ของกราฟ เนื่องจาก ∆x  slope = = v = v av ∆t ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 4. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 4 อัตราเร็วเฉลี่ย คือขนาดของเร็วเฉลีย เป็นการกระจัดต่อช่วงเวลา ่ รูปที่ 1.3 จ า ก รู ป ที่ 1.4 ก ร า ฟ แ ส ด ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ระหว่ า ง ตำา แ ห น่ ง กั บ เ ว ล า เป็ น กราฟเส้ น โค้ ง ความเร็วเฉลี่ย (ความชัน ) จะมีการเปลี่ยนแปลงขึ้น อยู่กับขนาดของ ∆ ถ้า ∆ มีค่าน้อยมาก ๆ เรา t t สามารถหา ความชั น ได้ จ ากเส้ น สั ม ผั ส (tangent line) ส่วนโค้ง ความเร็วทีได้เรียกว่าความเร็วขณะ ใดขณะหนึ่งนั่นคือ ∆x v = lim ∆t →0 ∆t สามารถเขียนอยูในรูปของสมการทางคณิตศาสตร์ได้ดังนี้ ่ dx รูปที่ 1.4 v = dt นั่ น คื อ ความเร็ ว ขณะใดขณะหนึ่ ง เป็ น การกระจั ด ต่ อ เวลาในช่ ว งเวลาสั้ น มาก ๆ หรื อ เป็ น ความเร็ ว ที่ จุ ด ใดจุ ด หนึ่ ง ของการเคลื่ อ นที่ เช่ น ความเร็ ว ขณะขั บ รถสั ง เกตุ ไ ด้ จ ากเข็ ม ไมล์ขณะนัน ดังรูปที่ 1.5 ้ รูปที่ 1.5 ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 5. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 5 ตั ว อ ย่ า ง ที่ 1.3 โยนลู ก บอลขึ้ น ตามแนวดิ่ ง ตำา แหน่ ง ของลู ก บอล ณ.เวลา t ใด ๆ คื อ y = (1 + 25t − 5t 2 )m 1. จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับระยะทาง 2. ความเร็วเฉลี่ยในช่วง 2 วินาทีแรก 3. ความเร็วเฉลี่ยในช่วง 1 วินาทีแรก 4. ความเร็วที่เวลา t = 0 s วิธ ีท ำา ก. 2. จากคำาจำากัดความของความเร็วเฉลี่ย  ∆y y 2 − y1 v = = ∆t t 2 − t1 y2 = (1 + 25( 2) − 5( 2) )m2 = 31m y1 = (1 + 25( 0) − 5( 0) )m2 = 1m t2 = 2s t1 = 0s  ( 31 −1) m v = = 15( m / s ) ( 2 − 0) s 3. จากคำาจำากัดความของความเร็วเฉลี่ย  ∆y y 2 − y1 v = = ∆t t 2 − t1 1 + 25(1) − 5(1) m = 2 y2 = 21m 1 + 25( 0 ) − 50( 0 ) m 2 y1 = = 1m ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 6. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 6 t2 = 1s t1 = 0s  ( 21m −1m ) v = = 20( m / s ) (1s − 0s ) 4. ความเร็วที่ t = 0 s คือความเร็วขณะใดขณะหนึ่งจะได้ v = ( dy d 1 + 25t − 5t 2  m    ) = dt dt s = 25 −10t ( m / s ) เมื่อ t = 0 s v = 25 −10( 0 )( m / s ) = 25( m / s ) ข้อ สัง เกต จากตัวอย่างข้างต้นสังเกตได้ว่าในขณะที่ช่วงเวลาสั้นลงความเร็วเฉลี่ยจะมี ค่าใกล้กับความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง คำา จำา กัดความของอัต ราเร็วคือขนาดของความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง อัตราเร็วจะมีค่า เป็นบวกเสมอ ในขณะที่ความเร็วมีได้ทั้งค่าบวกและค่าลบ ข้อแตกต่างระหว่างอัต ราเร็วและ ความเร็วจะสังเกตเห็นได้ง่ายขึ้น เมื่อความเร็วคิดอยู่ในรูปของเวกเตอร์ซึ่งจะศึกษาไปในการ เคลื่อนที่ 2 มิติ 1.4 คำา จำา กัด ความของความเร่ง เฉลี่ย และความเร่ง ขณะใดขณะหนึ่ง ในหั ว ข้ อ นี้ จ ะอธิ บ ายถึ ง การเปลี่ ย นแปลงความเร็ ว ซึ่ ง เรี ย กว่ า ความเร่ ง ข้ อ แตกต่ า ง ระหว่างความเร็วและความเร่งคือ ความเร็วบอกถึงการเปลี่ยนแปลงตำาแหน่ง ส่วนความเร่งบอก ถึงการเปลี่ยนแปลงความเร็วนั่นคือความเร่งคืออัตราการเปลียนแปลงความเร็ว ่ เมื่อเขียนอยู่ในรูปสมการทางคณิตศาสตร์จะได้นิยามของความเร่งเฉลียคือ ่  ∆v v 2 − v1 a = = ∆t t −t 2 1 คำาจำากัดความของความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง dv a = dt ตั ว อ ย่ า ง ที่ 1.4 รถยนต์ คั น หนึ่ ง สามารถเร่ ง ความเร็ ว จาก 0m / s จนกระทั่ ง มี ค วามเร็ ว 26.8m / s ภายในเวลา 6 s จงหาความเร่งเฉลี่ยของรถคันนี้  ∆v v 2 − v1 วิธ ีท ำา จาก a = = ∆t t −t2 1 ( 26.8m / s − 0m / s ) = ( 6s − 0s ) = 4.47( m / s 2 ) ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 7. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 7 จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตำาแหน่งกับเวลา ความชันของกราฟคือความเร็ว ในทำานองเดียวกันความเร่งคือความชันของกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลา ตัว อย่า ง ที่ 1.5 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลาของรถคันหนึ่งแสดงดัง รูปที่ 1.6 จากกราฟอธิบายว่าเมื่อ 1. ช่วงแรกรถมีความหน่วง (decelerating) 2. รถมีความเร่ง (accelerating) 3. ความเร่งเป็นศูนย์ 4. รถมีความเร็วลดลง รูปที่ 1.6 dv วิธ ีท ำา ก. ; ข. ; ค. จากคำาจำากัดความของความเร่งขณะใดขณะหนึง a = dt ซึ่งสามารถหา ่ ได้จากความชันของกราฟ ง. ช่วงที่รถมีความเร็วลดลงมีอยู่ 2 ช่วงคือช่วงเวลา t = 0 s ถึง t = 0.5s และช่วง เวลา t = 2.8s ถึง t = 3.5s 1.5 การเคลื่อ นที่เ มื่อ ความเร่ง คงที่ ถ้ า เรารู้ ว่ า วั ต ถุ เ ริ่ ม ต้ น เคลื่ อ นที่ จ ากตำา แหน่ ง ไหน ความเร็ ว ต้ น เท่ า ใดและมี ค วามเร่ ง เท่าใด เราจะสามารถบอกได้ว่าช่วงต่อไปวัตถุจะอยู่ที่ไหน ปัญหาที่เกิดขึ้นนี้สามารถอธิบายได้ โดยใช้ สมการทางคณิต ศาสตร์ เมื่อ กำา หนดให้ตำา แหน่ งเริ่ ม ต้น คื อ x 0 ; ความเร็ว ต้น คื อ v 0 ; ความเร่งคือ a ความเร่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาคือ a t ; ความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาคือ vt ; ตำาแหน่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาคือ x t ; ความเร่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของตำาแหน่งคือ a x ; และความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของตำาแหน่งคือ v x ซึ่งสามารถเขียนอยู่ในรูปสมการการเคลื่อนที่ ในกรณีที่วัต ถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่สมการการเคลื่อนที่กรณีนี้ เราเรียกว่าสมการจล ศาสตร์ ให้ at = a ; a x = a ; เมื่อ a คือความเร่งคงที่ สมการความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาพิจารณาได้จากนิยามความเร่งเฉลี่ย  ∆ v a = ∆ t vt − v 0 a = t −0 vt = v 0 + at เป็นสมการความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลา ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 8. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 8 สมการตำาแหน่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลาพิจารณาได้จากนิยามความเร็วเฉลี่ย ( v ) ∆ x v = ∆ t 1 xt − x 0 ( v + v0 ) = 2 t −0 1 xt − x 0 = ( v + v0 )t 2 แทน v ด้วย vt จากสมการข้างบนซึ่งเป็นสมการความเร็วเมื่อฟังก์ชั่นของเวลาจะได้ 1 xt − x 0 = ( v0 + at + v0 )t 2 1 2 = v0 t + at 2 1 xt = x 0 + v 0 t + at 2 2 เป็นสมการตำาแหน่งเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของเวลา ในทำานองเดียวกันความเร็วเมื่อเป็นฟังก์ชั่นของตำาแหน่ง สามารถหาได้โดยหาเวลาจาก สมการความเร็วที่เป็นฟังก์ชั่นของเวลา จากนั้นนำาเวลาที่ได้แทนลงในสมการตำาแหน่งเมื่อเป็น ฟังก์ชั่นของเวลาดังนี้ vt = v 0 + at v − v0 t = a 1 2 จาก x = x0 + v 0 t + at 2 2  v − v0  1  v − v0  = x0 + v 0   + a   a  2  a  vv0 − v0 v 2 − 2vv0 + v0 2 2 = x0 + + a 2a 2vv0 − 2v0 + v − 2vv0 + v 0 2 2 2 = x0 + 2a v − v0 2 2 = x0 + 2a v2 = v 0 + 2a ( x − x 0 ) 2 จากสมการจะเห็นว่าเมื่อ a คงที่ความเร็วจะเป็นฟังก์ชั่นของระยะทางเขียนใหม่ได้เป็น vt2 = v 0 + 2a ( x − x 0 ) 2 จากสมการที่ ไ ด้ กำา หนดให้ x 0 คื อ ตำา แหน่ ง เริ่ ม ต้ น ; v 0 คื อ ความเร็ ว ต้ น ; a คื อ ความเร่งเป็นค่าคงที่ เราสามารถใช้สมการเหล่านี้หาความเร่ง ความเร็ว และตำาแหน่งของวัตถุ ที่เวลาใด ๆได้และยังสามารถหาความเร่งและความเร็วของวัตถุที่ตำาแหน่งใด ๆ ได้ ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 9. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 9 สมการการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อความเร่งคงที่สามารถเขียนได้ดังนี้ at = a vt = v 0 + at 1 2 xt = x0 + v 0 t + at 2 at = a vt2 = v 0 + 2a ( x − x 0 ) 2 บางกรณีในสมการจลศาสตร์เราไม่ทราบตำา แหน่งเริ่มต้น ความเร็วต้น หรือค่าต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการใช้เราสมารถนำามาเขียนเพื่อแสดงค่าที่ไม่ปรากฎได้ดังนี้ สมการจลศาสตร์ ค่าที่ไม่ปรากฏ v = v 0 + at x − x0 1 v x = x 0 + v 0 t + at 2 2 v 2 = v 0 + 2a ( x − x 0 ) 2 t 1 a x − x0 = ( v + v0 )t 2 1 v0 x = x 0 + vt − at 2 2 จากห้าสมการที่ได้จะสังเกตได้ว่าแต่ละสมการจะมีค่าที่ไม่ปรากฏในแต่ล ะสมการอยู่ 1 ค่า จากเงื่อนไขดังกล่าวเราสมารถยุบสมการต่าง ๆ ดังกล่าวให้เหลือเพียง 2 หรือ 3 สมการได้ จากนั้นก็ให้แทนค่าที่ไม่ต้องการให้ปรากฏลงในสมการนันได้ดังนี้ ่ กรณียุบให้เหลือเพียง 2 สมการคือ v = v 0 + at 1 2 x = x0 + v 0 t + at 2 v − v0 เมื่อ ไม่ต้ องการให้ มีค่ า t ปรากฏในสมการก็ ใ ห้ แ ทนค่ า t = ลงในสมการ a 1 2 x = x0 + v0 t + at จะได้ 2 2  v − v0  1  v − v0  x − x0 = v0   + a   a  2  a  v0 v − v02 1 = + ( v − v0 ) 2 a 2a v0 v − v 0 2 = a + 1 2 2a ( v − 2v 0 v + v 0 2 ) ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 10. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 10 v 0 v − v 0 v 2 − 2v 0 v + v 0 2 2 x − x0 = + a 2a 2v0 v − 2v0 + v − 2v0 v + v0 2 2 2 = 2a v − v0 2 2 = 2a v 2 − v0 2 = 2a ( x − x 0 ) v 2 = v 0 + 2a ( x − x 0 ) 2 ห มา ย เ ห ตุ x − x 0 นับเป็นค่า เดียวได้เนื่องจากเราสามารถเลือก x หรือ x 0 ได้ จากระบบพิกัดแกนมุมฉาก ตัว อย่า ง ที่ 1.6 รถยนต์คันหนึ่งเร่งความเร็วจาก 0m / s เป็น 26.8m / s ภายในเวลา 6 s ดังรูปที่ 1.7 จงหา ก . ความเร่ง ข. ระยะทางที่รถวิ่งได้ภายในเวลา 6 s. วิ ธ ี ท ำาก. จากโจทย์ ค่ า ที่ ไ ม่ ป รากฏคื อ ตำา แหน่ ง สุ ด ท้ า ย ( x ) เ มื่ อ x0 = 0 ; x = ? ; v 0 = 0 ; v = 26.8m / s ; a = ? ; t = 6 s จากสมการ v = v 0 + at v 26.8m / s a = = t 6s รูปที่ 1.7 = 4.47( m / s 2 ) ข. เมื่อค่าที่ไม่ปรากฏคือความเร่ง ( a ) 1 x − x0 = ( v + v0 )t 2 เริ่มต้น t = s ; x 0 = 0 ; v 0 = 0 1 x = vt 2 1 = ( 26.8m / s )( 6 s ) 2 = 80.4m 1.6 การตกอิส ระของวัต ถุ ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 11. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 11 วัตถุเมื่อตกอย่างอิสระจะมีความเร่ง g = 9.8m / s เมื่อไม่คดแรงต้านของอากาศ 2 ิ ห ลัก ก า ร คำา น ว ณ ใช้สมการจลศาสตร์ดังกล่าวจากข้างต้นเมื่อแทนค่า a ด้วยค่า g การ พิจารณาทิศให้พิจารณาตามความเร็วต้น ตัว อ ย่ า ง ที่ 1.7 ขว้า งลูก บอลขึ้ น ไปในอากาศด้ วยความเร็วต้ น 15 (m/s) ดังรู ปที่ 1.8 จง คำานวณหา ก. ระยะทางสูงสุดที่ลูกบอลเคลื่อนที่ได้ ข. เวลาทีตำาแหน่งสูงสุด ่ วิธ ีท ำา ก. จากโจทย์ เ มื่ อ ไม่ ท ราบเวลา ( t ) เมื่ อ y 0 = 0 ; y = ? v 0 = 15m / s ; v = 0 ; a y = −g = −9.8m / s 2 ; t = ? จากสมการ v2 = v0 + 2a y ( y − y 0 ) 2 เริ่มต้น y 0 = 0 ที่ตำาแหน่งสูงสุด v = 0 0 = v 0 + 2a y y 2 2 v0 − v02 y = − = 2a y 2( − g ) − (15m / s ) 2 2( − 9.8m / s 2 ) = = 11.5m รูปที่ 1.8 ข. จากโจทย์เมื่อไม่ทราบตำาแหน่งสุดท้าย v = v 0 + at ที่ตำาแหน่งสูงสุด v = 0 v0 − 15m / s t = − = ay − 9.8m / s 2 = 1.53s ตัว อย่า งที่ 1.8 ขว้างลูกบอลขึ้นไปในอากาศด้วยความเร็วต้น u ดังรูปที่ 1.9 ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 12. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 12 ก.จงแสดงให้เห็น ว่า เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ ถึง ตำา แหน่ง สูง สุด มีค่าเท่ากับเวลาที่ใ ช้ เคลื่อนที่กลับสู่ตำาแหน่งเดิม ข. ความเร็วปลายเมื่อเคลื่อนที่กลับสู่ตำาแหน่งเดิม วิธ ีท ำา ก. จากโจทย์ เ มื่ อ ไม่ ท ราบตำา แหน่ ง สุ ด ท้ า ย เมื่ อ y 0 = 0 ; y = ? v0 = u ; v = 0 ; a y = −g = −9.8m / s 2 ; t = ? v = v0 + a y t 0 = u − gt u t up = g หาระยะที่วัตถุขึ้นไปได้สูงสุด เมื่อไม่ทราบเวลา t = ? v2 = v0 + 2a y ( y − y 0 ) 2 0 = u 2 − 2 gy y u2 = 2g เมื่ อตำา แหน่ง สู ง สุ ด คื อ ระยะเริ่ ม ต้ น เมื่ อ ลู ก บอลเริ่ ม ตก และ ความเร็ว ณ. ตำาแหน่งนี้คือความเร็วต้นมีค่าเท่ากับศูนย์ จากโจทย์เมื่อ u2 ไม่ทราบความเร็วสุดท้าย เมื่อ y0 = y = 0 ; v0 = 0 ; v = ? ; 2g ; a y = −g = −9.8m / s 2 ; t = ? y 1 = y 0 + v0 t + a yt 2 2 u2 1 0 = + 0 − gt 2 2g 2 1 u2 รูปที่ 1.9 gt 2 = 2 2g u t down = g นั่นคือ t up = t down ข. จากโจทย์เมื่อไม่ทราบความเร็วสุดท้าย ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 13. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 13 v = v0 + a y t u  = 0 − g  g    = −u นั่นคือความเร็วของลูกบอลขณะกลับสู่ตำาแหน่งเดิมจะมีความเร็วเท่ากันแต่ทิศตรงกันข้าม 1.7 สมการจลศาสตร์แ ละการคำา นวณ บางครั้งการเคลื่อนที่ของวัตถุถูกกำาหนดโดยคำาจำากัดความ ของความเร็วและความเร่ง dx v = dt dv และ a = dt จากสมการข้างต้นเราสามารถใช้แคลลูลัสสร้างสมการจลศาสตร์เมื่อมีความเร่งคงที่ได้ dv a = dt dv = a ( dt ) v t ∫dv = v0 ∫a( dt ) 0 ให้ a คงที่ v t ∫dv = v0 a ∫dt 0 v − v0 = a(t − 0) v = v 0 + at จากสมการที่ได้จะสังเกตุเห็นได้ว่า ความเร็วขึ้นกับเวลา เขียนใหม่ได้เป็น vt = v0 + at ก็คือสมการจลศาสตร์เมื่อความเร็วเป็นฟังก์ชั่นของเวลาในทำานองเดียวกัน dx = v ( dt ) แต่ v = v 0 + at dx = ( v0 + at ) dt = v 0 ( dt ) + at ( dt ) x t t ∫dx = x0 ∫ v0 dt + ∫ at ( dt ) 0 0 แต่ความเร่ง และความเร็วต้นไม่เปลียนแปลงตามเวลา ่ x t t ∫dx = x0 v 0 ∫ dt + a ∫ tdt 0 0 1 2 x − x0 = v0 t + at 2 เป็นสมการจลศาสตร์เมื่อตำาแหน่งเป็นฟังก์ชั่นของเวลา การหาสมการการเคลื่ อ นที่ ข องวั ต ถุ ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น โดยวิ ธี ก ารหาอนุ พั น ธ์ หรื อ การอินทิเกรต ใช้สำาหรับการหาสมการเมื่อความเร่งไม่คงที่ ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 14. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 14 สรุป ในบทนี้ สามารถอธิบ ายการเคลื่อนที่ใ นรู ปของตำา แหน่ง การกระจั ด ความเร็ว และ ความเร่ง ในกรณีที่ความเร่งคงที่เราสามารถใช้เงื่อนไขต่าง ๆ สร้างสมการจลศาสตร์ได้ และ สามารถใช้คำาจำากัดความเบื้องต้นเพื่อหาสมการการเคลื่อนที่เมื่อความเร่งไม่คงที่ได้ ตำาแหน่ง : x การกระจัด : ∆x = x 2 − x1  ∆x x 2 − x1 ความเร็วเฉลี่ย : v = ∆t = t − t 2 1 dx ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง : v = dt  ∆v v 2 − v1 ความเร่งเฉลี่ย : a = ∆t = t − t 2 1 dv ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง : a = dt สมการจลศาสตร์ ค่าที่ไม่ปรากฏ v = v 0 + at x − x0 1 v x = x 0 + v 0 t + at 2 2 v 2 = v 0 + 2a ( x − x 0 ) 2 t 1 a x − x0 = ( v + v0 )t 2 1 v0 x = x 0 + vt − at 2 2 ใช้ในกรณีเมื่อความเร่ง ( a ) คงที่ ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ
  • 15. Physics 1 – ฟิสกส์ 1 ิ 15 ผศ. เสมา สอนประสม ภาควิชาฟิสกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ิ