SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
ถอดบทเรียนกระบวนการพัฒนาผู้เรียนโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา
วันพุธที่ 22 พฤษภาคม 2562
วัตถุประสงค์ เพื่อถอดบทเรียนกระบวนการพัฒนาผู้เรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา
ผู้เข้าร่วมในกระบวนการ
1. ดญ.พรชิตา อินณรงค์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม (เพาะพันธุ์ปัญญารุ่นที่ 6)
2. นายอุดมโชค อุเทียนยอง โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม (เพาะพันธุ์ปัญญารุ่นที่ 3)
3. นายวรายุทธ กับโก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (โรงเรียนแม่จันวิทยาคม เพาะพันธุ์ปัญญารุ่น
ที่ 1)
4. คุณแก้วขวัญ เรืองเดชา นักเขียน “กล้าพันธุ์ ผู้ก้าวพ้น”
5. ผู้จัดกระบวนการ มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์
กาหนดการ
9.30 – 10.45 น. Check in นาเข้าสู่กระบวนการ
เรื่องเล่าที่ 1 : “จากระดับเพชรยอดมงกุฎ สู่ศูนย์แทบทุกวิชา และกลับมาเป็น
Leader โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา” นายอุดมโชค อุเทียนยอง
เรื่องเล่าที่ 2 : “เติมเต็มความกระหายใคร่รู้ในวัยเด็กให้กลายเป็นพลัง” ดญ.พรชิ
ตา อินณรงค์
เรื่องเล่าที่ 3 : “วิจัยชีวิตจนพบกับเป้าหมายที่ตอบโจทย์หัวใจมากที่สุด” นายวรา
ยุทธ กับโก
เติมเต็มและสะท้อนสิ่งที่พบเห็นเชิงระบบโดย คุณแก้วขวัญ เรืองเดชา
10.45 – 11.30 น. คณะกรรมการกากับดูแลทิศทางการดาเนินงานให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้เกิด
ขยายผลนาไปสู่ critical mass และ student achievement อย่างเป็นระบบ
ผู้เล่าเรื่องคนที่ 1 :
ระบบสนับสนุน ระบบหลัก
- การจัดการเรียนการสอน
- การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
- การพัฒนาผู้เรียน
ผลลัพธ์
- ทักษะศตวรรษที่ 21
- Character
- Attitude
เรื่องเล่าจากนังสือ “กล้าพันธุ์ ผู้ก้าวพ้น”
ผู้เล่าเรื่องคนที่ 1 นายอุดมโชค อุเทียนยอง โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม (เพาะพันธุ์ปัญญารุ่นที่ 3)
ผู้เล่าเรื่องคนที่ 2 : ดญ.พรชิตา อินณรงค์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม (เพาะพันธุ์ปัญญารุ่นที่ 6)
-
-
-
-
-
- ผู้เล่าเรื่องคนที่ 3 นายวรายุทธ กับโก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (โรงเรียนแม่จันวิทยาคม
เพาะพันธุ์ปัญญารุ่น ที่ 1)
ผลถอดบทเรียน
Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ
21 CSKs
1. Learning
Skills
-การคิดวิเคราะห์ เป็นเหตุ เป็น
ผล
-หาทางเลือกแก้ปัญหาและ
ทดลองทา
-ทักษะการจดบันทึก คิดเป็นภาพ
- ครูสร้างแรงบัลดาลใจให้นักเรียน
เชื่อมมั่นในศักยภาพของตนเอง
ผ่านการตั้งคาถาม และส่งเสริมให้
ผู้เรียนแก้ปัญหาด้วยตนเอง
- ครูเป็นทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาและ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนทดลองทาและคิด
อย่างเป็นเหตุเป็นผล
- ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดหาเหตุและ
ผลจากการปฏิบัติจริง
- ครูคอยให้กาลังใจผู้เรียน
- โรงเรียน.ให้ความสาคัญกับเด็ก
ทุกคน ในการค้นหาตนเองและ
ให้คิดเป็นเหตุเป็นผล ผอ.
สนับสนุนครูในการจัดการเรียนรู้
ตามแนวทางโครงการเพาะพันธ์
ปัญญา
- หน่วยงานกลางและศูนย์พี่เลี้ยง
โครงการเพราะพันธุ์ปัญญา จัด
กิจกรรมและคาแนะนาในการ
จัดการเรียนการสอน
- โรงเรียนจัดให้มีแหล่งเรียนรู้และ
หนังสือเพิ่มเติม
ในฐานะผลผลิตทาง
การศึกษา จะทาอย่างไรให้
ทุกคนได้ฝึกฝนค้นหา
(บทบาทโรงเรียน)
- อยากให้โรงเรียนใส่ใจ
เด็กทุกคน เด็กมีความ
แตกต่างกัน มีจุดแข็ง
จุดอ่อนแตกต่างกัน
โรงเรียนมีประสิทธฺภาพ
จุดเด่นของแต่ละคน
- ไม่ตัดสินประเมินจาก
ความรู้อย่างเดียว
- เกรดในโรงเรียนไม่ได้วัด
ศักยภาพ เกรดไม่
Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ
- โรงเรียนพัฒนาผู้เรียนภายใต้
กระบวนทัศน์ใหม่
“กระบวนเรียนรู้สาคัญกว่า
ความรู้
“กระบวนการหาคาตอบสาคัญ
กว่าคาตอบ”
- โรงเรียนมีวิสัยทัศน์ในการค้นหา
ศักยภาพผู้เรียน พัฒนาให้คิด
เป็นเหตุเป็นผล
- โรงเรียนจัดให้มีระบบ
สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ
จัดการเรียนการสอน เช่น
อินเทอร์เน็ต
- โรงเรียนจัดให้การจัดการเรียน
การสอนแบบลงมือปฏิบัติ
(Active Learning) เช่น การ
เรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน
สามารถวัดตัวผู้เรียนได้
แต่ครูควรดึงความชอบ
ความสนใจของเด็ก
- กระบวนการแบบนี้ควร
มีใช้ทั้งระบบโรงเรียน
เราจะพบเด็กที่มี
ศักยภาพและค้นพบ
ตนเองได้อีกมาก
- ตัวตนความชอบมีการ
เปลี่ยนแปลงได้ การดึง
ศักยภาพในช่วงเวลานั้น
จะทาให้เด็กเข้าใจว่า
ตนเองจะมีอาชีพและมี
ความสุขอย่างไร
- อยากให้สอนความรู้ที่
ใช้ได้จริงในชีวิตมากกว่า
แค่ความรุ้วิชาการ
Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ
1.1 Critical
Thinking
ผู้เรียนเสนอหัวข้อโครงการวิจัย
อย่างอิสระและหลากหลาย
ครูจัดการชั้นเรียนให้เกิดเสรีภาพทาง
ปัญญา เด็กสนุกและมีความสุขไปกับ
การเรียน
ให้อิสระในการแสดงความคิดเห็น
ไม่ตัดสินว่าความคิดใด “ ” “ ”
ไม่กาหนดคาตอบสาเร็จรูปให้นักเรียน
- ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ศึกษาปัญหา
ทีมีอยู่จริงในสังคมและชุมชน
- ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ศึกษาและหา
ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย
- ครูดึงศักยภาพของบุคคลากรใน
ชุมชนเข้ามาร่วมเป็นผู้ช่วยสอนและ
ร่วมจัดกระบวนการเรียนรู้แก่
ผู้เรียน
(Research Based Learning,
RBL)
Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ
1.2
Communication
นายวรายุทธ กับโก
ได้ออกไปแนะแนวหลักสูตร
พพปญ.ให้กับ ร.ร.ละแวก
ข้างเคียง
นายอุดมโชค อุเทียนยอง
ทางานกลุ่ม และต้องสื่อสาร
ความคิดต่างของตนเองให้เพื่อน
เข้าใจได้ เช่น ได้แลกเปลี่ยน
ข้อมูลการทาสีย้อมผ้า วิธีย้อมสี
ผ้าให้ติดทนต้องทาอย่างไร ฯลฯ
ดญ.พรชิตา อินณรงค์
เล่าให้แม่ฟังถึงสิ่งที่เรียนรู้ใน
โรงเรียน จนแม่เปลี่ยนแปลงลุก
ขึ้นมาค้นหาข้อมูลความรู้
เช่นเดียวกันกับลูก
ครูเชื่อมั่นในตัวผู้เรียนทาให้ผู้เรียนเชื่อ
ในศักยภาพของตนเอง
- ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สื่อสาร
สาธารณะ
- ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์
และทางานเป็นทีม
Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ
1.3
Collaboration
นายอุดมโชค อุเทียนยอง
การทางานวิจัยเป็นกลุ่ม เปิด
โอกาสให้ฝึกการทางานร่วมกับ
ผู้อื่น ได้ฝึกทักษะการอยู่ร่วมกัน
ในสังคม สร้างปฏิสัมพันธ์กับ
เพื่อนๆ
- ครูให้นักเรียนทางานวิจัยเป็นกลุ่ม
และต่อเนื่องตลอดปี
- ครูทาหน้าที่เป็นโค้ต ให้คาปรึกษา
ผู้เรียนและส่งเสริมให้ผู้เรียนทางาน
เป็นทีม
1.4 Creativity &
Innovation
การคิดแบบเชื่อมโยง การสอนเน้นการเล่าเรื่องเปรียบเทียบ
เพื่อสร้างให้เกิดแผนผังความเข้าใจ (มี
ภาพในหัว)
การเรียนรู้ RBL ซึ่งออกแบบให้มีการ
เชื่อมโยงระหว่างศาสตร์หรือวิชาต่างๆ
2. Life Skills
2.1 มีเป้าหมาย นายวรายุทธ กับโก :
ได้ทาธุรกิจที่ยั่งยืนและสามารถ
เลี้ยงดูครอบครัวให้สุขสบายได้
ครูทาหน้าที่
- ตั้งคาถาม ไม่บอกคาตอบ
Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ
สรุปเป้าหมายที่ต้องทาสาเร็จใน
แต่ละวัน
นายอุดมโชค อุเทียนยอง
รู้ว่าตัวเองชอบ Anatomy (ร่าง
การซับซ้อน การเปลี่ยนแปลง
ฮอร์โมนส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงของร่างกายได้)
ตั้งเป้าเรียนคณะจิตวิทยา
ชวนนักเรียนคิดสารวจความชอบและ
ค้นหาเป้าหมายในการทางานวิจัย
(รูปธรรมของการมีเป้าหมายซึ่งเป็น
นามธรรม) ตย. ต่อไปในอนาคตอยาก
ใช้ชีวิตแบบไหน หรืออยากทาอะไร
มากกว่าถามอยากเป็นอะไร (ชีวิตมี
ความเป็นไปได้นับไม่ถ้วน)
ตั้งคาถามชี้ให้เห็นมุมมองแต่ละด้าน
เพื่อให้ค้นหาทางเลือกไปสู่เป้าหมาย
1) ครูเชียร์ ให้กาลังใจ “เสริมว่า
ทาได้” (= self esteem)
“อย่าไปเครียด...”
2) รับฟัง
3) รู้จักเด็ก เช่น เด็กมีอะไรในตัว
เพื่อดึงศักยภาพออกมา
2.2 วางแผน/
ค้นหาทางเลือก
นายวรายุทธ กับโก
แผนงานในอนาคตทาธุรกิจ “งาขี้
ม่อนแสน็ค”
2.3 ตัดสินใจเลือก นายวรายุทธ กับโก
- ตัดสินใจเลือกวางแผนการ
เรียนและอนาคตด้วยตนเอง
โดยไม่ยอมจานนกับปัญหา
ครอบครัว
Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ
2.4 รับผิดรับชอบ
ต่อสิ่งที่กระทา/สิ่ง
ที่เลือก
เมื่องานวิจัยพบปัญหา ผ้าที่ย้อม
สีแล้ว หลังจากซัก สีหลุด ต้อง
กลับไปหาหนทางใหม่ ไม่โทษ
เป็นความผิดใคร
2.5 ยืดหยุ่น เมื่อ
พบปัญหาสู้ไม่ถอย
แต่ตั้งเป้าหมาย
ใหม่
นายวรายุทธ กับโก
ยื่นคะแนน TCAS สองรอบไม่ติด
ทั้งสองรอบ ครอบครัวประสบ
ปัญหาทางการเงินๆ ไม่พอเรียน
ยืดหยุ่นปรับเป้าหมายใหม่
หาทางเลือกใหม่โดยการกู้ยืม
กรอ. และเรียนที่ ม.หอการค้า
แทนบัญชีจุฬาฯ
นายอุดมโชค อุเทียนยอง
เมื่องานวิจัยพบปัญหา ผ้าที่ย้อม
สีแล้ว หลังจากซัก สีหลุด
ยืดหยุ่นต้องกลับไปตั้งเป้าหมาย
Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ
ใหม่ และค้นหาหนทางใหม่ ไม่
โทษเป็นความผิดใคร
3.IT skills
3.1 บริหารจัดการ
เวลาเสพข้อมูล
นายวรายุทธ กับโก
ตอบคาถามลูกค้าทางโทรศัพท์
ช่วงพักหรือหลังเลิกเรียน
ดญ.พรชิตา อินณรงค์
ค้นหาข้อมูลรักษาสิว
3.2 วิเคราะห์
ข้อมูล
ดญ.พรชิตา อินณรงค์
ค้นหาข้อมูลรักษาสิว พิสูจน์
ข้อเท็จจริงด้วยการคิดแบบเป็น
เหตุเป็นผล ทาให้รู้เท่าทันข้อมูล
บนโลกออนไลน์
3.3 ใช้ IT เพื่อ
นาไปสู่ชีวิตที่ดีกว่า
ดญ.พรชิตา อินณรงค์
– ใช้ IT ในการค้นหาข้อมูลเพื่อ
หาคาตอบ
- ค้นหาข้อมูลอ้างอิง
- ใช้ IT ในการค้นหาข้อมูลเพื่อ
หาคาตอบ
- ดูข้อมูลอ้างอิงเป็น
Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ
Attitude
- เรียนเพาะพันธ์ปัญญา สอน
ให้ คิดวิเคราะห์อย่าเชื่ออะไร
ง่ายๆ
- เด็กสมัยนี้ไม่ควรถามว่าอยาก
เป็นอะไร แต่ให้ถามว่ามี
เป้าหมายในอนาคตอย่างไ ร
การตั้งคาถามดีกว่าการตั้ง
คาตอบ การตั้งคาถามที่ช่วย
ให้เกิดเสรีภาพทางปัญญา
- จะมีวิชาไหนที่สามารถ
ประมวลผลความรู้ร่วมกันได้
ทาให้เราเรียนรู้ แบบบูรณณา
การ เชื่อมโยงแขนงวิชา
สาระต่างๆ
Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ
Behavior/
Character
นายวรายุทธ กับโก : อดทน สู้
ไม่ถอย วางแผนเป็นชั้นเป็นตอน
แก้ไขปัญหาได้อย่างมีสติ
ดญ.พรชิตา อินณรงค์ : คิด
วิเคราะห์หาเหตุและผล สามารถ
นาสิ่งที่เรียนรู้มาปรับใช้กับ
ชีวิตประจาวันได้
บุค: เป็นคนช่างคิดวิเคราะห์
และตั้งคาถามไม่เชื่ออะไรง่ายๆ
รู้จักค้นหาเป้าหมายในชีวิต
ตนเอง
Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ
Knowledge
มีหัวข้อโครงการงานวิจัยหลากหลาย
ภายใต้ศาสตร์ต่างๆ (เรียนรู้แบบบูรณา
การ)

More Related Content

What's hot

ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
Ann Pawinee
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
Kobwit Piriyawat
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
arunrat bamrungchit
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Chaya Kunnock
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Jo Smartscience II
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
ศน. โมเมจ้า
 
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
krupornpana55
 

What's hot (20)

ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
Chapter 4 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 4 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)Chapter 4 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
Chapter 4 (INTRODUCTION TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA)
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
งานเกษียณ
งานเกษียณงานเกษียณ
งานเกษียณ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
 
Chapter 2 งานกล ม
Chapter 2 งานกล  มChapter 2 งานกล  ม
Chapter 2 งานกล ม
 
Chapter 2 งานกล ม
Chapter 2 งานกล  มChapter 2 งานกล  ม
Chapter 2 งานกล ม
 
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
 
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
 
Community College Burirum
Community College BurirumCommunity College Burirum
Community College Burirum
 

Similar to Porpanpunya

ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
Pamkritsaya3147
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
Vachii Ra
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
Jo Smartscience II
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
supap6259
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
srkschool
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Chaya Kunnock
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
Kiw E D
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
Nattapon
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 

Similar to Porpanpunya (20)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 

More from Pattie Pattie

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

Porpanpunya

  • 1. ถอดบทเรียนกระบวนการพัฒนาผู้เรียนโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา วันพุธที่ 22 พฤษภาคม 2562 วัตถุประสงค์ เพื่อถอดบทเรียนกระบวนการพัฒนาผู้เรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ผู้เข้าร่วมในกระบวนการ 1. ดญ.พรชิตา อินณรงค์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม (เพาะพันธุ์ปัญญารุ่นที่ 6) 2. นายอุดมโชค อุเทียนยอง โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม (เพาะพันธุ์ปัญญารุ่นที่ 3) 3. นายวรายุทธ กับโก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (โรงเรียนแม่จันวิทยาคม เพาะพันธุ์ปัญญารุ่น ที่ 1) 4. คุณแก้วขวัญ เรืองเดชา นักเขียน “กล้าพันธุ์ ผู้ก้าวพ้น” 5. ผู้จัดกระบวนการ มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ กาหนดการ 9.30 – 10.45 น. Check in นาเข้าสู่กระบวนการ เรื่องเล่าที่ 1 : “จากระดับเพชรยอดมงกุฎ สู่ศูนย์แทบทุกวิชา และกลับมาเป็น Leader โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา” นายอุดมโชค อุเทียนยอง เรื่องเล่าที่ 2 : “เติมเต็มความกระหายใคร่รู้ในวัยเด็กให้กลายเป็นพลัง” ดญ.พรชิ ตา อินณรงค์ เรื่องเล่าที่ 3 : “วิจัยชีวิตจนพบกับเป้าหมายที่ตอบโจทย์หัวใจมากที่สุด” นายวรา ยุทธ กับโก เติมเต็มและสะท้อนสิ่งที่พบเห็นเชิงระบบโดย คุณแก้วขวัญ เรืองเดชา 10.45 – 11.30 น. คณะกรรมการกากับดูแลทิศทางการดาเนินงานให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้เกิด ขยายผลนาไปสู่ critical mass และ student achievement อย่างเป็นระบบ ผู้เล่าเรื่องคนที่ 1 : ระบบสนับสนุน ระบบหลัก - การจัดการเรียนการสอน - การดูแลช่วยเหลือนักเรียน - การพัฒนาผู้เรียน ผลลัพธ์ - ทักษะศตวรรษที่ 21 - Character - Attitude
  • 2. เรื่องเล่าจากนังสือ “กล้าพันธุ์ ผู้ก้าวพ้น” ผู้เล่าเรื่องคนที่ 1 นายอุดมโชค อุเทียนยอง โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม (เพาะพันธุ์ปัญญารุ่นที่ 3)
  • 3.
  • 4. ผู้เล่าเรื่องคนที่ 2 : ดญ.พรชิตา อินณรงค์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม (เพาะพันธุ์ปัญญารุ่นที่ 6)
  • 6. - ผู้เล่าเรื่องคนที่ 3 นายวรายุทธ กับโก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (โรงเรียนแม่จันวิทยาคม เพาะพันธุ์ปัญญารุ่น ที่ 1)
  • 7. ผลถอดบทเรียน Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ 21 CSKs 1. Learning Skills -การคิดวิเคราะห์ เป็นเหตุ เป็น ผล -หาทางเลือกแก้ปัญหาและ ทดลองทา -ทักษะการจดบันทึก คิดเป็นภาพ - ครูสร้างแรงบัลดาลใจให้นักเรียน เชื่อมมั่นในศักยภาพของตนเอง ผ่านการตั้งคาถาม และส่งเสริมให้ ผู้เรียนแก้ปัญหาด้วยตนเอง - ครูเป็นทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาและ ส่งเสริมให้ผู้เรียนทดลองทาและคิด อย่างเป็นเหตุเป็นผล - ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดหาเหตุและ ผลจากการปฏิบัติจริง - ครูคอยให้กาลังใจผู้เรียน - โรงเรียน.ให้ความสาคัญกับเด็ก ทุกคน ในการค้นหาตนเองและ ให้คิดเป็นเหตุเป็นผล ผอ. สนับสนุนครูในการจัดการเรียนรู้ ตามแนวทางโครงการเพาะพันธ์ ปัญญา - หน่วยงานกลางและศูนย์พี่เลี้ยง โครงการเพราะพันธุ์ปัญญา จัด กิจกรรมและคาแนะนาในการ จัดการเรียนการสอน - โรงเรียนจัดให้มีแหล่งเรียนรู้และ หนังสือเพิ่มเติม ในฐานะผลผลิตทาง การศึกษา จะทาอย่างไรให้ ทุกคนได้ฝึกฝนค้นหา (บทบาทโรงเรียน) - อยากให้โรงเรียนใส่ใจ เด็กทุกคน เด็กมีความ แตกต่างกัน มีจุดแข็ง จุดอ่อนแตกต่างกัน โรงเรียนมีประสิทธฺภาพ จุดเด่นของแต่ละคน - ไม่ตัดสินประเมินจาก ความรู้อย่างเดียว - เกรดในโรงเรียนไม่ได้วัด ศักยภาพ เกรดไม่
  • 8. Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ - โรงเรียนพัฒนาผู้เรียนภายใต้ กระบวนทัศน์ใหม่ “กระบวนเรียนรู้สาคัญกว่า ความรู้ “กระบวนการหาคาตอบสาคัญ กว่าคาตอบ” - โรงเรียนมีวิสัยทัศน์ในการค้นหา ศักยภาพผู้เรียน พัฒนาให้คิด เป็นเหตุเป็นผล - โรงเรียนจัดให้มีระบบ สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ จัดการเรียนการสอน เช่น อินเทอร์เน็ต - โรงเรียนจัดให้การจัดการเรียน การสอนแบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) เช่น การ เรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน สามารถวัดตัวผู้เรียนได้ แต่ครูควรดึงความชอบ ความสนใจของเด็ก - กระบวนการแบบนี้ควร มีใช้ทั้งระบบโรงเรียน เราจะพบเด็กที่มี ศักยภาพและค้นพบ ตนเองได้อีกมาก - ตัวตนความชอบมีการ เปลี่ยนแปลงได้ การดึง ศักยภาพในช่วงเวลานั้น จะทาให้เด็กเข้าใจว่า ตนเองจะมีอาชีพและมี ความสุขอย่างไร - อยากให้สอนความรู้ที่ ใช้ได้จริงในชีวิตมากกว่า แค่ความรุ้วิชาการ
  • 9. Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ 1.1 Critical Thinking ผู้เรียนเสนอหัวข้อโครงการวิจัย อย่างอิสระและหลากหลาย ครูจัดการชั้นเรียนให้เกิดเสรีภาพทาง ปัญญา เด็กสนุกและมีความสุขไปกับ การเรียน ให้อิสระในการแสดงความคิดเห็น ไม่ตัดสินว่าความคิดใด “ ” “ ” ไม่กาหนดคาตอบสาเร็จรูปให้นักเรียน - ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ศึกษาปัญหา ทีมีอยู่จริงในสังคมและชุมชน - ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ศึกษาและหา ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย - ครูดึงศักยภาพของบุคคลากรใน ชุมชนเข้ามาร่วมเป็นผู้ช่วยสอนและ ร่วมจัดกระบวนการเรียนรู้แก่ ผู้เรียน (Research Based Learning, RBL)
  • 10. Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ 1.2 Communication นายวรายุทธ กับโก ได้ออกไปแนะแนวหลักสูตร พพปญ.ให้กับ ร.ร.ละแวก ข้างเคียง นายอุดมโชค อุเทียนยอง ทางานกลุ่ม และต้องสื่อสาร ความคิดต่างของตนเองให้เพื่อน เข้าใจได้ เช่น ได้แลกเปลี่ยน ข้อมูลการทาสีย้อมผ้า วิธีย้อมสี ผ้าให้ติดทนต้องทาอย่างไร ฯลฯ ดญ.พรชิตา อินณรงค์ เล่าให้แม่ฟังถึงสิ่งที่เรียนรู้ใน โรงเรียน จนแม่เปลี่ยนแปลงลุก ขึ้นมาค้นหาข้อมูลความรู้ เช่นเดียวกันกับลูก ครูเชื่อมั่นในตัวผู้เรียนทาให้ผู้เรียนเชื่อ ในศักยภาพของตนเอง - ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สื่อสาร สาธารณะ - ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ และทางานเป็นทีม
  • 11. Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ 1.3 Collaboration นายอุดมโชค อุเทียนยอง การทางานวิจัยเป็นกลุ่ม เปิด โอกาสให้ฝึกการทางานร่วมกับ ผู้อื่น ได้ฝึกทักษะการอยู่ร่วมกัน ในสังคม สร้างปฏิสัมพันธ์กับ เพื่อนๆ - ครูให้นักเรียนทางานวิจัยเป็นกลุ่ม และต่อเนื่องตลอดปี - ครูทาหน้าที่เป็นโค้ต ให้คาปรึกษา ผู้เรียนและส่งเสริมให้ผู้เรียนทางาน เป็นทีม 1.4 Creativity & Innovation การคิดแบบเชื่อมโยง การสอนเน้นการเล่าเรื่องเปรียบเทียบ เพื่อสร้างให้เกิดแผนผังความเข้าใจ (มี ภาพในหัว) การเรียนรู้ RBL ซึ่งออกแบบให้มีการ เชื่อมโยงระหว่างศาสตร์หรือวิชาต่างๆ 2. Life Skills 2.1 มีเป้าหมาย นายวรายุทธ กับโก : ได้ทาธุรกิจที่ยั่งยืนและสามารถ เลี้ยงดูครอบครัวให้สุขสบายได้ ครูทาหน้าที่ - ตั้งคาถาม ไม่บอกคาตอบ
  • 12. Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ สรุปเป้าหมายที่ต้องทาสาเร็จใน แต่ละวัน นายอุดมโชค อุเทียนยอง รู้ว่าตัวเองชอบ Anatomy (ร่าง การซับซ้อน การเปลี่ยนแปลง ฮอร์โมนส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของร่างกายได้) ตั้งเป้าเรียนคณะจิตวิทยา ชวนนักเรียนคิดสารวจความชอบและ ค้นหาเป้าหมายในการทางานวิจัย (รูปธรรมของการมีเป้าหมายซึ่งเป็น นามธรรม) ตย. ต่อไปในอนาคตอยาก ใช้ชีวิตแบบไหน หรืออยากทาอะไร มากกว่าถามอยากเป็นอะไร (ชีวิตมี ความเป็นไปได้นับไม่ถ้วน) ตั้งคาถามชี้ให้เห็นมุมมองแต่ละด้าน เพื่อให้ค้นหาทางเลือกไปสู่เป้าหมาย 1) ครูเชียร์ ให้กาลังใจ “เสริมว่า ทาได้” (= self esteem) “อย่าไปเครียด...” 2) รับฟัง 3) รู้จักเด็ก เช่น เด็กมีอะไรในตัว เพื่อดึงศักยภาพออกมา 2.2 วางแผน/ ค้นหาทางเลือก นายวรายุทธ กับโก แผนงานในอนาคตทาธุรกิจ “งาขี้ ม่อนแสน็ค” 2.3 ตัดสินใจเลือก นายวรายุทธ กับโก - ตัดสินใจเลือกวางแผนการ เรียนและอนาคตด้วยตนเอง โดยไม่ยอมจานนกับปัญหา ครอบครัว
  • 13. Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ 2.4 รับผิดรับชอบ ต่อสิ่งที่กระทา/สิ่ง ที่เลือก เมื่องานวิจัยพบปัญหา ผ้าที่ย้อม สีแล้ว หลังจากซัก สีหลุด ต้อง กลับไปหาหนทางใหม่ ไม่โทษ เป็นความผิดใคร 2.5 ยืดหยุ่น เมื่อ พบปัญหาสู้ไม่ถอย แต่ตั้งเป้าหมาย ใหม่ นายวรายุทธ กับโก ยื่นคะแนน TCAS สองรอบไม่ติด ทั้งสองรอบ ครอบครัวประสบ ปัญหาทางการเงินๆ ไม่พอเรียน ยืดหยุ่นปรับเป้าหมายใหม่ หาทางเลือกใหม่โดยการกู้ยืม กรอ. และเรียนที่ ม.หอการค้า แทนบัญชีจุฬาฯ นายอุดมโชค อุเทียนยอง เมื่องานวิจัยพบปัญหา ผ้าที่ย้อม สีแล้ว หลังจากซัก สีหลุด ยืดหยุ่นต้องกลับไปตั้งเป้าหมาย
  • 14. Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ ใหม่ และค้นหาหนทางใหม่ ไม่ โทษเป็นความผิดใคร 3.IT skills 3.1 บริหารจัดการ เวลาเสพข้อมูล นายวรายุทธ กับโก ตอบคาถามลูกค้าทางโทรศัพท์ ช่วงพักหรือหลังเลิกเรียน ดญ.พรชิตา อินณรงค์ ค้นหาข้อมูลรักษาสิว 3.2 วิเคราะห์ ข้อมูล ดญ.พรชิตา อินณรงค์ ค้นหาข้อมูลรักษาสิว พิสูจน์ ข้อเท็จจริงด้วยการคิดแบบเป็น เหตุเป็นผล ทาให้รู้เท่าทันข้อมูล บนโลกออนไลน์ 3.3 ใช้ IT เพื่อ นาไปสู่ชีวิตที่ดีกว่า ดญ.พรชิตา อินณรงค์ – ใช้ IT ในการค้นหาข้อมูลเพื่อ หาคาตอบ - ค้นหาข้อมูลอ้างอิง - ใช้ IT ในการค้นหาข้อมูลเพื่อ หาคาตอบ - ดูข้อมูลอ้างอิงเป็น
  • 15. Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ Attitude - เรียนเพาะพันธ์ปัญญา สอน ให้ คิดวิเคราะห์อย่าเชื่ออะไร ง่ายๆ - เด็กสมัยนี้ไม่ควรถามว่าอยาก เป็นอะไร แต่ให้ถามว่ามี เป้าหมายในอนาคตอย่างไ ร การตั้งคาถามดีกว่าการตั้ง คาตอบ การตั้งคาถามที่ช่วย ให้เกิดเสรีภาพทางปัญญา - จะมีวิชาไหนที่สามารถ ประมวลผลความรู้ร่วมกันได้ ทาให้เราเรียนรู้ แบบบูรณณา การ เชื่อมโยงแขนงวิชา สาระต่างๆ
  • 16. Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ Behavior/ Character นายวรายุทธ กับโก : อดทน สู้ ไม่ถอย วางแผนเป็นชั้นเป็นตอน แก้ไขปัญหาได้อย่างมีสติ ดญ.พรชิตา อินณรงค์ : คิด วิเคราะห์หาเหตุและผล สามารถ นาสิ่งที่เรียนรู้มาปรับใช้กับ ชีวิตประจาวันได้ บุค: เป็นคนช่างคิดวิเคราะห์ และตั้งคาถามไม่เชื่ออะไรง่ายๆ รู้จักค้นหาเป้าหมายในชีวิต ตนเอง
  • 17. Outcome รูปธรรม Intervention ระหว่างครู-นักเรียน สิ่งสนับสนุนเชิงระบบ ข้อเสนอแนะ Knowledge มีหัวข้อโครงการงานวิจัยหลากหลาย ภายใต้ศาสตร์ต่างๆ (เรียนรู้แบบบูรณา การ)