SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
Chapter 7
นวัตกรรมทางการศึกษา
จัดทำโดย
• 1. นำงสำวกัญญำรัตน์ จุลชีพ 553050052-2
• 2. นำงสำวบุญจิรำ สันตพันธ์ 553050294-8
• 3. นำงสำวพิสมร ชำรี 553050308-3
สำขำคณิตศำสตรศึกษำ ชั้นปีที่ 2
ภำรกิจกำรเรียนรู้ ที่ 1
อธิบำยควำมหมำยและจำแนกประเภท
ของสิ่งแวดล้อมทำงกำรเรียนรู้
ควำมหมำยของสิ่งแวดล้อมทำงกำรเรียนรู้
ในปัจจุบันแนวการจัดการศึกษาได้เปลี่ยนจาก “การสอนโดยครูผู้สอน” มาสู่ “การเน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง”โดยผ่านการลงมือกระทาด้วยตนเองการพัฒนาศักยภาพทางการคิดตลอดจนการ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเองซึ่งแนวการจัดการศึกษาดังกล่าวมีความสอดคล้องกับทฤษฎีคอน
สตรัคติวิสต์(Constructivism) ที่เน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการลงมือปฏิบัติที่ผ่าน
กระบวนการคิดและอาศัยความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่เพื่อขยายโครงสร้างทาง
ปัญญา (Schema) ซึ่งสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ครูผู้สอนจะเป็นผู้จัด
สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
ดังนั้น สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ หมายถึง การนาวิธีการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมหรือสื่อตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน
การเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นการ
ออกแบบที่ประสานรวมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)” โดยการนาทฤษฎี
คอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบรวมกับสื่อซึ่งมีคุณลักษณะของสื่อและระบบ
สัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน
ประเภทของสิ่งแวดล้อมทำงกำรเรียนรู้ตำมแนวคอนสตรัคติวิสต์
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์สามารถแยกตามบริบทของสื่อและ
คุณลักษณะของสื่อได้ 3 ลักษณะคือ
(1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือขายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นออกแบบโดยใช้ทฤษฎี
คอนสตรัคติวิสต์เป็นพื้นฐานที่ประสานรวมกับคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่ายที่สนองต่อ
การสร้างความรู้ของผู้เรียน
(2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นการออกแบบโดยประสานรวมกับคุณลักษณะของ
มัลติมีเดียที่นาเสนอทั้ง ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยง
หลายมิติ เช่นเกม สถานการณ์จาลอง เป็นต้น
(3) ชุดสร้างความรู้ ออกแบบโดยประสานรวมกับการนาสื่อประเภทตางๆเชนสื่อสิ่งพิมพ์
หนังสือวีดิทัศน์ภูมิปัญญาท้องถิ่นอุปกรณ์การทดลองรวมทั้งกิจกรรมต่างๆมาใช้ร่วมกันโดย
คุณลักษณะของสื่อต่างๆจะส่งเสริมซึ่งกันและกันเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
วิเครำะห์เลือกใช้นวัตกรรมกำรเรียนรู้ให้
สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
ภำรกิจที่ 2ภำรกิจกำรเรียนรู้ ที่ 2
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
สื่อมัลติมีเดีย
เนื่องจากข้อจากัดของโรงเรียนที่ไม่มีการเชื่อมโยงทาง
อินเตอร์เน็ตแต่ยังมีคอมพิวเตอร์ใช้ ซึ่งสื่อมัลติมีเดียมีความ
สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนมากกล่าวคือ สื่อมัลติมีเดีย
สามารถทางานโดยไร้อินเตอร์เน็ต
ผู้เรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์ร่วม
กันกับสื่อได้มีภาพเคลื่อนไหว
เสียง สามารถทบทวนเนื้อหา
และฝึกซ้าได้
โรงเรียนมหำชัย
E-Learning
เนื่องจากเป็นสื่อที่ผู้เรียน
สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
และไม่มีข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลา
สื่อนี้จึงตอบสนองความต้องการของทางโรงเรียน
เป็นอย่างมาก และสามารถ ถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงาน
กลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่นๆได้
โรงเรียนเทศบำลวัดธำตุ
สิ่งแวดล้อมทำงกำรเรียนรู้ตำมแนวคอนสตรัคติวิสต์
เป็นสื่อที่เน้นการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ให้ผู้เรียน
เผชิญปัญหาด้วยตนเอง มีแหล่งเรียนรู้ที่พร้อมจะสืบค้นเวลา
เกิดปัญหาและผู้เรียนยังสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่
ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้
เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได
ภำรกิจกำรเรียนรู้ ที่ 3
จำกประเภทของนวัตกรรมกำรเรียนรู้ในบทที่ 7
ให้นักศึกษำเสนอนวัตกรรมกำรเรียนรู้ ที่
สอดคล้องกับลักษณะวิชำเอกที่นักศึกษำจะ
ปฏิบัติหน้ำที่สอน พร้อมทั้งอธิบำยเหตุผล
การจะจัดนวัตกรรมการเรียนรู้นั้น ในปัจจุบันนี้
ควรจะอ้างถึงทฤษฏีการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
เพราะ เป็ นการสนับสนุนให้นักเรียนได้
สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ก่อให้เกิดการ
เรียนรู้ระยะยาว
ประเภทนวัตกรรม เหตุผลที่เลือก
1. E-learning
(กรณีมีอินเตอร์เน็ต)
- ครูสามารถแขวนเอกสารประกอบการเรียนไว้ใน
เว็บได้
-นักเรียนสามารถเข้าถึงเอกสารประกอบการเรียน
ได้ทุกที่ ทุกเวลา
-นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดและรู้ผลสัมฤทธิ์
ของตนเองได้ทันที
- นักเรียนสามารถถามคาถามครูได้ตลอดเวลา
และครูก็สามารถตอบคาถามนักเรียนได้ทุกคน
อย่างทั่วถึง
- ตรวจสอบการส่งงานได้อย่างยุติธรรม มี
หลักฐาน
ประเภทนวัตกรรม เหตุผลที่เลือก
2. หนังสือแบบเรียนทั่วไป
(กรณีไม่มีอินเตอร์เน็ต)
-นักเรียนมีเอกสารครบทุกคนได้
- นักเรียนสามารถติดตามครูผู้สอนได้ เพราะมี
เอกสารประกอบการสอนชุดเดียวกัน
- มีตัวอย่างที่ครูสามารถอธิบายกระบวนการคิด
ได้ทันที ทาให้นักเรียนเข้าใจได้ทันทีเช่นกัน
-นักเรียนสามารถถามคาถามครูได้ทันที
-ครูสามารถอธิบายข้อข้องใจให้กระจ่างได้ และ
กระจายความรู้สู่นักเรียนคนอื่นๆด้วย
- นักเรียนสามารถจดบันทึกเพิ่มเติม ตามความ
เข้าใจตนเอง
- นักเรียนสามารถทบทวนได้ทุกที่ ทุกเวลา

More Related Content

Viewers also liked (17)

Procurement management by piyush garg
Procurement management by piyush gargProcurement management by piyush garg
Procurement management by piyush garg
 
Chapter4 (1)
Chapter4 (1)Chapter4 (1)
Chapter4 (1)
 
Chapter3 (1)
Chapter3 (1)Chapter3 (1)
Chapter3 (1)
 
งานว พากษ บทท__1
งานว พากษ บทท__1งานว พากษ บทท__1
งานว พากษ บทท__1
 
21 animal kingdom
21 animal kingdom21 animal kingdom
21 animal kingdom
 
Chapter3(1)
Chapter3(1)Chapter3(1)
Chapter3(1)
 
Chapter3.1
Chapter3.1Chapter3.1
Chapter3.1
 
Procurement management by piyush garg
Procurement management by piyush gargProcurement management by piyush garg
Procurement management by piyush garg
 
Amarias asi
Amarias asiAmarias asi
Amarias asi
 
Who moved my_cheese
Who moved my_cheeseWho moved my_cheese
Who moved my_cheese
 
Chapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมChapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรม
 
Oedipus rex
Oedipus rexOedipus rex
Oedipus rex
 
Labor violence
Labor violenceLabor violence
Labor violence
 
Renaissance2
Renaissance2Renaissance2
Renaissance2
 
Fungal /kingdom
Fungal /kingdomFungal /kingdom
Fungal /kingdom
 
Fungi
FungiFungi
Fungi
 
water_quality_parameters
water_quality_parameterswater_quality_parameters
water_quality_parameters
 

Similar to บทที่7

บทที่สองนวัตกรรม
บทที่สองนวัตกรรมบทที่สองนวัตกรรม
บทที่สองนวัตกรรม
Bome Fado
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
tyehh
 
Inno 4 งานกลุ่ม
Inno 4 งานกลุ่มInno 4 งานกลุ่ม
Inno 4 งานกลุ่ม
Romrawin Nam
 
บทที่สองนวัตกรรม22
บทที่สองนวัตกรรม22บทที่สองนวัตกรรม22
บทที่สองนวัตกรรม22
Bome Fado
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
noiiso_M2
 
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
B'nust Thaporn
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
Sukanya Burana
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
Beeby Bicky
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
Moss Worapong
 

Similar to บทที่7 (20)

Chapter 7
Chapter  7 Chapter  7
Chapter 7
 
บทที่สองนวัตกรรม
บทที่สองนวัตกรรมบทที่สองนวัตกรรม
บทที่สองนวัตกรรม
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
 
งาน8และ construcionvism
งาน8และ construcionvismงาน8และ construcionvism
งาน8และ construcionvism
 
Inno 4 งานกลุ่ม
Inno 4 งานกลุ่มInno 4 งานกลุ่ม
Inno 4 งานกลุ่ม
 
บทที่สองนวัตกรรม22
บทที่สองนวัตกรรม22บทที่สองนวัตกรรม22
บทที่สองนวัตกรรม22
 
งานบทที่ 2
งานบทที่ 2งานบทที่ 2
งานบทที่ 2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ 2
วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ 2วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ 2
วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ 2
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
รูปแบบนำเสนอโครงงาน
รูปแบบนำเสนอโครงงานรูปแบบนำเสนอโครงงาน
รูปแบบนำเสนอโครงงาน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
 

บทที่7