Successfully reported this slideshow.
Your SlideShare is downloading. ×

อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)

Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad

Check these out next

1 of 12 Ad

อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)

ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่ www.philosophychicchic.com

อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
การศึกษาเรื่องอริยสัจ ๔ ให้เข้าใจเรื่องเบญจขันธ์
การเข้าใจเรื่องอริยสัจ ๔ คือการเข้าใจตัวเอง
อริยสัจ ๔ เป็นหัวใจแห่งธรรมทั้งปวง

ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่ www.philosophychicchic.com

อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
การศึกษาเรื่องอริยสัจ ๔ ให้เข้าใจเรื่องเบญจขันธ์
การเข้าใจเรื่องอริยสัจ ๔ คือการเข้าใจตัวเอง
อริยสัจ ๔ เป็นหัวใจแห่งธรรมทั้งปวง

Advertisement
Advertisement

More Related Content

Slideshows for you (20)

Viewers also liked (20)

Advertisement

Similar to อริยสัจ ๔ (ตอน ๒) (20)

More from Padvee Academy (20)

Advertisement

Recently uploaded (20)

อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)

  1. 1. ๘.๑ การศึกษาเรื่องอริยสัจให้เข้าใจเรื่องเบญจขันธ์ เบญจขันธ์ หมายถึง กองแห่งรูปธรรมและนามธรรมห้าหมวดที่ ประชุมกันเข้าเป็นชีวิตขันธ์ ๕ ประกอบด้วย ๑) รูปขันธ์ คือ ร่างกายและพฤติกรรมทั้งหมด ๒) เวทนาขันธ์ คือ ความรู้สึกเป็นสุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ๓) สัญญาขันธ์ คือ ความจาได้หมายรู้ในสิ่งต่างๆ ๔) สังขารขันธ์ คือ ส่วนที่ปรุงแต่งจิต เช่น ความโลภ ความโกรธ ความหลง ๕) วิญญาณขันธ์ คือ ผู้ที่รับรู้สิ่งทั้งปวง คือรับรู้ความรู้สึกต่าง ๆ
  2. 2. การศึกษาเรื่องอริยสัจให้เข้าใจเรื่องเบญจขันธ์ (ต่อ) “ภิกษุทั้งหลาย นี้คือ ทุกขอริยสัจ : ความเกิดเป็นทุกข์ ความแก่ เป็นทุกข์ ความตายเป็นทุกข์ ความประจวบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งที่รักเป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้นก็เป็นทุกข์ โดยย่ออุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์”
  3. 3. ๘.๒ การเข้าใจเรื่องอริยสัจคือการเข้าใจตัวเอง คือ การไม่ยึดมั่นถือมั่น การไม่เข้า ไปเกี่ยวข้องกับสิ่งทั้งหลายด้วย การใช้ตัณหาอุปาทาน แต่เข้าไป เกี่ยวข้องจัดการด้วยปัญญา
  4. 4. ๘.๓ อริยสัจเป็นหัวใจแห่งธรรมทั้งปวง "อริยสัจสี่" คือ หลักที่โยงความจริงในธรรมชาติมาสู่การใช้ประโยชน์ของ มนุษย์ เพราะลาพังกฎธรรมชาติเอง ตามธรรมดาถ้าเราไม่รู้วิธีปฏิบัติ ไม่รู้ จุดเริ่มต้น ไม่รู้ลาดับ เราก็สับสน
  5. 5. อริยสัจสี่ครอบคลุมหลักการของพระพุทธศาสนาทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น --- หลัก "เว้นชั่ว ทาดี ทาใจให้บริสุทธิ์" --- หลัก "ธรรมทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น" --- หลัก "เราบัญญัติแต่ทุกข์และความดับทุกข์" หรือ --- หลัก "อิปัปัจจยตาปฏิจจสมุปบาทกับนิพพาน“ ทุกหลักรวมอยู่ในหลักอริยสัจสี่ ทั้งนั้น
  6. 6. ๘.๔ วิธีคิดแบบอริยสัจกับวิธีทางวิทยาศาสตร์ วิธีคิดแบบอริยสัจจ์ ได้แก่ • ๑. ทุกข์ = ความกังวลใจ ความไม่สบายกายความไม่สบายใจ • ๒. สมุทัย = สาเหตุแห่งทุกข์ เป็นการพิจารณาถึงต้นเหตุที่ทา ให้เกิดความไม่สบายกาย ไม่สบายใจนั้น • ๓. นิโรธ = การดับทุกข์ เพื่อทาให้ความทุกข์หายไป • ๔. มรรค = การรู้แจ้งถึงหนทางแห่งการดับทุกข์
  7. 7. ๘.๔ วิธีคิดแบบอริยสัจกับวิธีทางวิทยาศาสตร์ (ต่อ) วิธีคิดแบบวิทยาศาสตร์ได้แก่ ๑. ปัญหา = สิ่งที่เป็นข้อสงสัย ๒. สมมติฐาน = ความน่าจะเป็นของปัญหา การคาดเดาเหตุผล เพื่อตอบคาถามให้แก่ปัญหาที่เป็นข้อสงสัยให้ได้ ๓. ทดลอง = วิธีการในการกระทาต่างๆ เพื่อหาวิธีในการตอบ ปัญหา ๔. วิเคราะห์ = การนาข้อมูลที่ได้จากการทดลองมาคิดวิเคราะห์ พิจารณาในการตอบปัญหา ๕. การสรุปผล = ได้รับคาตอบจากการวิเคราะห์ สามารถตอบ ปัญหาได้ จนเกิดเป็นความรู้
  8. 8. "จะเห็นได้ว่า จากการเปรียบเทียบดังกล่าว วิธีการคิดแบบ วิทยาศาสตร์และวิธีการคิดแบบอริยสัจจ์มีความเหมือนกันมาก นั่นคือ มีขั้นตอนและรูปแบบวิธีการคิดเหมือนกัน ทุกข์ในวิธีการ คิดของอริยสัจจ์ก็คือปัญหาของวิธีการคิดแบบวิทยาศาสตร์ นั่นเอง ต่อจากนั้นก็มีการตรวจสอบสาเหตุของทุกข์และปัญหา รวมทั้งการทดลองเพื่อขจัดปัญหา/ความทุกข์เหมือนกัน สุดท้าย ก็นาไปสู่การวิเคราะห์และรู้แจ้งสามารถขจัดปัญหา/ความทุกข์ ได้เหมือนกัน นั่นเอง” ๘.๔ วิธีคิดแบบอริยสัจกับวิธีทางวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
  9. 9. ๘.๕ การใช้หลักอริยสัจปรับปรุงวิธีการสอนที่ถูกต้อง พระราชวรมุนี ได้กล่าวถึงเรื่องวิธีการสอนตามขั้นทั้ง ๔ ของ อริยสัจ นี้ว่า “การคิดแก้ปัญหาและการกระทาควบคู่กันไป นั้น ได้ปรากฏอย่างชัดเจนในขั้นตอนของอริยสัจ ๔ โดยเฉพาะ ในกิจของอริยสัจ ซึ่งเป็นหน้าที่ที่จะพึงกระทาต่ออริยสัจ ๔ แต่ ละอย่าง ที่จะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องและเสร็จสิ้นในอริยสัจ ๔ แต่ ละอย่างด้วย จึงจะได้ชื่อว่ารู้อริยสัจ หรือเป็นผู้ตรัสรู้แล้ว”
  10. 10. ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่ www.philosophychicchic.com สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

×