SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
ศึกษางานสาคัญของท่านดาไล ลามะ
๑
ดาไลลามะ องค์ที่ ๑๔
“ผู้นาทางจิตวิญญาณของทิเบต”
๒
• ศิลปะแห่งความสุข เป็ นหนังสือ
ขายดีทั่วโลก ครองอันดับขายดีของ
นิวยอร์ก ไทม์ส นานเกือบ ๒ ปี
• หนังสือเล่มนี้เป็ นสุนทรียสนทนา
ระหว่ างองค์ ดาไลลามะ กับ
นายแพทย์โฮเวิร์ด ซี.คัทเลอร์
• มีเนื้อหาที่เปี่ ยมด้วยโอชารสในทาง
ธรรม ทางโลกและทางจิตวิญญาณ
อย่างลึกซึ้ง และสอดคล้องกับ
สถานการณ์ของโลกในยุคทุนนิยม
ยิ่งนัก
๓
ขอบข่ายเนื้อหาของหนังสือ “ศิลปะแห่งความสุข”
• ภาคที่ ๑ จุดมุ่งหมายของชีวิต
• ภาคที่ ๒ ความอบอุ่นและ
อาทรของมนุษย์
• ภาคที่ ๓ ปรับเปลี่ยนความทุกข์
• ภาคที่ ๔ แสงชัยเหนืออุปสรรค
• ภาคที่ ๕ พิจารณาการใช้ชีวิต
ทางจิตวิญญาณ
๔
ภาค ๑ จุดมุ่งหมายของชีวิต
• “จุดหมายที่แท้จริงของมนุษย์คือ
การแสวงหาความสุข ไม่ว่าคนๆ
นั้นนับถือศาสนาหรือไม่ หรือ
คนๆนั้นจะนับถือศาสนาใดก็
ตาม เราทุกคนล้วนแล้วแต่
แสวงหาสิ่งที่ดีให้กับชีวิต ดังนั้น
ชีวิตคนเรามุ่งเข้าหาความสุขเป็น
จุดหมายปลายทาง”
๕
บทที่ ๑ : ทุกคนมีสิทธิมีสุข
มันเป็นไปได้จริงๆ หรือ ?? • สาหรับโลกตะวันตก ความคิด
เกี่ยวกับการบรรลุความสุขที่
แท้จริงยังคงดูเหมือนเป็ นสิ่ง
มายา ยากจะอธิบายและ
ไขว่คว้าได้
๖
เขตแดนกั้นระหว่างคนรวยกับคนจน เป็นที่รู้กันว่าความแตกต่าง
ระหว่าง คนรวยกับคนจนในประเทศบราซิลนั้นใหญ่มาก
(เซาเปาโล บราซิล)
๗
บทที่ ๑ : ทุกคนมีสิทธิมีสุข
•“เป็นไปได้สิ !!!
ฉันเชื่อว่าเราสามารถเข้าถึง
ความสุขได้โดยผ่านการฝึกจิต”
(ดาไล ลามะ)
๘
บทที่ ๒ : บ่อเกิดของความสุข
• ความสุขถูกกาหนดโดยสภาพจิตใจมากกว่าโดยสถานการณ์
ภายนอก ความสาเร็จอาจส่งผลให้เกิดความรู้สึกอิ่มอกอิ่มใจชั่ว
ระยะ เรื่องร้ายๆ อาจทาให้เราจมอยู่ในช่วงเวลาเศร้าซึม แต่ไม่ช้า
ไม่นาน ความสุขโดยรวมของเรามักกลับคืนสู่พื้นระดับเดิมของมัน
บรรดานักจิตวิทยาเรียกกระบวนการนี้ว่า การปรับตัว (Adaptation)
๙
๑๐
อะไรคือสิ่งกาหนดพื้นฐานของความสุข ??
• ไม่ว่าเรากาลังรู้สึกสุขหรือทุกข์ในช่วงใดช่วงหนึ่ง บ่อยครั้งไม่
ค่อยเกี่ยวเนื่องกับสภาพการณ์เพียงอย่างเดียว แต่กลับขึ้นอยู่กับ
วิธีที่เรามองสถานการณ์ที่เกิดกับเรา และเราพึงพอใจมากแค่ไหน
ในสิ่งที่เรามี
๑๑
• “หากขาดการฝึ กฝนเพื่อให้จิตสงบ
ไม่ว่าคุณจะมีสิ่งอานวยความสะดวก
หรือเหตุการณ์จะเป็นยังไง สิ่งเหล่านั้น
จะไม่มีวันให้ความรู้สึกเบิกบานและ
ความสุขอย่างที่คุณแสวงหา
• ในทางกลับกัน ถ้าคุณประกอบด้วย
คุณลักษณะภายใน มีจิตใจที่สงบและ
มั่นคงในระดับหนึ่ง แม้คุณจะขาดสิ่ง
อานวยความสะดวก ซึ่งปกติแล้วถือว่า
จาเป็ นต่อความรู้สึก แต่คุณก็อาจมี
ชีวิตอยู่อย่างเบิกบานและเปี่ ยมสุขได้”
๑๒
• “การมีจิตสงบ ไม่ได้หมายถึงการเหินห่างวางเฉยหรือว่างเปล่าโดย
สิ้นเชิง ภาวะจิตที่สงบมีรากฐานอยู่ในความรักและความกรุณา”
๑๓
บ่อเกิดของความสุข ??
• “สิ่งที่ขจัดความโลภได้อย่าง
แท้จริงคือ ความพอใจ ถ้าคุณมี
ความรู้สึกพออกพอใจอย่างมาก
จะได้เป็นเจ้าของสิ่งนั้นหรือไม่
ก็ไม่เป็นไร ไม่ว่าจะได้หรือไม่ได้
คุณก็ยังรู้สึกพอใจอยู่ดี”
ความพอใจภายใน
๑๔
แล้วเราจะบรรลุความพอใจภายในได้อย่างไร ??
• มีอยู่สองวิธี....
• วิธีแรก คือ ไล่ล่าไขว่คว้าจนได้ครอบครองทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้องการ
หรือปรารถนา
• วิธีที่สอง คือ ไม่จาเป็นต้องมีในสิ่งที่เราต้องการ แต่ให้เราต้องการ
และเห็นคุณค่าในสิ่งที่เรามี
๑๕
บ่อเกิดของความสุข ??
• เห็นคุณค่าตนเอง ด้วยการเห็นความรักและความผูกพันของมนุษย์
เห็นคุณค่าภายใน
“ฉันคิดว่าถ้าขาดความรักความผูกพันกับ
เพื่อนมนุษย์คนอื่นๆ แล้ว ชีวิตต้องยากแค้นเหลือทน”
๑๖
ความแตกต่างระหว่างความสุขกับความเพลิดเพลิน
• ท่านดาไลลามะอธิบายว่า
“ความสุขสูงสุดเกิดขึ้นเมื่อคนๆ นั้นเข้าถึงภาวะหลุดพ้น ที่
ซึ่งไม่มีความทุกข์อีกต่อไป นั่นคือ ความสุขที่แท้จริงและยาวนาน
ความสุขที่แท้จริงสัมพันธ์กับจิตใจและหัวใจมากกว่า
ส่วนความสุขที่ขึ้นอยู่กับความเพลิดเพลินทางเนื้อหนัง
เสียเป็นส่วนใหญ่นั้น มันเอาแน่ไม่ได้ วันนี้มี พรุ่งนี้อาจไม่มี”
๑๗
• แต่บ่อยครั้งเรามักไม่เลือกสิ่งที่เรารู้ว่า “ดีสาหรับเรา” ส่วน
หนึ่งคงเนื่องมาจากความจริงที่ว่า “ทางเลือกที่ถูกต้อง” มักเป็น
เรื่องลาบากยากเย็น เพราะความที่ต้องสละความเพลินเพลินทิ้งไป
เสียบ้างนั่นเอง
๑๘
บทที่ ๓ : ฝึกจิตให้เป็นสุข
• หนทางสู่ความสุข :
• ขั้นตอนแรกในการแสวงหาความสุขคือการเรียนรู้ ก่อนอื่น
ต้องเรียนรู้ว่าอารมณ์และพฤติกรรมทางลบทั้งหลายทาร้ายเรา
อย่างไร และอารมณ์ทางบวกให้ประโยชน์อย่างไร
๑๙
คนที่มีสุขภาพจิตที่ดี
เป็นอย่างไร ??
“ฉันถือว่าคนที่มีจิตใจ
เมตตา กรุณา เอื้ออารี
คือ คนที่มีสุขภาพจิตดี”
การฝึกจิตให้เป็นสุข : ต้องมีวินัยทางจิต
• คือ ฝึกคิดบวก และกระทาในสิ่งที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง
ฉันจะใช้วันนี้ไปในทาง
สร้างสรรค์กว่าเดิม
ฉันไม่ควรปล่อยวันนี้ให้
มันสูญเปล่า
ฉันได้ใช้วันนี้สมดังตั้งใจ
หรือยัง ??
๒๐
การฝึกปฏิบัติธรรม ก็คือการต่อสู้อยู่ภายในอย่างต่อเนื่อง
คือ การปรับเปลี่ยนนิสัยหรือสภาพทางลบด้วยสภาพใหม่ที่เป็นบวก
การฝึกจิตให้เป็นสุข : ต้องมีวินัยทางจริยธรรม
• “ฉันคิดว่าการประพฤติถูกทานองคลองธรรมเป็นการ
ฝึกวินัยทางจิตอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ชีวิตมีสุขขึ้น
หรือเรียกสิ่งนี้ว่า ธรรมวินัย”
• “จิตที่มีวินัยนาไปสู่ความสุข จิตที่ไร้วินัย
นาไปสู่ความทุกข์ การฝึกอบรมจิตให้มีวินัย คือ
แก่นสาคัญในคาสอนของพระพุทธองค์”
สรุป
• ความสุขคือจุดมุ่งหมายที่ทุกคนแสวงหา
• ทุกคนมีสิทธิที่จะมีความสุขได้อย่างเท่าเทียมกัน
• ด้วยการฝึกจิตให้สงบโดยการมีวินัยทางจิตและมีวินัยทางจริยธรรม
“การเข้าถึงความสุขที่
แท้จริงและยั่งยืนไม่ใช่
เรื่องง่าย แต่ก็เป็นไปได้”
จบการนาเสนอ
ขอบคุณครับ
“I want to say without hesitation that
the purpose of our life is happiness.”
- His Holiness the Dalai Lama -
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 

What's hot (20)

ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdfสรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 

ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ