SlideShare a Scribd company logo
1 of 173
Download to read offline
บทที่ 3 หลักการการอนุรักษ์ / การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่ งแวดล้ อมชนิดต่ างๆทีเ่ กิดขึนตาม
                                                          ้
                          ธรรมชาติท้งที่มีชีวตและสิ่ งที่ไม่ มีชีวต
                                    ั        ิ                    ิ
ประเภททรัพยากรธรรมชาติ               มี   3 ประเภท คือ
1. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้ไมหมด เช่น แสงอาทิตย ์
                                ่
           อากาศ นํ้า
2. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทสามารถบํารุงรักษาใหมได้ เช่น
                                                 ่
    ดิน ป่าไม้  สั ตวป่า
                     ์
3. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แลวหมดหรือสิ้ นเปลือง เช่น
                              ้                ้
    แรธาตุ พลังงาน ทัศนียภาพ
       ่
คาถาม
 1. ทาไมมนุษย์ตองอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติหรื อ
               ้
 สิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติท้ งที่มีชีวตและไม่มี
                                      ั        ิ
 ชีวต???
      ิ


2. เหตุผลที่ตองศึกษาทรัพยากรธรรมชาติและ
             ้
 หลักการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ความสํ าคัญทรัพยากรธรรมชาติ

ทรัพยากรธรรมชาติมความสํ าคัญตอมนุ ษยเป็ นอยางมาก ดังนี้
                             ี                    ่           ์          ่
        1.มนุ ษ ย ใช้ ทรัพ ยากรธรรมชาติเ ป็ นปั จ จัย สี่ -ปั จ จัย ห้ าใน
                     ์
การดํา รงชีว ต ของมนุ ษ ย ์
                   ิ                      มนุ ษ ย ไม่สามารถขาดทรัพ ยากร
                                                      ์
เ ห ล ่ า นี้ ไ ด้     ดั ง นั้ น ม นุ ษ ย ์ จึ ง จํ า เ ป็ น ต้ อ ง รู้ จั ก วิ ธ ี ก า ร ใ ช้
ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ อ ย่ า ง ถู ก วิ ธี ห รื อ ก า ร อ นุ รั ก ษ์
ทรัพ ยากรธรรมชาติ                      เพื่อ พัฒ นาคุ ณ ภาพชีวต มนุ ษ ย ให้ ดี
                                                                            ิ            ์
ขึนตลอดไป แตปัจจุบนพบวาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของ
  ้                     ่         ั       ่
มนุ ษย ์ไม่ ถู ก ต้ อง ส่ งผลให้ ทรัพ ยากรธรรมชาติถู ก ทํ า ลาย
มนุ ษยขาดปัจจัยสี่ –ปัจจัยห้า
          ์
     2. มนุษย์ กบทรัพยากรธรรมชาติมีความสั มพันธ์ กนแบบพึงพากันไม่
                ั                                   ั        ่
สามารถแยกกันได้ (Symbiosis) ส่ งผลให้ มนุษย์ มคุณภาพชีวิตทีดท้ังทางร่ างกาย
                                              ี            ่ ี
อารมณ์ และจิตใจดี
สาเหตุทต้องอนุ รกษ์
                                ่ี       ั
2.             ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิ ดทีใ ช้
                                          ่          3. ทรัพยากรธรรมชาติส่งเสริมให้เกิด
     แล้วสิ้ นเปลือง หรือเปลียนสภาพไปจาก
                              ่                          กา ร พั ฒ น า ท า ง ด้ า น เศ ร ษ ฐกิ จ
     เดิม       ทําให้ไมสามารถนํ าทรัพยากรมา
                        ่
     ใช้ไดอีก ประกอบ
             ้
                                                         ห า ก ป ร ะ เ ท ศ ใ ด มี
                กับ มนุ ษย ์มี ค วามความจํ า             ทรัพยากรธรรมชาติมาก ก็ส่งผล
     เ ป็ น ที่ ต้ อ ง ก า ร ใ ช้                        ให้เศรษฐกิจ ประเทศนั้น ดีตามไป
     ทรัพ ยากรธรรมชาติ เ พิ่ม ขึ้น ตาม                   ด้วย ดัง นั้น ประเทศมหาอํา นาจ
     อัตราการเพิมของมนุ ษย ์ และความ
                    ่                                    ต่างๆพยายามที่จ ะหาทรัพ ยากร
     เจริญทางเทคโนโลยี แตมนุ ษยขาด   ่        ์          จาก ประเทศทีด้อยพัฒนา เพือ
                                                                           ่                   ่
     ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ       นํ าทรัพยากรธรรมชาติไปพัฒนา
     ความสํ าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ                      ประเทศของตนให้สามารถอยู่ได้
     และ                                                 ด้ วยตนเอง ดัง นั้ น จึ ง มี ก ารล่ า
                ผลกระทบที่อ าจจะเกิด จาก                 อ า ณ า นิ ค ม ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ
     การใช้ทรัพยากรไมถูกวิธ ี ประกอบ
                             ่                           มหาอํานาจเกิดขึน หรือ
                                                                             ้
     กับการขาดการประชาสั มพันธ ์
                ของหน่วยงานตางๆทังของ       ้                     ใช้ เทคนิ ค ต่างๆมากมาย
                                   ่                     เพือยึดทรัพยากรทีตนเองต้องการ
                                                             ่                 ่
     รัฐบาลและเอกชนอยางจริงจัง ่
4. ทรัพ ยากรธรรมชาติแ สดงออก
 ถึงความเจริญทางวัฒนธรรม หาก
 ประเทศใดมี ก ารใช้ ทรั พ ยากรอย่ างถู ก
 หลักการอนุ รกษแลว แสดงวาประเทศนั้นมี
                  ั ์ ้                  ่
 วัฒนธรรมดี ทําให้ทรัพยากรตางๆสามารถ       ่
 ใช้ เป็ นปั จ จัย สี่ -ปั จ จัย ห้ าได้ ตลอดไปหรือ
 ใช้ไดแบบยังยืน
         ้      ่
ผลกระทบทีเกิดขึนเนื่องจาก
           ่   ้
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติไมถูก่
หลักนิเวศวิทยาและหลักอนุ รกษวิทยา
                          ั ์
       หากมนุ ษยมีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติไมถูกหลักการแล้ว ยอมส่งผล
                        ์                                   ่                    ่
 กระทบ           ดังนี้
       1.ทรัพยากรธรรมชาติชนิดตางๆ (สิ่ งแวดลอม) รวมทังมนุ ษยก็จะไดรับ
                                                 ่            ้          ้     ์       ้
 ผลกระทบด้ วยแบบทวีคู ณ                     ส่ งผลให้ ระบบนิ เ วศชี ว มณฑลไม่สามารถ
 ทํา งานได้อย่างปกติ                 ยากที่จ ะปรับ ปรุง แก้ไขให้กลับ คืน สู่สภาพสมดุล
 ธรรมชาติดงเดิม  ั
         ตัว อย่ างเช่ น               การใช้ ทรัพ ยากรป่ าไม้ ไม่ ถู ก วิธ ี ย่ อมส่ งผล
 กระทบตอสิ่ งแวดล้อมอืนๆ ไดแก่
           ่                     ่       ้
       *สั ตวป่าไมมีทอยูอาศั ย
               ์          ่ ี่ ่
       *ทรัพยากรนํ้าเกิดปรากฏการนํ้าทวม             ่
       *ทรัพยากรอากาศมีอุณหภูมโลกสูงขึน        ิ       ้
       *ทรัพยากรดินขาดความอุดมสมบูรณ ์ ไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโต
                                                          ่            ่
 ของพืชตางๆ  ่
       *มนุ ษยมีปัจจัยสี่ ไมเพียงพอ
                   ์               ่
ดังนั้นเราตองศึ กษาหลักการการอนุ รกษ์ และนําไปปฏิบต ิ
                  ้                      ั               ั
ในชีวตประจําวันตอไป
     ิ              ่
        แตการอนุ รกษ์ทรัพยากรธรรมชาติจะประสบความสํ าเร็ จ
            ่        ั
ได้ นั้น ต้ องอาศั ย ความร่วมมือ กัน ของบุ ค คลหลายๆฝ่ าย คือ
ภาครัฐบาล เอกชน และทีสําคัญตัวประชาชนเองต้องให้ความ
                            ่
รวมมือเป็ นอยางดี
 ่            ่
       โดยทุกองคกรรวมมือกันดําเนินการ ดังนี้
                ์  ่


 1. การจัดตังชมรมหรือสมาคมเพืออนุรกษทรัพยากรธรรมชาติ
              ้               ่     ั ์
 2. การออกกฎหมายควบคุม โดยรัฐบาล
 3. การให้การศึ กษาแกประชาชน เพือให้เขาใจถึงความสํ าคัญ
                       ่          ่       ้
           ผลกระทบและแนวทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอยางถูกวิธ ี
                                                      ่
 4. การจัดตังหน่วยงานขึนรับผิดชอบเกียวกับทรัพยากรธรรมชาติ
                ้        ้           ่
           เช่น กรมป่าไม้ กรมประมง เพือรับผิดชอบทรัพยากรป่าไม้ สั ตว ์
                                        ่
      นํ้า
หลักการอนุ รกษทรัพยากรธรรมชาติ
            ั ์
            แบบยังยืน
                ่
1. การถนอม เช่น การเก็บรักษาดินในรูปของการปลูกคลุมดิน
         การกําหนดเขตพืนทีป่าไม้
                         ้ ่
2. การบูรณะฟื้ นฟู(ปรับปรุง) เช่น       ซ่อมแซมอุปกรณภายในบ้านให้มี
                                                          ์
         สภาพเดิม โดยยึดหลักนิเวศวิทยา         สํ าหรับการจัดการสิ่ งแวดลม
                                                                         ้
         แบบบูรณาการ
3. การนํามาใช้ใหม่ เช่น การนําแกวไปหลอมใหมเพือนํากลับมาใช้อีก
                                      ้               ่ ่
4. การเพิมประสิ ทธิภาพในการใช้งาน เช่น ทาสี เหล็กทีนํามาสรางบานเพือ
          ่                                                 ่   ้      ้   ่
         ป้องกันสนิม
5. การนําสิ่ งอืนมาใช้ทดแทน เช่น การใช้ไฟเบอรแทนเหล็กในการ
                ่                                   ์
         ประกอบรถยนต ์
6. การสํ ารวจแหลงทรัพยากรธรรมชาติเพิมขึน เช่น การคนหาแหลง
                    ่                      ่ ้                ้      ่
            พลังงานจากดวงอาทิตยแทนพลังงานจากนํ้ามัน
                                 ์
7. การประดิษฐของเทียมขึนใช้ เช่น การใช้อัญมณีปลอมทดแทนเพชร
                  ์       ้
8. ประหยัด เช่น การใช้นํ้าเทาทีจาเป็ น
                                ่ ่ ํ
ั
ความสัมพันธ์มนุษย์กบทรัพยากรธรรมชาติ (สิ่ งแวดล้อม) แบบบูรณาการ


การใช้และการป้องกัน
(แนวทางการพัฒนาทางวิทยาศาสตรสิ่ งแวดลอม)
                            ์        ้

มนุ ษย ์        ทรัพยากรธรรมชาติ             ปัจจัยสี่    คุณภาพชีวตทีดี
                                                                   ิ ่

(มลพิษสิ่ งแวดลอม)
               ้
ผลกระทบ                 ของเสี ยหรือสารปนเปื้ อน
จากเหตุผลข้างต้น มนุ ษยจึงต้องเรียนรู้วิธการใช้และ
                                               ์           ี
การป้องกันหรือการอนุ รกษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้เข้าใจอยาง
                               ั                                       ่
แท้ จริง เพื่อ มนุ ษ ย จะได้ มีปัจ จัย สี่ ใช้ ตลอดไป
                         ์                               หากมนุ ษ ย ไม่
                                                                     ์
เรี ย นรู้ วิธ ี ก ารใช้ ทรัพ ยากรธรรมชาติท ี่ ถู ก ต้ องแล้ วจะทํ า ให้
ทรัพยากรธรรมชาติมคุณสมบัตทเปลียนแปลงไป ดังนี้
                            ี         ิ ี่ ่
          1.ทรัพยากรธรรมชาติจะมีของเสี ยหรือสารปนเปื้ อนตางๆ
                                                         ่
ปนอยูในทรัพยากรธรรมชาติ ทําให้ทรัพยากรธรรมชาติน้ันๆ
        ่
เกิดเป็ นมลพิษสิ่ งแวดลอมขึน ส่งผลกระทบตอมนุ ษย ์
                       ้   ้               ่
          2.มนุ ษ ย์ จ ะได้ มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ ใ ช้ เ ป็ นปั จ จั ย สี่ แ ละปั จ จั ย ที่ห้ า
ส่ งผลให้ มนุ ษย์ มีคุณภาพชี วิตที่ดีไม่ ต้องอาศั ยอยู่ในระบบนิเวศที่เป็ นมลพิษ
สิ่ งแวดล้อม(สถานภาพวิกฤต)
ความหมาย
การอนุ ร ก ษ์ ทรัพ ยากรธรรมชาติ หมายถึง การเก็ บ
         ั
การรัก ษา การบูร ณะฟื้ นฟู แ ละการใช้ ทรัพ ยากรธรรมชาติใ ห้
ถูกตองตามหลักการอนุ รกษเพือมนุ ษยจะไดมีทรัพยากรธรรมชาติ
    ้                ั ์ ่          ์   ้
ใช้ได้ตลอดไป โดยทีไมส่งผลกระทบตอมนุ ษยและสิ่ งแวดล้อม
                    ่ ่               ่      ์
อืนๆ หรือส่งผลกระทบแบบทวีคูณตอมนุ ษยและสิ่ งแวดลอม
  ่                               ่       ์        ้
งาน
1. ให้ นักศึกษานาเสนอ Power Point เพือชี้ถึงความสาคัญของ
                                     ่
    ทรัพยากรธรรมชาติ
2. แนวทางการใช้ และการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ เช่ น นา ดิน ป่ าไม้
                                                         ้
   สั ตว์ ป่า ชายฝั่งทะเลและแนวปะการัง แร่ ธาตุและพลังงาน ป่ าชายเลน
   ให้ สอดคล้องกับหลักการอนุรักษวิทยา

 3. นาเสนอ Power Point พร้ อมยกตัวอย่ างประกอบจากเหตุการณ์ ปัจจุบัน เพือ
                                                                       ่
    แสดงถึงผลกระทบที่เกิดจากการใช้ / รักษาทรัพยากรธรรมชาติทไม่ สอดคล้อง
                                                           ี่
    กับหลักการอนุรักษวิทยา กลุ่มละ 10 นาที
ทรัพยากรนํ้า
ความสํ าคัญของนํ้า             นํ้ามีความสํ าคัญตอมนุ ษยทังทางตรงและ
                                                 ่      ์ ้
        อ้อม ดังนี้
1. เพือการอุปโภคบริโภคของมนุษยและสิ่ งมีชวตตางๆทีเป็ นองคประกอบใน
      ่                               ์             ี ิ ่    ่   ์
        ระบบนิเวศ ไดแก่ พืช สั ตวตางๆ โดยมนุษยจะเก็บนํ้าไว้ในรูป
                            ้           ์ ่                ์
        เขือน ฝาย หรือคลองระบายนํ้าเพือ ใช้สํ าหรับการเกษตร
             ่                                  ่
        อุตสาหกรรม ผลิตกระแสไฟฟ้า การคมนาคมขนส่ง เป็ นแหลง             ่
        เพาะพันธุสั ตวนํ้าและนันทนาการ
                    ์     ์
2.การลําเลียงอาหารของกลุมสิ่ งมีชวตในระบบนิเวศ โดยนํ้าจะเป็ นตัวกลาง
                              ่     ี ิ
        ทีจะนําอาหารจากแหลงผลิตไปเลียงส่วนตางๆในรางกาย
           ่                    ่           ้          ่       ่
3.ควบคุมอุณหภูมของโลก ไมให้มีอณหภูมของโลกทีสงจนเกินไป
                      ิ           ่      ุ        ิ       ่ ู            เพือ
                                                                            ่
        วากลุมสิ่ งมีชวตจะสามารถอาศัยอยูในระบบนิเวศของโลกไดอยาง
         ่     ่        ี ิ                   ่                    ้ ่
        ปกติ
สาเหตุททาให้ ทรัพยากรนาเกิดปัญหาและผลกระทบ
       ี่             ้

1.การขาดแคลนนา มีสาเหตุจากมนุษย์ ทาลายทรัพยากรป่ าไม้
                   ้
      1.1 ทาให้ วฏจักรการหมุนเวียนธาตุคาร์ บอนและ
                 ั
ไฮโดรเจนมีการหมุนเวียนแบบไม่ เป็ นวัฎจักร ฝนทิงช่ วงเป็ น
                                               ้
เวลานาน
      1.2 มนุษย์ ขาดการวางแผนการใช้ นาระยะสั้ นและระยะยาว
                                     ้
      1.3 ป่ าไม้ ถูกทาลายในอัตราทีสูงขึนเรื่อยๆส่ งผลกระทบ
                                   ่ ้
ผลกระทบ
               ปัญหาการขาดแคลนน้าจืด เปนปัญหาที่พบได้
                                                 ็
ทัวไปทังในเมืองและชนบท เปนปัญหาที่แพร่กระจายเปนวง
   ่   ้                          ็                         ็
กว้า ง และถึ ง ขั้น เรี ย กว่ า “ภัย แล้ง ” ปั ญหานี้ ในอนาคตจะ
กลายเปนปัญหาที่น่าเปนห่วงมากขึ้น แม้ปัจจุบนเรามีน้าจาก
         ็                   ็                       ั
ธรรมชาติ อยู่ม าก ก็ ย งเกิด ปั ญ หาสภาพการขาดแคลนน้ า
                           ั
ร ุนแรงในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะช่วงฤด ูแล้ง
ผลกระทบการขาดแคลนน้า
1. ทาให้ ปริมาณนาเพือการอุปโภค บริโภคในระบบ
                      ้ ่
2. นิเวศลดน้ อยลงไม่ เพียงพอกับความต้ องการของกลุ่มสิ่ งมีชีวตที
                                                             ิ
   เป็ นองค์ ประกอบในระบบนิเวศในอีก 5 ปี ข้ างหน้ า (2555)
3. สั ตว์ นาไม่ มีทอยู่อาศัย
           ้       ี่
4. ดินขาดความชุ่มชื้น
5.   อากาศแปรปรวน พายุโซนร้ อน โลกร้ อน
6.   การคมนาคมไม่ สะดวก
ปัญหาและผลกระทบ
2.    การเกิดนาท่ วม มีสาเหตุจากการทีฝนตกหนักติดต่ อกันเป็ นเวลานาน เขื่อน
              ้                      ่
      ถูกทาลาย ระบบนิเวศมีปรากฏการเกิดภาวะเรือนกระจก

     การเกิดน้าท่วม
      อาจเกิดจากสาเหต ุหนึ่งหรือหลายสาเหต ุร่วมกันดังต่อไปนี้
        น้าทะเลหน ุนสูงกว่าปกติ ทาให้น้าจากแผ่นดินระบายลงสู่
           ทะเลไม่ได้
           แหล่งเก็บกักน้าตื้นเขินหรือได้รบความเสียหาย จึงเก็บ
                                           ั
              น้าน้อยลง
               ปาไม้ถกทาลายมาก ทาให้ไม่มีสิ่งใดจะช่วยด ูดซับน้า
                    ่    ู
                   ไว้
                   ภูมิประเทศเปนที่ลมและการระบายน้าไม่ดี
                                  ็    ุ่
ผลกระทบ
1. กลุ่มสิ่ งมีชีวตทีเ่ ป็ นโครงสร้ างในระบบนิเวศ ได้ แก่ พืช สั ตว์
                    ิ
   และจุลนทรีย์ได้ รับความเสี ยหาย
             ิ
2. ทรัพยากรนาเกิดมลพิษนาสู งขึน
                  ้             ้ ้
3. นอกจากนีส่งผลให้ มีอตราการเกิดโรคระบาดสู ง
                ้             ั
 4. ดินเกิดกษัยการอย่ างรุนแรง
3. นาขาดคุณภาพ มีสาเหตุมาจาก
    ้
   นามีแร่ ธาตุ อินทรีย์สารแขวนลอยในนาในอัตราทีสูง
      ้                              ้         ่

  ส่ งผลกระทบทาให้ นามีสี กลิน รส นากระด้ างไม่ เหมาะต่ อการอุปโภคและ
                    ้        ่     ้
   บริโภค
ค ุณภาพของน้าไม่เหมาะสม มีสาเหต ุ
1) การทิ้งสิ่งของและการระบายน้าทิ้งลงสูแหล่งน้า ทาให้แหล่งน้าสกปรก
                                           ่
    และเน่าเหม็นจนไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ มักเกิดตามช ุมชนใหญ่ๆ ที่
    อยูใกล้แหล่งน้า หรือท้องถิ่นที่มีโรงงานอ ุตสาหกรรม
         ่
    2) สิ่งที่ปกคล ุมผิวดินถูกชะล้างและไหลลงสูแหล่งน้ามากกว่าปกติ มี
                                                 ่
    ทังสารอินทรีย ์ สารอนินทรีย ์ และสารเคมีต่างๆ ที่ใช้ในกิจการต่างๆ
       ้
    ซึ่งทาให้น้าขนได้ง่ายโดยเฉพาะในฤด ูฝน
                   ุ่
    3) มีแร่ธาต ุเจือปนอยูมากจนไม่เหมาะแก่การใช้ประโยชน์ น้าที่มีแร่ธาต ุ
                           ่
    ปนอยูเกินกว่า 50 พีพีเอ็มนัน เมื่อนามาดื่มจะทาให้เกิดโรคนิ่วและโรค
            ่                    ้
    อื่นได้
    4) การใช้สารเคมีที่มีพิษตกค้าง เช่น สารที่ใช้ปองกันหรือกาจัด
                                                   ้
    ศัตรูพืชหรือสัตว์ ซึ่งเมื่อถูกฝนชะล้างลงสูแหล่งน้าจะก่อให้เกิด
                                               ่
    อันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
5. ปัญหาการใช้ทรัพยากรน้าอย่างไม่เหมาะสม เช่น ใช้มากเกินความ
    จาเปนโดยเฉพาะเมื่อเกิดภาวะขาดแคลนน้า หรือการสูบน้าใต้ดินขึ้นมา
         ็
    ใช้มากจนดินทร ุด เปนต้น
                        ็
6. ปัญหาความเปลี่ยนแปลงของฟาอากาศ เนื่องจากปรากฏการณ์เอล นิ
                                 ้
    โน (El Nino) และลา นินา (La Nina) โดยปรากฏการณ์เอลนิโนเปน็
    ปรากฏการณ์ที่ผิดธรรมชาติจะเกิดขึ้นประมาณ 5 ปต่อครัง นานครังละ
                                                  ี        ้       ้
    8 - 10 เดือน โดยกระแสน้าอนในมหาสมุทรแปซิฟกตะวันตกบริเวณเส้น
                              ุ่               ิ
    ศูนย์สตรไหลย้อนกลับไปแทนที่กระแสน้าเย็นในมหาสมุทร แปซิฟก
            ู                                                   ิ
    ตะวันออกลงไปถึงชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้
    (ประเทศเปรู เอกวาดอร์ และชิลีตอนเหนือ) ทาให้ผิวน้าที่เคยเย็นกลับ
    อนขึ้นและที่เคยอนกลับเย็นลง
      ุ่             ุ่
แนวทางอนุ รกษนํ้าแบบยังยืน
                  ั ์       ่
1. ถนอม โดยการจัดหานํ้าทีมคุณภาพให้เพียงพอกับการอุปโภคบริโภค
                         ่ ี
     อุตสาหกรรม คมนาคม เป็ นตน โดยการสร้างเขือน อางเก็บนํ้า บอ
                               ้               ่     ่       ่
     สระ เพือเก็บถนอมทรัพยากรนํ้าไวใช้ไดนานๆ
            ่                      ้    ้

2. การปรับปรุง โดยการป้องกันการเกิดมลพิษนํ้า        ดวยการออกกฎหมาย
                                                     ้
     ลงโทษผู้ทีกระทําความผิด ฝ่าฝื นอยางรุนแรง หรือตองทําการบําบัดนํ้า
                 ่                       ่              ้
     ทุกครังทีมการใช้นํ้ากอนทีจะปลอยนํ้าลงสู่แหลงนํ้าตามธรรมชาติ เพือให้
           ้ ่ ี           ่    ่    ่            ่                  ่
     สอดคลองกับหลักการป้องกันแบบบูรณาการและสอดคลองกับหลัก
             ้                                              ้
     นิเวศวิทยา
        ส่วนปัญหาการเกิดนํ้าทวม มีแนวทางอนุ รกษแบบยังยืน
                              ่                  ั ์      ่    โดยการ
     ปลูกป่าไมเพิมขึนเพือเก็บกักนํ้าไว้ในพืนดินหรือโดยการ สร้างเขือน
               ้ ่ ้     ่                 ้                      ่

3. การนํานํ้ามาใช้ให้เกิดประโยชนสูงสุด เป็ นการใช้นํ้าเพือประโยชนหลายๆ
                                ์                        ่       ์
     อยาง เช่นนําทีเช็ดบานสามารถนําไปรดนํ้าตนไม้
        ่             ่    ้                    ้
ทรัพยากรดิน
ความสาคัญของทรัพยากรดินทีมี ่
ต่ อมนุษย์ และสิ่ งแวดล้ อม
1.   เป็ นแหล่ งที่ให้ ปัจจัยสี่ เช่ นอาหาร ยารั ก ษา
     โรค เครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม ที่อ ยู่ อ าศั ย แก่ ม นุ ษ ย์ แ ละ
     สิ่ งมีชีวตต่ างๆ
               ิ
2.   เป็ นแหล่ งค้ า ยั น ให้ แก่ พื ช เพื่ อ ว่ าพื ช จะ
     สามารถดูดสารอาหารพวกอนินทรีย์สารหรือ
     ปุ๋ ยต่ างๆนาไปใช้ ในการเจริญเติบโตได้
3.   เป็ นแหล่ ง นั น ทนาการแก่ ม นุ ษ ย์ เช่ น แพะ
     เมื อ งผี ที่ จั ง หวั ด แพร่ เพื่ อ ใช้ เป็ นแหล่ ง
     พักผ่ อน ทาให้ ร่างกาย อารมณ์ และจิตใจของ
     มนุษย์ ดขน  ี ึ้
สาเหตุดนถูกทําลายและผลกระทบตอ
         ิ                    ่
         มนุ ษยและสิ่ งแวดลอม
               ์           ้
1.มนุ ษย ์ โดยทีมนุ ษยทําการปลูกพืชแบบ
                ่     ์                                     2 . ธ ร ร ม ช า ติ ดิ น ที่ เ สื่ อ ม ส ภ า พ โ ด ย
   ซํ้า ซาก ทํา ไร่เลื่อ นลอย ใส่ ปุ๋ ยเคมี                     ธรรมชาติ เช่ น ดิน กรด ดิน ด ่ าง
   มากเกินไป          ไมมีการปรับปรุงดินใน
                         ่                                      ดิน ทราย ดิน พรุ เป็ นต้ น                  ซึ่ง มี
   ขณะที่ ใ ช้ ดิน ส่ งผลให้ คุ ณ ภาพดิน                        เพียง 20 เปอรเซ็ นตเทานั้น ส่งผล
                                                                                       ์       ์ ่
   ขาดความอุ ด มสมบู ร ณ ์ ไม่ เหมาะสม                          ให้ ประเทศต้ องสู ญ เสี ยทรัพ ยากรที่จ ะ
   ตอการเพาะปลูกพืชต่อไป ซึ่งสาเหตุ
     ่                                                          ใ ช้ เ ป็ น ปั จ จั ย สี่ ม า ก ขึ้ น ห รื อ ใ ช้
   นี้ ม ีป ริม าณมากถึง 80 เปอร เซ็ น ต ์     ์                ทรัพยากรไมเต็มทีน้นเอง
                                                                                ่        ่ ั
   ด้ ว ย กั น ทํ า ใ ห้ ม นุ ษ ย ์ มี ปั จ จั ย สี่ ไ ม่         – ดัง นั้ น เราควรปรับ ปรุ ง ดิน ที่ม ีปั ญ หา
   เพียงพอ         นอกจากนี้ดนมีสารตกค้าง
                                 ิ                                  ดั ง ก ล่ า ว ใ ห้ ส า ม า ร ถ ใ ห้ ผ ล ผ ลิ ต แ ก่
   ได้แก่ ปรอท ตะกั่ว แคลเมีย ล ใน                                  มนุ ษ ย ์ โดยใช้ หลัก การจัด การระบบ
   ระบบนิเวศสูงทําให้มนุ ษยเป็ นโรคมินา                             นิ เวศให้ สอดคล้ องกับ หลัก นิ เวศวิทยา
                                     ์                              เพือทําให้องคประกอบของระบบนิเวศ
                                                                         ่                  ์
   มาตะ                โรคอิไต- อิไต โรค                            ทัง ทีมชีวตและไม่มีชีวตสามารถแสดง
                                                                        ้ ่ ี ิ                     ิ
   ไขดํามากขึนเรือยๆ
        ้         ้ ่                                               บ ท บ า ท ห น้ า ที่ ต่ า ง ๆ ข อ ง ร ะ บ บ
                                                                    สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ ช่ น บ ท บ า ท ผู้ ผ ลิ ต
                                                                    ผู้ บริโ ภคและผู้ ย่อยสลาย ได้ อย่างมี
                                                                    ประสิ ทธิภ าพ นอกจากนี้ ม นุ ษ ย ต้ อง         ์
                                                                    ปรับปัจจัยทางกายภาพ (องคประกอบ           ์
                                                                    ที่ ไ ม่ มี ชี ว ิ ต ) ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม ต่ อ ก า ร
                                                                    เจริญเติบโตของพืชนั้นๆดวย           ้
แนวทางการอนุ รกษทรัพยากรดินแบบยังยืน
                     ั ์              ่
            โดยยึดหลักการอนุ รกษวิทยา
                              ั ์
1. ปรั บปรุ ง โดยการปรับปรุ งดินที่มีปัญหาตามธรรมชาติและมนุษย์ เป็ นสาเหตุให้ เกิดปัญหา เช่ น
    ดินเค็ม ดินเปรี้ยว ดินพรุ และดินที่มีสารพิษโลหะหนักปนเปื้ อน ให้ เหมาะสมต่ อการเพาะปลูก
    สาหรั บเป็ นแหล่ งอาหารสาหรั บการหมุนเวียนในระบบนิเวศ โดยมีแนวทางอนุ รักษ์ แบบยั่งยืน
    ดังนี้
  1.1. ดินเค็ม โดยการใส่ กรดกามะถันลงไปในดินเค็ม(pH มากกว่ า 7) เพือปรับ pH ดินให้ เป็ นกลาง
                                                                               ่
 เหมาะสมต่ อการเพาะปลูกพืช
  1.2 ดินเปรี้ยว โดยการใส่ ปูนขาวหรือปูนมาร์ ล ลงไปในดินทีเ่ ป็ นกรด (pH น้ อยกว่ า 7)
  1.3 ดินพรุ โดยการใส่ ปูนขาวพร้ อมทั้งระบายนาตลอดเวลาสาหรับดินทีเ่ ป็ นดินพรุ (pH มากกว่ า 7)
                                                       ้
  1.4 ดินทีมสารพิษโลหะหนักปนเปื้ อน หมายถึง ดินทีมสารปรอท ตะกัวปนเปื้ อนในดินมีการ
            ่ ี                                              ่ ี                 ่
ปรับปรุ งดินก่ อนทาการเพาะปลูกโดยการใส่ ปูนขาวลงไปเพือปรับ pH ให้ เป็ นด่ างอ่ อนๆ สาหรับยับยั้ง
                                                                 ่
การดูดซึมปรอท ตะกัวสะสมในเนือเยือพืชทีใช้ เป็ นปัจจัยสี่ ของมนุษย์
                       ่               ้ ่         ่
2. ถนอม โดยการปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชแบบขั้นบันได ปลูกพืชสลับแถว ปลูกพืชหมุนเวียน เพือ                          ่
    รักษาธาตุอาหารในดินไม่ ให้ ถูกกัดเซาะโดยกระแสนาหรือ กระแสลม
                                                              ้
3. ทดแทน โดยการใช้ ดินเทียมสาหรั บปลูกพืชในบริ เวณที่มีพืนที่ดินจากัด เช่ น การใช้ ดินเทียม
                                                                           ้
    ส า ห รั บ ป ลู ก ต้ น ไ ม้ ใ น เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร เ พื่ อ ฟ อ ก อ า ก า ศ เ สี ย ใ ห้ ม นุ ษ ย์ .
คาถาม

1. การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชแบบขั้นบันได
   การปลูกพืชสลับแถว และการปลูกพืชหมุนเวียน
   ช่ วยในการอนุรักษ์ ดนได้ อย่ างไร
                       ิ
2. การปลูกพืชสลับแถวกับการปลูกพืชหมุนเวียนมี
   ความแตกต่ างกันอย่ างไร
เฉลย
1.     การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชแบบขั้นบันได การปลูกพืชสลับแถว และ
การปลูกพืชหมุนเวียน ช่ วยในการอนุรักษ์ ดิน โดยพืชที่ปลูกแบบต่ างๆ จะช่ วย
ป้ องกันไม่ ให้ ธาตุ อาหารบนดิน (nutrients) ถู กพัดพาโดยธรรมชาติ ได้ แก่
กระแสลม กระแสน้า ทาให้ ผ้ ู ผลิต(ต้ นไม้ )ชนิ ดต่ างๆสามารถเจริ ญเติบโตได้
ระบบนิ เ วศสามารถให้ ปั จ จั ย สี่ แ ละปั จ จั ย ห้ า แก่ ก ลุ่ ม สิ่ ง มี ชี วิ ต ได้ แ ก่ ผู้ ผ ลิ ต
ผู้บริ โภคและผู้ย่อยสลาย ซึ่ งเป็ นโครงสร้ างในระบบนิเวศได้ อย่ างเพียงพอกับ
ความต้ องการ
2. ปลูกพืชสลับแถวเป็ นการปลูกพืชมากกว่ าหนึ่งชนิด
ในพืนที่และเวลาเดียวกัน ส่ วนปลูกพืชหมุนเวียนเป็ น
    ้
การปลูกพืชเพียงชนิดเดียวในพืนทีเ่ ดียว แต่ กนละเวลากัน
                            ้               ั
ทรัพยากรป่าไม้
     ประเภทป่ าไม้ ของประเทศไทยมี 2              ซึ่งป่าไมทังสองประเภทมีเอกลักษณ ์
                                                              ้ ้
     ประเภท คือ                                  ของกลุมสิ่ งมีชวตกลุมพืช
                                                            ่     ี ิ   ่     สั ตว ์
                                                 และผู้ยอยสลายและกลุม
                                                          ่                 ่
1.   ป่ าไม่ ผลัดใบ เช่ น ป่ าดิบเขา ป่ าสน      สิ่ งไมมีชวตทีเป็ นองคประกอบของ
                                                        ่ ี ิ ่           ์
     ป่ าดิบแล้ ง ป่ าดงดิบชื้น ป่ าพรุ          ระบบนิเวศแตกตางกัน ดังนี้
                                                                      ่
     ป่ าชายหาด ป่ าชายเลน
2.   ป่ าผลัดใบ เช่ น ป่ าเบญจพรรณ ป่ าเต็งรัง
ชนิดของป่ าในประเทศไทย
       ป่ าไม้ ในประเทศไทยเป็ นป่ าในเขตร้ อน ( Tropical Forest ) มีพชพันธุ์
                                                                     ื
  มากมายหลายชนิด ซึ่งหากแบ่ งเป็ นประเภทใหญ่ ๆแล้ว จะแบ่ งออกได้ เป็ น 2
  ประเภท คือ
     1. ป่ าประเภทผลัดใบ ( Deciduous Forest )
          ป่ าประเภทนี้ ประกอบด้ วยพันธุ์ไม้ ทมกจะผลัดใบพร้ อมๆกันในฤดูแล้ ง ใบไม้
                                                  ี่ ั
  ทีร่วงหล่ น และไม้ ทล้มลุกทีคลุมอยู่บนพืนดินมักจะกลายเป็ นเชื้อเพลิง ก่ อให้ เกิด
     ่                   ่ี    ่             ้
  ไฟไหม้ ลุกลามเป็ นไฟป่ าอย่ างกว้ างขวางในป่ าประเภทนีเ้ สมอ แต่ เมือย่ างเข้ าฤดูฝน
                                                                      ่
  ต้ นไม้ ต่างๆก็จะออกดอก ออกใบ และไม้ พนล่างก็จะเจริญเติบโตอย่ างรวดเร็ว
                                               ื้
มีลักษณะเป็ นป่ าโปร่ ง ประกอบด้ วยต้ นไม้ ขนาดใหญ่ และขนาดกลาง
หลายชนิดบางแห่ งมีไม้ ไผ่ ชนิดต่ างๆขึนอยู่กระจัดกระจายทั่วไป พืนดิน
                                        ้                         ้
มักเป็ นดินร่ วนปนทรายในฤดูแล้ งต้ นไม้ ส่วนมากจะผลัดใบและมักจะ
เกิดไฟป่ าขึนลุกลามแทบทุกปี เมื่อเข้ าฤดูฝนต้ นไม้ จึงผลิใบและกลับเขียว
              ้
ชอุ่มเหมือนเดิมป่ าเบญจพรรณในภาคเหนือมักจะมีไม้ สักขึ้นปะปนอยู่
ทั่ ว ไปไม้ สั กที่ ขึ้ น อยู่ ตามธรร มชาติ ใ นป่ าเบญจพรรณนี้ จ ะมี
ครอบคลุ ม อาณาเขตลงมาถึ ง จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ใ นภาคกลางในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออกมีป่าเบญจพรรณอยู่น้อยและไม่
มีไ ม้ สักขึ้น อยู่ ในภาคใต้ มีป่ าเบญจพรรณขึ้น อยู่ น้ อยมากและกระจั ด
กระจาย เช่ น ระนอง สตูล และนครศรี ธรรมราชพันธุ์ไม้ ชนิดที่สาคัญ
ได้ แก่ สั ก ประดู่ แดง มะค่ าโมง ตะแบก เสลา อ้ อยช้ าง ยมหอม ยมหิน
มะเกลือ สมพง เก็ดดา ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีไม้ ไผ่ ที่สาคัญอีกหลายชนิด
เ ช่ น ไ ผ่ ป่ า ไ ผ่ ร ว ก ไ ผ่ ไ ร่ เ ป็ น ต้ น
ลักษณะทัวไปเป็ นป่ าโปร่ ง มีต้นไม้ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ขึนอยู่
            ่                                                                     ้
ปะปน และหญ้ าเพ็ก ซึ่งเป็ นไม้ ไผ่ ขนาดเล็กขึนอยู่ทวไป พืนทีแห้ งแล้ ง ดินร่ วนปน
                                                  ้     ั่          ้ ่
ทรายหรือกรวดลูกรัง ความอุดมสมบูรณ์ น้อย ต้ นไม้ แทบทั้งหมดผลัดใบและมัก
เกิดไฟไหม้ ป่าลุกลามทุกปี ป่ าเต็งรังมีอยู่ทั่วไป ทั้งในทีราบและทีภูเขาในภาคเหนือ
                                                           ่            ่
มักเกิดขึนในทีเ่ ขาซึ่งมีดนตืนและแห้ งแล้ งมากต้ นไม้ ทขึนอยู่จึงไม่ ค่อยเติบโตและมี
          ้               ิ ้                                ี่ ้
ขนาดเล็กแคระแกรน ป่ าจึงมักจะมีลกษณะโปร่ งมาก ถ้ าหากดินดีจะมีความชุ่ มชื้น
                                       ั
อยู่บ้าง ต้ นไม้ กมขนาดใหญ่ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีป่าแดงอยู่มากทีสุด และ
                     ็ ี                                                        ่
มักขึนอยู่บนเนินเขาหรือทีราบดินทราย ลักษณะป่ าจึงแน่ นทึบและสมบูรณ์ กว่ าป่ า
      ้                     ่
แดงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางแห่ งมีลกษณะค่ อนไปทางป่ าเบญจพรรณมาก
                                                ั
ชนิดพันธุ์ไม้ ทสาคัญในป่ าเต็งรัง ได้ แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง กราด ติว พะยอม แต้ ว
                  ่ี                                                      ้
มะค่ าแต้ ประดู่ แดง สมอไทย ตะแบกเลือด แสลงใจ รกฟา ฯลฯ ส่ วนไม้ พนล่ างที่
                                                                  ้          ื้
พบมากได้ แก่ มะพร้ าวเต่ า ปุ่ มเป้ ง หญ้ าเพ็ก และหญ้ าชนิดอืนๆ     ่
ป่ าผลัดใบแบบป่ าเต็งรังหรือป่ าโคก
ตะเคียนหนูและมะค่าโมง

       1.องค์ ประกอบทีมีชีวต(Biotic components)
                      ่ ิ                                                                                    นกกระทุง

            1.1 ผู้ผลิต (Producer) ได้ แก่ เต็ง รัง พลวง เหียง(ต้ นไผ่ ต้ นคูณ ต้ นประดู่ ต้ นสั ก)
            1.2 ผู้บริโภค(Consumer) ได้ แก่ กวาง เก้ ง เม่ น ตุ่น นกกระทุง
            1.3 ผู้ย่อยสลาย(Decomposer) ได้ แก่ เชื้อจุลนทรีย์จาพวกเชื้อรา แบคทีเรีย
                                                          ิ
                จานวนปานกลาง
       2. องค์ ประกอบทีไม่ มีชีวต(Abiotic components) ได้ แก่
                        ่       ิ
           * อุณหภูมสูงกว่ าระหว่ าง 65-95 . F
                    ิ
           *ปริมาณนาฝน(precipitation)เฉลียประมาณ 30 นิวต่ อปี
                      ้                       ่            ้
           *ความชื้นต่า(แสงส่ องถึงพืนดินมาก) *ดินมีธาตุอาหารต่า(สี แดง)
                                      ้                                                           ต้ นเต็ง
ป่ าหญ้ า ที่ อ ยู่ ทุ ก ภาคบริ เ วณป่ าที่ ถู ก แผ้ ว ถางท าลายบริ เ วณ
พืนดินที่ขาดความสมบูรณ์ และถูกทอดทิง หญ้ าชนิดต่ าง ๆ จึง
     ้                                               ้
เกิดขึนทดแทนและพอถึงหน้ าแล้ งก็เกิดไฟไหม้ ทาให้ ต้นไม้ บริ เวณ
        ้
ข้ างเคียงล้ มตาย พืนที่ป่าหญ้ าจึงขยายมากขึนทุกปี พืชที่พบมาก
                             ้                            ้
ที่สุดในป่ าหญ้ าก็คอ หญ้ าคา หญ้ าขนตาช้ าง หญ้ าโขมง หญ้ าเพ็ก
                        ื
และปุ่ มแปง บริเวณที่พอจะมีความชื้นอยู่บ้าง และการระบายน้าได้
            ้
ดี ก็ มั ก จะพบพงและแขมขึ้ น อยู่ และอาจพบต้ นไม้ ทนไฟ
ขึนอยู่ เช่ น ตับเต่ า รกฟาตานเหลือง ติวและแต้ ว
   ้                             ้                 ้
โครงสร้างระบบนิเวศทุ่งหญ้าเขตร้อน
                    สามารถสรุปได้ ดังนี้
1. กลุ่มสิ่ งมีชีวต จาแนกตามบทบาทและหน้าที่ สามารถจาแนกได้ 3
                  ิ
   กลุ่มกลุ่อมผู้ผลิต ได้แก่ ไม้ลมลุก ไม้พมและไม้ยนต้น เป็ นต้น
    1.1 คื                       ้        ุ่      ื
    1.2 กลุ่มผู้บริโภค เมื่อจาแนกตามอาหารที่บริ โภค สามารถจาแนกได้ 4 ประเภท
             - ผู้บริโภคพืช เช่น แรด จิงโจ้ ควายป่ า เป็ นต้น
             - ผู้บริโภคสั ตว์ เช่น สิ งโต สุ นขป่ า หม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็ นต้น
                                               ั
             - ผู้บริโภคพืชและสั ตว์ เช่น นกกระจอกเทศ เป็ นต้น
             - ผู้บริโภคซาก เช่น ไฮยีน่า เป็ นต้น
    1.3 กลุ่มผู้ย่อยสลาย เช่น เชื้อราดิน แบคทีเรี ย จุลินทรี ย ์
2. กลุ่มสิ่ งไม่ มชีวต เช่น ดิน แสง น้ าฝน เป็ นต้น
                  ี ิ
ป่ าประเภทนีได้ แก่ ป่ าซึ่งปรากฏเห็นเขียวชอุ่มตลอดปี แม้ พนธุ์ไม้
                   ้                                             ั
ชนิดต่ างๆทีขึนอยู่จะมีการทิงใบตามธรรมชาติ แต่ กเ็ ป็ นการทยอยล่วง
            ่ ้                ้
หล่น และเกิดใหม่ ทดแทนอยู่ตลอดเวลา ไม่ เห็นความแตกต่ างเหมือนใน
ป่ าประเภทผลัดใบ ป่ าประเภทนีมีอยู่ทวไปในประเทศไทยซึ่งอาจจะแยก
                                   ้    ่ั
ได้ ตามลักษณะเด่ นของป่ าได้ เป็ น 4 ชนิด คือ
ป่ าดงดิ บ มี อ ยู่ ทั่ ว ไปในทุ ก ภาคของประเทศ แต่ ที่ มี ม ากที่ สุ ด ได้ แ ก่ ภาคใต้ และภาค
ตะวันออกในบริเวณจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราดเพราะบริเวณนีฝนตกชุ กและมีความชุ่ มชื้น
                                                                           ้
มากในท้ องที่ภาคอื่นป่ าดงดิบมักกระจายตามบริเวณที่มีดนฟ้ าอากาศชุ่ มชื้นมาๆ เช่ น ตามหุบเขา
                                                          ิ
ริ มแม่ น้า ลาธาร ห้ วย แหล่ งน้า และบนภู เขาลักษณะของป่ าดงดิบโดยทั่วไป มักเป็ นป่ ารกทึบ
มองดูเขียวชอุ่มตลอดปี มีพันธุ์ไม้ หลายร้ อยชนิดขึนเบียดเสี ยดกันอยู่ ทั้งขนาดใหญ่ ขนาดกลาง
                                                      ้
และขนาดเล็ก ซึ่ งล้ วนแต่ เป็ นชนิดที่ไม่ ผลัดใบแทบทั้งสิ้ น ป่ าดงดิบในพื้นที่บางแห่ ง เช่ น ใน
ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ มีความชุ่ มชื้ นน้ อยกว่ าที่อื่นชนิดพันธุ์ ไม้ ที่ขึ้นอยู่จึง
แตกต่ างไปบ้ างเล็กน้ อย และป่ ามีลกษณะโปร่ งขึน เรียกกันว่ า ป่ าดิบแล้ งชนิดพันธุ์ไม้ ที่สาคัญและ
                                          ั        ้
มีคุณค่ าทางเศรษฐกิจในป่ าดงดิบมีมากมาย เช่ น ยาง ตะเคียน กระบาก เคี่ยม จาปาป่ า หลุมพอ
มะหาด มะม่ วงป่ า มะยมป่ า ตาเสื อ ฯลฯนอกจากนี้มีพันธุ์ไม้ ขนาดเล็กชนิดอื่นขึนปะปนอยู่ ซึ่ง้
เรี ย กว่ าไม้ พื้ น ล่ าง ได้ แก่ ไผ่ บงไผ่ หก ระก า กระวาน หวาย และเถาวั ล ย์ ชนิ ด ต่ างๆ
อี ก มากมาย ซึ่ งสามารถแยกออกเป็ นป่ าดงดิ บ ชนิ ด ต่ าง ๆ                                        ดั ง นี้
เป็ นป่ ารกทึบมองดูเขียวชอุ่มตลอดปี มีพนธุ์ไม้ หลายร้ อย
                                               ั
ชนิดขึนเบียดเสี ยดกันอยู่มักจะพบกระจัดกระจายตั้งแต่ ความสู ง
        ้
600 เมตร จากระดับนาทะเล ไม้ ทสาคัญก็คอ ไม้ ตระกูลยางต่ าง
                       ้            ี่       ื
ๆ เช่ น ยางนา ยางเสี ยน ส่ วนไม้ ช้ันรอง คือ พวกไม้
กอ เช่ น กอนา กอเดือย
                 ้
เป็ นป่ าทีอยู่ในพืนทีค่อนข้ างราบมีความชุ่ มชื้นน้ อย เช่ น ในแถบภาคเหนือและ
              ่       ้ ่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักอยู่สูงจากระดับนาทะเลประมาณ 300-600 เมตร ไม้ ที่
                                               ้
สาคัญได้ แก่ มะคาโมง ยางนา พยอม ตะเคียนแดง กระเบากลัก และตาเสื อ




        ป่ าชนิดนีเ้ กิดขึนในพืนทีสูง ๆ หรือบนภูเขาตั้งแต่ 1,000-1,200 เมตร ขึนไป
                          ้     ้ ่                                           ้
จากระดับนาทะเล ไม้ ส่วนมากเป็ นพวก Gymonosperm ได้ แก่ พวกไม้ ขุนและ
              ้
สนสามพันปี นอกจากนียงมีไม้ ตระกูลกอขึนอยู่ พวกไม้ ช้ันที่สองรองลงมา
                             ้ั               ้
ได้ แก่ เป้ ง สะเดาช้ าง และขมิน  ้
ป่ าสนเขาหรื อ ป่ าสนในประเทศไทยมั ก ปรากฏอยู่ ต ามภู เ ขาสู งจาก
ระดับน้าทะเลตั้งแต่ 700 ขึนไปป่ านิดนี้จึงมีมากทางภาคเหนือ ในภาคกลาง และ
                                   ้
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอยู่บ้างไม่ มากนัก และบางทีอาจปรากฏในที่ซึ่งมีระดับ
ความสู งจากระดับน้าทะเลเพียง 200-300 เมตรเท่ านั้นในภาคตะวันออกและภาคใต้
ตั้งแต่ จังหวัดชุ มพรลงไป ยังไม่ ปรากฏว่ าพบป่ าชนิดนี้ขึนอยู่ตามธรรมชาติป่าสน
                                                                     ้
โดยทั่ ว ไปมั ก จะขึ้น อยู่ ใ นที่ ที่ ดิ น ไม่ ค่ อ ยจะอุ ด มสมบู ร ณ์ นั ก มี ค วามเป็ นกรดสู ง
ลักษณะเป็ นป่ าโปร่ งไม่ ผลัดใบ ต้ นสนบางทีจะขึนอยู่เป็ นหมู่ล้วนๆ โดยไม่ มีต้นไม้
                                                             ้
ชนิดอื่นขึนอยู่ปะปน แต่ บางครั้ งอาจขึนกระจายเป็ นหย่ อมๆ หรื อขึนอยู่ปะปนกับ
            ้                                      ้                                ้
ชนิดพันธุ์ไม้ ของป่ าดงดิบเขา หรือป่ าเต็งรั งชนิดพันธุ์ไม้ ที่สาคัญของป่ าชนิดนี้ คือ
สนสองใบ และสนสามใบ ส่ วนต้ นไม้ ชนิดอื่นๆที่ขึนอยู่ด้วยกัน ไดแก่ จาพวกพันธุ์
                                                               ้
ไม้ ป่าดงดิบเขา เช่ น ก่ อชนิดต่ างๆ หรื อพันธุ์ไม้ ป่าเต็งรั งบางชนิด คือ เต็ง รั ง เหียง
พลวง เป็ นต้ น
โครงสร้ างระบบนิเวศป่ าสน
โครงสร้ างของระบบนิเวศป่ าสน
 (Coniferous Forest Ecosystem)
    มี 2 ส่ วน คือ
1. กลุ่มสิ่ งมีชีวต ซึ่งจาแนกตามบทบาท
                  ิ
    และหน้ าที่สามารถจาแนกได้ 3 กลุ่ม
    คือ
   1.1 ผู้ผลิต (Producer) ได้ แก่
        1. ไม้ สนสองใบ 2.สนสามใบ
1.2 ผู้บริโภค (Consumer) ซึ่งเมือจาแนก ่
    ตามอาหารทีบริโภคสามารถ จาแนกได้ 4
                     ่
    ประเภท คือ
       1.2.1 ผู้บริโภคพืช (Herbivore) ได้ แก่
            1.กระต่ ายป่ า 2.กระรอก 3.Caribou
       1.2.2 ผู้บริโภคสั ตว์ (Carnivore) ได้ แก่
          1. แมวป่ า 2.สุ นัขป่ า 3.หมี
       1.2.3 ผู้บริโภคทั้งพืชและสั ตว์
    (Omnivore)ได้ แก่ 1.นก
       1.2.4 ผู้บริโภคซาก(Scavenger) ได้ แก่
         1. หนอน
    1.3 ผู้ย่อยสลาย (Decomposer) ได้ แก่
         1.แบคทีเรีย
2. กลุ่มสิ่ งทีไม่ มชีวต ได้ แก่ 1. นา 2. ดิน 3.อากาศ
               ่ ี ิ                 ้
ป่ าชนิดนีมักปรากฏในบริเวณที่มีน้าจืดท่ วมมาก ๆ ดินระบายนาไม่ ดีป่าพรุ
                 ้                                                            ้
ในภาคกลาง              มีลัก ษณะโปร่ ง และมี ต้ นไม้ ขึ้นอยู่ ห่ าง ๆ    เช่ น     ครอ
เทียน สนุ่น จิก โมกบ้ าน หวายนา หวายโปร่ ง ระกา อ้ อ และแขม ในภาคใต้ ป่า
                                      ้
พรุ มีขึ้นอยู่ตามบริ เวณที่มีน้าขังตลอดปี ดินป่ าพรุ ที่มีเนื้อที่มากที่สุดอยู่ในบริ เวณ
จังหวัดนราธิวาสดินเป็ นพีท ซึ่งเป็ นซากพืชผุสลายทับถมกัน เป็ นเวลานานป่ าพรุ
แบ่ งออกได้ 2 ลักษณะ คือ ตามบริเวณซึ่งเป็ นพรุ นากร่ อยใกล้ ชายทะเลต้ นเสม็ดจะ
                                                        ้
ขึนอยู่หนาแน่ นพืนที่มีต้นกกชนิดต่ าง ๆ เรี ยก "ป่ าพรุ เสม็ด หรื อ ป่ าเสม็ด" อีก
  ้                  ้
ลักษณะเป็ นป่ าทีมพนธุ์ไม้ ต่าง ๆ มากชนิดขึนปะปนกัน
                   ่ ี ั                        ้

ชนิดพันธุ์ไม้ ที่สาคัญของป่ าพรุ ได้ แก่ อินทนิล นาหว้ า จิก โสกนา กระทุ่มนา
                                                  ้              ้         ้
ภันเกรา โงงงันกะทั่งหัน ไม้ พนล่ างประกอบด้ วย หวาย ตะค้ าทอง หมากแดง
                                ื้
แ ล ะ ห ม า ก ช นิ ด อื่ น                                                 ๆ
เป็ นป่ าโปร่ งไม่ ผลัดใบขึนอยู่ตามบริเวณหาดชายทะเล น้าไม่ ท่วม
                                ้
ตามฝั่ ง ดิ น และชายเขาริ ม ทะเล         ต้ น ไม้ ส าคัญ ที่ ขึ้น อยู่ ต ามหาด
ชายทะเล ต้ องเป็ นพืชทนเค็ม และมักมีลกษณะไม้ เป็ นพุ่มลักษณะต้ นคด
                                         ั
งอ ใบหนาแข็ง ได้ แก่ สนทะเล หูกวาง โพธิ์ทะเล กระทิง ตีนเป็ ด
ทะเล หยีน้า มักมีต้นเตยและหญ้ าต่ าง ๆ ขึนอยู่เป็ นไม้ พนล่ าง ตามฝั่ง
                                             ้                 ื้
ดินและชายเขา มักพบไม้ เกตลาบิด มะคาแต้ กระบองเพชร เสมา และ
ไม้ หนามชนิดต่ าง ๆ เช่ น ซิงซี่ หนามหัน กาจาย มะดันขอ เป็ นต้ น
ป่ าชายเลนบางทีเรียกว่ า ป่ าเลนน้าเค็ม หรือป่ าเลน หรือป่ าโกงกาง ลักษณะ
เป็ นป่ าไม่ ผ ลัด ใบ มี ต้ น ไม้ ขึ้น หนาแน่ น แต่ ล ะชนิ ด มี ร ากค้า ยัน และรากหายใจ
แตกต่ างกันไป ป่ าชนิดนี้ปรากฏอยู่ตามที่ดินเลนริ มทะเล หรื อบริ เวณปากแม่ น้า
ใหญ่ ๆ ซึ่ งมีน้าเค็มท่ วมถึง ตามชายทะเลภาคตะวันออก มีอยู่ทุกจังหวัด แต่ ที่มีมาก
ทีสุด คือ บริเวณปากแม่ นาเวฬุ อาเภอลุง จังหวัดจันทบุรี ในภาคใต้ มีอยู่ตามชายฝั่ง
  ่                            ้
ทะเลทั้ ง สองด้ า น ทั้ ง ชายฝั่ ง ด้ า นตะวั น ออกมี ช ายทะเลขึ้น อยู่ เ ป็ นแห่ ง ๆ ตั้ ง แต่
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ลงไปจนถึง จังหวัดปัตตานี ส่ วนชายฝั่งด้ านตะวันตกมีป่า
ชายเลนขึนอยู่อย่ างหนาแน่ น ตั้งแต่ จังหวัดระนอง ถึงจังหวัดสตูลพันธุ์ไม้ ที่ขึนอยู่
             ้                                                                         ้
ตาม ป่ าชายเลน ส่ วนมากเป็ นพันธุ์ไม้ ขนาดเล็ก ใช้ ประโยชน์ สาหรั บเผาถ่ าน และ
ทาฟื น พันธุ์ไม้ ชนิดที่สาคัญได้ แก่ โกงกาง ประสั ก ถั่วขาว ถั่วดา โปรง ตะบูน แสม
ทะเล ลาพูน และลาแพน ฯลฯส่ วนไม้ พืนล่ างมักเป็ นพวก ปรงทะเล เหงือกปลา
                                                ้
หมอ ปอทะเล และเป้ ง เป็ นต้ น
1.เป็ นส่ วนที่สาคัญมากส่ วนหนึ่งของวัฏจักร น้า ออกซิ เจน คาร์ บอน
  และไนโตรเจนในระบบนิเวศ ทาให้ เกิดความสมดุลแห่ งระบบด้ วย
  การหมุนเวียนเปลียนแปลงแร่ ธาตุและสสารในระบบนิเวศ
                    ่
2. ป่ าช่ วยในการอนุรักษ์ ดินและน้า เมื่อฝนตกน้าฝนบางส่ วนจะถูก
   ต้ นไม้ ในป่ าดูดซับไว้ แล้ วค่ อยๆ ปลดปล่ อยให้ ไหลลงสู่ ผวดิน อีก
                                                              ิ
   ส่ วนหนึ่งจะซึมลงสู่ ดินชั้นล่ าง สามารถลดการพังทลายของดิน
   ได้ ลดการกัดเซาะหน้ าดินทีอุดมสมบูรณ์ ปองกันการเกิดนาท่ วม
                                     ่          ้               ้
   ฉั บพลันและสามารถลดความรุ นแรงของการเกิดภาวะน้าท่ วม
   เนื่องจากต้ นไม้ ช่วยชะลอการไหลของนาบนผิวหน้ าดิน และการ
                                             ้
   มีป่าไม้ ปกคลุมดินจะช่ วยปองกันการกัดเซาะได้ ดีกว่ าปลูกพืช
                                   ้
   ชนิดอืน  ่
3. ช่ วยปรับสภาพบรรยากาศ เนื่องจากป่ าไม้ ช่วยเก็บรักษาความชุ่ มชื้น
  ในดินไว้ ร่ มเงาของป่ าช่ วยป้ องกันไม่ ให้ ความร้ อนจากดวงอาทิตย์
  ตกกระทบผิวดินโดยตรง บริ เวณป่ าไม้ จะมีน้าที่เกิดจากการระเหย
  จากใบและลาต้ น กลายเป็ นไอน้าในอากาศจานวนมาก อากาศเหนือ
  ป่ าไม้ จึงมีความชื้นมาก เมื่ออุณหภู มิอากาศลดลง ไอน้าจะกลั่นตัว
  เป็ นหยดน้าเกิดเป็ นเมฆจานวนมาก สุ ดท้ ายก่ อให้ เกิดฝนตกลงมาใน
  ป่ าที่มีต้นไม้ หนาแน่ นและส่ งผลให้ พนที่ใกล้ เคียงได้ รับน้าฝน และทา
                                        ื้
  ให้ สภาพอากาศที่ช่ ุ มชื้นแม้ กระทั่งในฤดูร้อน ดังนั้นพืนที่ที่มีป่าไม้
                                                              ้
  มาก เช่ น เขาใหญ่ ดอนอินทนนท์ ภูกระดึง เขาหลวง จะเห็นว่ ามีเมฆ
  ปกคลุมอยู่บนภูเขาและจะมีฝนตกมากกว่ าบริเวณข้ างล่ าง
4. ป่ าไม้ เป็ นแหล่ งต้ นน้าลาธาร ในบริ เวณที่ป่าไม้ มีความสมบูรณ์ ต้นไม้ มีรากลึกและ
   ชอนไชอยู่ในดิน อินทรี ย์วัตถุจากต้ นไม้ และสั ตว์ ป่าจะช่ วยปรั บโครงสร้ างของดิน
   ให้ มีรูพรุ นที่สามารถเก็บกักน้าได้ ดี น้าฝนที่ผ่านต้ นไม้ จะลงสู่ ดินในแนวดิ่งแล้ ว
   ค่ อยๆ ไหลซึ มกระจายไปตามรากที่แตกแขนงออกไปตามอนุภาคดิน รู พรุ นที่อยู่ใน
   ดินเฉพาะรู พรุ นขนาดเล็กในเม็ดดินนั้นสามารถกักเก็บน้าได้ มากกว่ า น้าหนักของ
   เม็ดดินแห้ งถึง 3-10 เท่ า และน้าที่กักเก็บไว้ น้ัน จะค่ อยๆ ปลดปล่ อยสู่ ช้ั นน้าใต้ ดิน
   เพือลงสู่ แหล่ งนาลาธาร ป่ าจึงเปรียบได้ กับฟองนาขนาดใหญ่ ที่ทาหน้ าที่ เป็ นแหล่ ง
       ่              ้                                 ้
   กักเก็บน้าตามธรรมชาติ ถ้ าป่ าเกิดในที่สูง น้าที่กักเก็บไว้ จะค่ อยๆ ซึ มลงมารวมกัน
   ตามหุ บเขา เกิดธารน้าเล็กๆ มากมาย และกาเนิดแม่ น้าลาธารที่สามารถมีน้าใช้ ได้
   ทุกฤดูกาล เป็ นต้ น
5. ป่ าไม้ เป็ นแหล่ งปั จจัยสี่ ป่ าไม้ เป็ นแหล่ งผลิต /ผู้ ผลิต ปั จจัยพื้นฐานต่ อการ
   ดารงชี พของมนุษย์ เมือง/ชุ มชนเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมที่สาคัญและ
   หาสิ่ งอื่นมาทดแทนมิได้ ป่ าไม้ มีความผูกพันต่ อความเป็ นอยู่จากอดีตจนถึง
   ปัจจุบัน ได้ แก่ การนาไม้ มาใช้ ใน การก่ อสร้ างบ้ านเรือน ที่อยู่อาศัย เป็ นเครื่อง
   ตกแต่ งบ้ าน ใช้ เ ป็ นเชื้ อเพลิงในการหุ งต้ มอาหาร ซึ่ งในเรื่ องอาหารมนุ ษ ย์
   ได้ รับจากป่ าโดยตรง เช่ น ได้ ส่วนของผล เมล็ด ใบ ดอก ลาต้ นเป็ นอาหาร และ
   ได้ รับน้าผึ้ง หรื อเนื้อสั ตว์ ป่าโดยทางอ้ อม สมุนไพรหรื อยาแผนโบราณที่ใช้
   รักษาโรค ส่ วนใหญ่ ได้ มาจากผลิตภัณฑ์ ของป่ าไม้ ได้ มการนาสมุนไพรจากป่ า
                                                                  ี
   มาดัดแปลง สกัดเอาส่ วนที่สาคัญ จากเปลือก ดอก ผล เมล็ด ราก นามาใช้ ใน
   การผลิตยารักษาโรคทีออกมาในรู ปของยาเม็ด ยานา หรือแคปซูล
                            ่                                  ้

6.เป็ นที่อ ยู่ อ าศั ย ของสั ต ว์ ป่ า ป่ าไม้ จั ด ว่ า เป็ นแหล่ ง ที่อ ยู่ อ าศั ย และหลบภัย ที่
  สาคัญทีสุดของสั ตว์ ป่า ซึ่งสั ตว์ เหล่ านีมความสาคัญต่ อมนุษย์ เช่ น เป็ นอาหาร
            ่                                        ้ ี
  ยารั กษาโรค ช่ วยขจัดแมลงและประดับป่ าไม้ ให้ เกิดความงดงาม การทาลาย
  พืนทีป่าจึงเสมือนทาลายสั ตว์ ป่าด้ วย
      ้ ่
7. เป็ นแนวป้ องกันลมพายุ เมื่อลมพายุ พัด มาปะทะพื้นที่ป่าไม้ ซึ่ งเป็ นสิ่ งกีด ขวาง
   ความเร็วและลมพายุจะลดลง ดังนั้น ลมพายุที่พดผ่ านแนวป่ าไม้ จะมีความเร็วน้ อย
                                                   ั
   กว่ าพัดผ่ านที่โล่ งแจ้ ง ช่ วยลดความเสี ยหายของสิ่ งก่ อสร้ าง ป่ าไม้ จึงเป็ นกาแพง
   ธรรมชาติทช่วยป้ องกันความรุ นแรงของลมพายุได้
                ่ี

8. ด้ านการพักผ่ อนหย่ อนใจ ธรรมชาติของป่ าไม้ จะเต็มไปด้ วยสี สัน ความเขียวชอุ่ม
   ร่ มเย็น ก่ อให้ เกิดความสบายตาเมื่อพบเห็น ความสดสวยงดงามของดอกไม้ ความ
   ชุ่ มชื้น นาในลาธารทีใสสะอาด ความเงียบสงบจากเสี ยงรบกวนของชุ มชน ความน่ า
              ้            ่
   ชมและน่ ารั กของสั ตว์ ป่า ทาให้ เขตป่ าไม้ เป็ นแหล่ งพักผ่ อนหย่ อนใจที่สาคัญอย่ าง
   หนึ่งของมนุษย์ ในช่ วงวันหยุดต่ างๆ จะพบเห็นประชาชนทั้งในท้ องถิ่นและในเมือง
   จ านวนมากเดิ น ทางไปเที่ ย วหรื อ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจในเขตอุ ท ยานแห่ ง ชาติ วน
   อุทยาน สวนพฤกษศาสตร์ สวนป่ า และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่า เป็ นต้ น ป่ าไม้ จึงเป็ น
   แหล่งท่ องเทียวทีสาคัญอย่ างหนึ่งไปด้ วย
                  ่ ่
9. ช่ ว ยลดมลพิษ ทางอากาศ เนื่ อ งจากป่ าไม้ เ ป็ นตั วช่ วยดู ดซั บคาร์ บ อนไดออกไซด์ เ พื่อ
   นาไปใช้ ในการสั งเคราะห์ อาหาร แล้ วปลดปล่ อยก๊ าซออกซิเจนมาให้ กับสิ่ งมีชีวิตอื่นๆ บน
   โลก สมดุลระหว่ างคาร์ บอนไดออกไซด์ และออกซิ เจนในอากาศจึงเกิดขึ้น และเป็ นที่
   ทราบกันดีอยู่แล้ วว่ า พืชในตระกูลสู งสามารถดู ดกลืนก๊ าซคาร์ บอนมอนอกไซด์ แล้ ว
   เปลี่ยนแปลงให้ เป็ นก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ปล่ อยออกสู่ บรรยากาศแล้ วจึงดึงกลับมาใช้
   ในการสั งเคราะห์ อาหารในเวลากลางวัน ดังนั้นจะเห็นได้ ว่าต้ นไม้ มีประโยชน์ มากในการ
   ช่ วยกาจัดคาร์ บอนมอนอกไซด์ และคาร์ บอนไดออกไซด์ ในบรรยากาศ ในเมืองใหญ่ ๆ ซึ่งมี
   แต่ ป่าคอนกรีตและไม่ ค่อยมีต้นไม้ อากาศในเมืองจึงมีปริมาณคาร์ บอนไดออกไซด์ สูง การ
   ปลูกต้ นไม้ มากๆ จะช่ วยลดปริมาณก๊ าซทั้งสองชนิดนีลงได้  ้
   **เนื่องจากป่ าไม้ สามารถเอืออานวยประโยชน์ ต่อประชาชนได้ ท้ังทางตรงและทางอ้ อม
                                 ้
   ดังที่กล่ าวมาแล้ ว การทาลายป่ าถือว่ าเป็ นการทาลายผลประโยชน์ ส่วนรวมของประชาชน
   ป่ าไม้ เมื่อถูกทาลายลงแล้ วยากที่จะฟื้ นฟูให้ กลับสู่ สภาพเดิมได้ ดังนั้นเพื่อประโยชน์ ของ
   เราเองและต่ อประเทศชาติโดยส่ วนรวม โปรดช่ วยดูแลรั กษาป่ าเพื่อให้ ป่านั้นๆ มีอยู่และ
   เอืออานวยประโยชน์ ตลอดไป
       ้
สรุปความสํ าคัญทรัพยากรป่าไม้
            ทีมตอมนุ ษยและสิ่ งแวดลอม
              ่ ี ่     ์          ้
1.  ให้ปัจจัยสี่ ทําให้มนุ ษยมีอาหาร        ์       ยารักษาโรค
    เครืองนุ่ งหม ทีอยูอาศัยแกมนุ ษยและสิ่ งมีชวตตางๆ
          ่       ่           ่ ่               ่ ์       ี ิ ่
2. ช่วยควบคุมอุณหภูมโลกไมให้สูงเกินไป จนกอให้เกิดมลพิษ
                                    ิ         ่              ่
    ความร้อน                   ภาวะเรือนกระจก(green house effect) โดย
    ป่าไม้จะเปลียนก๊าซคารบอนไดออกไซดให้เป็ นแป้งและ
                        ่                 ์           ์
    นํ้าตาล               โดยผานกระบวนการสั งเคราะหดวยแสง
                                  ่                         ์ ้          ทํา
    ให้รังสี ความรอนจากดวงอาทิตย ์ ไดแก่ รังสี UV บีและซี
                          ้                         ้
    สามารถแผกลับคืนสู่บรรยากาศได้ ส่งผลให้อุณหภูมของ
                      ่                                             ิ
    โลกไมเพิมขึน
               ่ ่ ้
3. รักษาความอุดมสมบูรณของทรัพยากรดินให้มีแรธาตุทสําคัญ
                                        ์                         ่   ี่
    ตอการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจากรากของตนไม้ในป่า
      ่                                                         ้
    ช่วยกักเก็บแรธาตุไวไมให้ถูกกระแสนํ้าและลมพัดพาไปสู่
                            ่         ้ ่
        ้ ่ ่ํ
    พืนทีตากวา      ่
4.       เ ป็ น แ ห ล ่ ง ที่ อ ยู่ อ า ศั ย ข อ ง สั ต ว ์ ป่ า น า น า ช นิ ด
   เพือเป็ นแหลงขยายพันธุสั ตวให้มีชนิด ปริมาณและสั ดส่วนใน
       ่             ่               ์    ์
   ระบบนิ เ วศที่เ หมาะสม ส่ งผลให้ ประสิ ทธิภ าพการถ่ายทอด
   สารอาหารและพลังงานสามารถถายทอดเป็ นไปตามกฎ 10่
   เปอรเซ็นต ์ ์
5. เป็ นแหลงเก็บรักษานํ้าไว้
                   ่                              ทําให้ไมเกิดปรากฏการณ์
                                                             ่
   นํ้าทวม เนื่องจากต้นไม้ในพืนทีป่าไม้จะสามารถเก็บนํ้าไว้ใน
             ่                              ้ ่
   ลําตน สํ าหรับนําใช้ในการลําเลียงอาหารไดในปริมาณทีมาก
           ้                                                   ้          ่
   เทียบเทากับแหลงนํ้าขนาดใหญ่
                 ่        ่
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3

More Related Content

What's hot

สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1Green Greenz
 
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีอ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีyah2527
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...Dr.Choen Krainara
 
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติการอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติวรรณา ไชยศรี
 
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาheroohm
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2Thai China
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่างวิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่างkruwongduan
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตyah2527
 
สไลด์ ความสำคัญของสิ่งแวดล้อม ป.2+436+dltvsocp2+55t2soc p02 f10-1page
สไลด์ ความสำคัญของสิ่งแวดล้อม ป.2+436+dltvsocp2+55t2soc p02 f10-1pageสไลด์ ความสำคัญของสิ่งแวดล้อม ป.2+436+dltvsocp2+55t2soc p02 f10-1page
สไลด์ ความสำคัญของสิ่งแวดล้อม ป.2+436+dltvsocp2+55t2soc p02 f10-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 

What's hot (15)

สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีอ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
 
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติการอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
 
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่างวิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
 
สไลด์ ความสำคัญของสิ่งแวดล้อม ป.2+436+dltvsocp2+55t2soc p02 f10-1page
สไลด์ ความสำคัญของสิ่งแวดล้อม ป.2+436+dltvsocp2+55t2soc p02 f10-1pageสไลด์ ความสำคัญของสิ่งแวดล้อม ป.2+436+dltvsocp2+55t2soc p02 f10-1page
สไลด์ ความสำคัญของสิ่งแวดล้อม ป.2+436+dltvsocp2+55t2soc p02 f10-1page
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 

Viewers also liked

Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงานJiraporn
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุJiraporn
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินJiraporn
 

Viewers also liked (7)

Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุ
 
Forest
ForestForest
Forest
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
 

Similar to แผ่นใสหน่วยที่ 3

สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นSompop Petkleang
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6supphawan
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออมzeenwine
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางพัน พัน
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003bussayamas Baengtid
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง ppt
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง pptโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง ppt
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง pptGot Lattavit
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางพัน พัน
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองFURD_RSU
 
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์srkschool
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5Thidaporn Kaewta
 

Similar to แผ่นใสหน่วยที่ 3 (20)

สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
 
04
0404
04
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง ppt
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง pptโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง ppt
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง ppt
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
 
3p
3p3p
3p
 
3p
3p3p
3p
 
3p
3p3p
3p
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
 

More from juejan boonsom

More from juejan boonsom (6)

Chap8
Chap8Chap8
Chap8
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
สารรอบตัวเรา ป3
สารรอบตัวเรา ป3สารรอบตัวเรา ป3
สารรอบตัวเรา ป3
 
Plan(7)
Plan(7)Plan(7)
Plan(7)
 
54101 engineer 3
54101 engineer 354101 engineer 3
54101 engineer 3
 
สารรอบตัวเรา ป3
สารรอบตัวเรา ป3สารรอบตัวเรา ป3
สารรอบตัวเรา ป3
 

แผ่นใสหน่วยที่ 3

  • 1. บทที่ 3 หลักการการอนุรักษ์ / การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่ งแวดล้ อมชนิดต่ างๆทีเ่ กิดขึนตาม ้ ธรรมชาติท้งที่มีชีวตและสิ่ งที่ไม่ มีชีวต ั ิ ิ ประเภททรัพยากรธรรมชาติ มี 3 ประเภท คือ 1. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้ไมหมด เช่น แสงอาทิตย ์ ่ อากาศ นํ้า 2. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทสามารถบํารุงรักษาใหมได้ เช่น ่ ดิน ป่าไม้ สั ตวป่า ์ 3. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แลวหมดหรือสิ้ นเปลือง เช่น ้ ้ แรธาตุ พลังงาน ทัศนียภาพ ่
  • 2. คาถาม 1. ทาไมมนุษย์ตองอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติหรื อ ้ สิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติท้ งที่มีชีวตและไม่มี ั ิ ชีวต??? ิ 2. เหตุผลที่ตองศึกษาทรัพยากรธรรมชาติและ ้ หลักการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
  • 3. ความสํ าคัญทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติมความสํ าคัญตอมนุ ษยเป็ นอยางมาก ดังนี้ ี ่ ์ ่ 1.มนุ ษ ย ใช้ ทรัพ ยากรธรรมชาติเ ป็ นปั จ จัย สี่ -ปั จ จัย ห้ าใน ์ การดํา รงชีว ต ของมนุ ษ ย ์ ิ มนุ ษ ย ไม่สามารถขาดทรัพ ยากร ์ เ ห ล ่ า นี้ ไ ด้ ดั ง นั้ น ม นุ ษ ย ์ จึ ง จํ า เ ป็ น ต้ อ ง รู้ จั ก วิ ธ ี ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ อ ย่ า ง ถู ก วิ ธี ห รื อ ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ทรัพ ยากรธรรมชาติ เพื่อ พัฒ นาคุ ณ ภาพชีวต มนุ ษ ย ให้ ดี ิ ์ ขึนตลอดไป แตปัจจุบนพบวาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของ ้ ่ ั ่ มนุ ษย ์ไม่ ถู ก ต้ อง ส่ งผลให้ ทรัพ ยากรธรรมชาติถู ก ทํ า ลาย มนุ ษยขาดปัจจัยสี่ –ปัจจัยห้า ์ 2. มนุษย์ กบทรัพยากรธรรมชาติมีความสั มพันธ์ กนแบบพึงพากันไม่ ั ั ่ สามารถแยกกันได้ (Symbiosis) ส่ งผลให้ มนุษย์ มคุณภาพชีวิตทีดท้ังทางร่ างกาย ี ่ ี อารมณ์ และจิตใจดี
  • 4. สาเหตุทต้องอนุ รกษ์ ่ี ั 2. ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิ ดทีใ ช้ ่ 3. ทรัพยากรธรรมชาติส่งเสริมให้เกิด แล้วสิ้ นเปลือง หรือเปลียนสภาพไปจาก ่ กา ร พั ฒ น า ท า ง ด้ า น เศ ร ษ ฐกิ จ เดิม ทําให้ไมสามารถนํ าทรัพยากรมา ่ ใช้ไดอีก ประกอบ ้ ห า ก ป ร ะ เ ท ศ ใ ด มี กับ มนุ ษย ์มี ค วามความจํ า ทรัพยากรธรรมชาติมาก ก็ส่งผล เ ป็ น ที่ ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ ให้เศรษฐกิจ ประเทศนั้น ดีตามไป ทรัพ ยากรธรรมชาติ เ พิ่ม ขึ้น ตาม ด้วย ดัง นั้น ประเทศมหาอํา นาจ อัตราการเพิมของมนุ ษย ์ และความ ่ ต่างๆพยายามที่จ ะหาทรัพ ยากร เจริญทางเทคโนโลยี แตมนุ ษยขาด ่ ์ จาก ประเทศทีด้อยพัฒนา เพือ ่ ่ ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ นํ าทรัพยากรธรรมชาติไปพัฒนา ความสํ าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศของตนให้สามารถอยู่ได้ และ ด้ วยตนเอง ดัง นั้ น จึ ง มี ก ารล่ า ผลกระทบที่อ าจจะเกิด จาก อ า ณ า นิ ค ม ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ การใช้ทรัพยากรไมถูกวิธ ี ประกอบ ่ มหาอํานาจเกิดขึน หรือ ้ กับการขาดการประชาสั มพันธ ์ ของหน่วยงานตางๆทังของ ้ ใช้ เทคนิ ค ต่างๆมากมาย ่ เพือยึดทรัพยากรทีตนเองต้องการ ่ ่ รัฐบาลและเอกชนอยางจริงจัง ่
  • 5. 4. ทรัพ ยากรธรรมชาติแ สดงออก ถึงความเจริญทางวัฒนธรรม หาก ประเทศใดมี ก ารใช้ ทรั พ ยากรอย่ างถู ก หลักการอนุ รกษแลว แสดงวาประเทศนั้นมี ั ์ ้ ่ วัฒนธรรมดี ทําให้ทรัพยากรตางๆสามารถ ่ ใช้ เป็ นปั จ จัย สี่ -ปั จ จัย ห้ าได้ ตลอดไปหรือ ใช้ไดแบบยังยืน ้ ่
  • 6. ผลกระทบทีเกิดขึนเนื่องจาก ่ ้ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติไมถูก่ หลักนิเวศวิทยาและหลักอนุ รกษวิทยา ั ์ หากมนุ ษยมีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติไมถูกหลักการแล้ว ยอมส่งผล ์ ่ ่ กระทบ ดังนี้ 1.ทรัพยากรธรรมชาติชนิดตางๆ (สิ่ งแวดลอม) รวมทังมนุ ษยก็จะไดรับ ่ ้ ้ ์ ้ ผลกระทบด้ วยแบบทวีคู ณ ส่ งผลให้ ระบบนิ เ วศชี ว มณฑลไม่สามารถ ทํา งานได้อย่างปกติ ยากที่จ ะปรับ ปรุง แก้ไขให้กลับ คืน สู่สภาพสมดุล ธรรมชาติดงเดิม ั ตัว อย่ างเช่ น การใช้ ทรัพ ยากรป่ าไม้ ไม่ ถู ก วิธ ี ย่ อมส่ งผล กระทบตอสิ่ งแวดล้อมอืนๆ ไดแก่ ่ ่ ้ *สั ตวป่าไมมีทอยูอาศั ย ์ ่ ี่ ่ *ทรัพยากรนํ้าเกิดปรากฏการนํ้าทวม ่ *ทรัพยากรอากาศมีอุณหภูมโลกสูงขึน ิ ้ *ทรัพยากรดินขาดความอุดมสมบูรณ ์ ไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโต ่ ่ ของพืชตางๆ ่ *มนุ ษยมีปัจจัยสี่ ไมเพียงพอ ์ ่
  • 7. ดังนั้นเราตองศึ กษาหลักการการอนุ รกษ์ และนําไปปฏิบต ิ ้ ั ั ในชีวตประจําวันตอไป ิ ่ แตการอนุ รกษ์ทรัพยากรธรรมชาติจะประสบความสํ าเร็ จ ่ ั ได้ นั้น ต้ องอาศั ย ความร่วมมือ กัน ของบุ ค คลหลายๆฝ่ าย คือ ภาครัฐบาล เอกชน และทีสําคัญตัวประชาชนเองต้องให้ความ ่ รวมมือเป็ นอยางดี ่ ่ โดยทุกองคกรรวมมือกันดําเนินการ ดังนี้ ์ ่ 1. การจัดตังชมรมหรือสมาคมเพืออนุรกษทรัพยากรธรรมชาติ ้ ่ ั ์ 2. การออกกฎหมายควบคุม โดยรัฐบาล 3. การให้การศึ กษาแกประชาชน เพือให้เขาใจถึงความสํ าคัญ ่ ่ ้ ผลกระทบและแนวทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอยางถูกวิธ ี ่ 4. การจัดตังหน่วยงานขึนรับผิดชอบเกียวกับทรัพยากรธรรมชาติ ้ ้ ่ เช่น กรมป่าไม้ กรมประมง เพือรับผิดชอบทรัพยากรป่าไม้ สั ตว ์ ่ นํ้า
  • 8. หลักการอนุ รกษทรัพยากรธรรมชาติ ั ์ แบบยังยืน ่ 1. การถนอม เช่น การเก็บรักษาดินในรูปของการปลูกคลุมดิน การกําหนดเขตพืนทีป่าไม้ ้ ่ 2. การบูรณะฟื้ นฟู(ปรับปรุง) เช่น ซ่อมแซมอุปกรณภายในบ้านให้มี ์ สภาพเดิม โดยยึดหลักนิเวศวิทยา สํ าหรับการจัดการสิ่ งแวดลม ้ แบบบูรณาการ 3. การนํามาใช้ใหม่ เช่น การนําแกวไปหลอมใหมเพือนํากลับมาใช้อีก ้ ่ ่ 4. การเพิมประสิ ทธิภาพในการใช้งาน เช่น ทาสี เหล็กทีนํามาสรางบานเพือ ่ ่ ้ ้ ่ ป้องกันสนิม 5. การนําสิ่ งอืนมาใช้ทดแทน เช่น การใช้ไฟเบอรแทนเหล็กในการ ่ ์ ประกอบรถยนต ์ 6. การสํ ารวจแหลงทรัพยากรธรรมชาติเพิมขึน เช่น การคนหาแหลง ่ ่ ้ ้ ่ พลังงานจากดวงอาทิตยแทนพลังงานจากนํ้ามัน ์ 7. การประดิษฐของเทียมขึนใช้ เช่น การใช้อัญมณีปลอมทดแทนเพชร ์ ้ 8. ประหยัด เช่น การใช้นํ้าเทาทีจาเป็ น ่ ่ ํ
  • 9. ั ความสัมพันธ์มนุษย์กบทรัพยากรธรรมชาติ (สิ่ งแวดล้อม) แบบบูรณาการ การใช้และการป้องกัน (แนวทางการพัฒนาทางวิทยาศาสตรสิ่ งแวดลอม) ์ ้ มนุ ษย ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ปัจจัยสี่ คุณภาพชีวตทีดี ิ ่ (มลพิษสิ่ งแวดลอม) ้ ผลกระทบ ของเสี ยหรือสารปนเปื้ อน
  • 10. จากเหตุผลข้างต้น มนุ ษยจึงต้องเรียนรู้วิธการใช้และ ์ ี การป้องกันหรือการอนุ รกษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้เข้าใจอยาง ั ่ แท้ จริง เพื่อ มนุ ษ ย จะได้ มีปัจ จัย สี่ ใช้ ตลอดไป ์ หากมนุ ษ ย ไม่ ์ เรี ย นรู้ วิธ ี ก ารใช้ ทรัพ ยากรธรรมชาติท ี่ ถู ก ต้ องแล้ วจะทํ า ให้ ทรัพยากรธรรมชาติมคุณสมบัตทเปลียนแปลงไป ดังนี้ ี ิ ี่ ่ 1.ทรัพยากรธรรมชาติจะมีของเสี ยหรือสารปนเปื้ อนตางๆ ่ ปนอยูในทรัพยากรธรรมชาติ ทําให้ทรัพยากรธรรมชาติน้ันๆ ่ เกิดเป็ นมลพิษสิ่ งแวดลอมขึน ส่งผลกระทบตอมนุ ษย ์ ้ ้ ่ 2.มนุ ษ ย์ จ ะได้ มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ ใ ช้ เ ป็ นปั จ จั ย สี่ แ ละปั จ จั ย ที่ห้ า ส่ งผลให้ มนุ ษย์ มีคุณภาพชี วิตที่ดีไม่ ต้องอาศั ยอยู่ในระบบนิเวศที่เป็ นมลพิษ สิ่ งแวดล้อม(สถานภาพวิกฤต)
  • 11. ความหมาย การอนุ ร ก ษ์ ทรัพ ยากรธรรมชาติ หมายถึง การเก็ บ ั การรัก ษา การบูร ณะฟื้ นฟู แ ละการใช้ ทรัพ ยากรธรรมชาติใ ห้ ถูกตองตามหลักการอนุ รกษเพือมนุ ษยจะไดมีทรัพยากรธรรมชาติ ้ ั ์ ่ ์ ้ ใช้ได้ตลอดไป โดยทีไมส่งผลกระทบตอมนุ ษยและสิ่ งแวดล้อม ่ ่ ่ ์ อืนๆ หรือส่งผลกระทบแบบทวีคูณตอมนุ ษยและสิ่ งแวดลอม ่ ่ ์ ้
  • 12. งาน 1. ให้ นักศึกษานาเสนอ Power Point เพือชี้ถึงความสาคัญของ ่ ทรัพยากรธรรมชาติ 2. แนวทางการใช้ และการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ เช่ น นา ดิน ป่ าไม้ ้ สั ตว์ ป่า ชายฝั่งทะเลและแนวปะการัง แร่ ธาตุและพลังงาน ป่ าชายเลน ให้ สอดคล้องกับหลักการอนุรักษวิทยา 3. นาเสนอ Power Point พร้ อมยกตัวอย่ างประกอบจากเหตุการณ์ ปัจจุบัน เพือ ่ แสดงถึงผลกระทบที่เกิดจากการใช้ / รักษาทรัพยากรธรรมชาติทไม่ สอดคล้อง ี่ กับหลักการอนุรักษวิทยา กลุ่มละ 10 นาที
  • 13. ทรัพยากรนํ้า ความสํ าคัญของนํ้า นํ้ามีความสํ าคัญตอมนุ ษยทังทางตรงและ ่ ์ ้ อ้อม ดังนี้ 1. เพือการอุปโภคบริโภคของมนุษยและสิ่ งมีชวตตางๆทีเป็ นองคประกอบใน ่ ์ ี ิ ่ ่ ์ ระบบนิเวศ ไดแก่ พืช สั ตวตางๆ โดยมนุษยจะเก็บนํ้าไว้ในรูป ้ ์ ่ ์ เขือน ฝาย หรือคลองระบายนํ้าเพือ ใช้สํ าหรับการเกษตร ่ ่ อุตสาหกรรม ผลิตกระแสไฟฟ้า การคมนาคมขนส่ง เป็ นแหลง ่ เพาะพันธุสั ตวนํ้าและนันทนาการ ์ ์ 2.การลําเลียงอาหารของกลุมสิ่ งมีชวตในระบบนิเวศ โดยนํ้าจะเป็ นตัวกลาง ่ ี ิ ทีจะนําอาหารจากแหลงผลิตไปเลียงส่วนตางๆในรางกาย ่ ่ ้ ่ ่ 3.ควบคุมอุณหภูมของโลก ไมให้มีอณหภูมของโลกทีสงจนเกินไป ิ ่ ุ ิ ่ ู เพือ ่ วากลุมสิ่ งมีชวตจะสามารถอาศัยอยูในระบบนิเวศของโลกไดอยาง ่ ่ ี ิ ่ ้ ่ ปกติ
  • 14. สาเหตุททาให้ ทรัพยากรนาเกิดปัญหาและผลกระทบ ี่ ้ 1.การขาดแคลนนา มีสาเหตุจากมนุษย์ ทาลายทรัพยากรป่ าไม้ ้ 1.1 ทาให้ วฏจักรการหมุนเวียนธาตุคาร์ บอนและ ั ไฮโดรเจนมีการหมุนเวียนแบบไม่ เป็ นวัฎจักร ฝนทิงช่ วงเป็ น ้ เวลานาน 1.2 มนุษย์ ขาดการวางแผนการใช้ นาระยะสั้ นและระยะยาว ้ 1.3 ป่ าไม้ ถูกทาลายในอัตราทีสูงขึนเรื่อยๆส่ งผลกระทบ ่ ้
  • 15. ผลกระทบ ปัญหาการขาดแคลนน้าจืด เปนปัญหาที่พบได้ ็ ทัวไปทังในเมืองและชนบท เปนปัญหาที่แพร่กระจายเปนวง ่ ้ ็ ็ กว้า ง และถึ ง ขั้น เรี ย กว่ า “ภัย แล้ง ” ปั ญหานี้ ในอนาคตจะ กลายเปนปัญหาที่น่าเปนห่วงมากขึ้น แม้ปัจจุบนเรามีน้าจาก ็ ็ ั ธรรมชาติ อยู่ม าก ก็ ย งเกิด ปั ญ หาสภาพการขาดแคลนน้ า ั ร ุนแรงในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะช่วงฤด ูแล้ง
  • 16. ผลกระทบการขาดแคลนน้า 1. ทาให้ ปริมาณนาเพือการอุปโภค บริโภคในระบบ ้ ่ 2. นิเวศลดน้ อยลงไม่ เพียงพอกับความต้ องการของกลุ่มสิ่ งมีชีวตที ิ เป็ นองค์ ประกอบในระบบนิเวศในอีก 5 ปี ข้ างหน้ า (2555) 3. สั ตว์ นาไม่ มีทอยู่อาศัย ้ ี่ 4. ดินขาดความชุ่มชื้น 5. อากาศแปรปรวน พายุโซนร้ อน โลกร้ อน 6. การคมนาคมไม่ สะดวก
  • 17. ปัญหาและผลกระทบ 2. การเกิดนาท่ วม มีสาเหตุจากการทีฝนตกหนักติดต่ อกันเป็ นเวลานาน เขื่อน ้ ่ ถูกทาลาย ระบบนิเวศมีปรากฏการเกิดภาวะเรือนกระจก การเกิดน้าท่วม อาจเกิดจากสาเหต ุหนึ่งหรือหลายสาเหต ุร่วมกันดังต่อไปนี้  น้าทะเลหน ุนสูงกว่าปกติ ทาให้น้าจากแผ่นดินระบายลงสู่ ทะเลไม่ได้  แหล่งเก็บกักน้าตื้นเขินหรือได้รบความเสียหาย จึงเก็บ ั น้าน้อยลง  ปาไม้ถกทาลายมาก ทาให้ไม่มีสิ่งใดจะช่วยด ูดซับน้า ่ ู ไว้  ภูมิประเทศเปนที่ลมและการระบายน้าไม่ดี ็ ุ่
  • 18. ผลกระทบ 1. กลุ่มสิ่ งมีชีวตทีเ่ ป็ นโครงสร้ างในระบบนิเวศ ได้ แก่ พืช สั ตว์ ิ และจุลนทรีย์ได้ รับความเสี ยหาย ิ 2. ทรัพยากรนาเกิดมลพิษนาสู งขึน ้ ้ ้ 3. นอกจากนีส่งผลให้ มีอตราการเกิดโรคระบาดสู ง ้ ั 4. ดินเกิดกษัยการอย่ างรุนแรง
  • 19. 3. นาขาดคุณภาพ มีสาเหตุมาจาก ้ นามีแร่ ธาตุ อินทรีย์สารแขวนลอยในนาในอัตราทีสูง ้ ้ ่ ส่ งผลกระทบทาให้ นามีสี กลิน รส นากระด้ างไม่ เหมาะต่ อการอุปโภคและ ้ ่ ้ บริโภค
  • 20. ค ุณภาพของน้าไม่เหมาะสม มีสาเหต ุ 1) การทิ้งสิ่งของและการระบายน้าทิ้งลงสูแหล่งน้า ทาให้แหล่งน้าสกปรก ่ และเน่าเหม็นจนไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ มักเกิดตามช ุมชนใหญ่ๆ ที่ อยูใกล้แหล่งน้า หรือท้องถิ่นที่มีโรงงานอ ุตสาหกรรม ่ 2) สิ่งที่ปกคล ุมผิวดินถูกชะล้างและไหลลงสูแหล่งน้ามากกว่าปกติ มี ่ ทังสารอินทรีย ์ สารอนินทรีย ์ และสารเคมีต่างๆ ที่ใช้ในกิจการต่างๆ ้ ซึ่งทาให้น้าขนได้ง่ายโดยเฉพาะในฤด ูฝน ุ่ 3) มีแร่ธาต ุเจือปนอยูมากจนไม่เหมาะแก่การใช้ประโยชน์ น้าที่มีแร่ธาต ุ ่ ปนอยูเกินกว่า 50 พีพีเอ็มนัน เมื่อนามาดื่มจะทาให้เกิดโรคนิ่วและโรค ่ ้ อื่นได้ 4) การใช้สารเคมีที่มีพิษตกค้าง เช่น สารที่ใช้ปองกันหรือกาจัด ้ ศัตรูพืชหรือสัตว์ ซึ่งเมื่อถูกฝนชะล้างลงสูแหล่งน้าจะก่อให้เกิด ่ อันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
  • 21. 5. ปัญหาการใช้ทรัพยากรน้าอย่างไม่เหมาะสม เช่น ใช้มากเกินความ จาเปนโดยเฉพาะเมื่อเกิดภาวะขาดแคลนน้า หรือการสูบน้าใต้ดินขึ้นมา ็ ใช้มากจนดินทร ุด เปนต้น ็ 6. ปัญหาความเปลี่ยนแปลงของฟาอากาศ เนื่องจากปรากฏการณ์เอล นิ ้ โน (El Nino) และลา นินา (La Nina) โดยปรากฏการณ์เอลนิโนเปน็ ปรากฏการณ์ที่ผิดธรรมชาติจะเกิดขึ้นประมาณ 5 ปต่อครัง นานครังละ ี ้ ้ 8 - 10 เดือน โดยกระแสน้าอนในมหาสมุทรแปซิฟกตะวันตกบริเวณเส้น ุ่ ิ ศูนย์สตรไหลย้อนกลับไปแทนที่กระแสน้าเย็นในมหาสมุทร แปซิฟก ู ิ ตะวันออกลงไปถึงชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ (ประเทศเปรู เอกวาดอร์ และชิลีตอนเหนือ) ทาให้ผิวน้าที่เคยเย็นกลับ อนขึ้นและที่เคยอนกลับเย็นลง ุ่ ุ่
  • 22. แนวทางอนุ รกษนํ้าแบบยังยืน ั ์ ่ 1. ถนอม โดยการจัดหานํ้าทีมคุณภาพให้เพียงพอกับการอุปโภคบริโภค ่ ี อุตสาหกรรม คมนาคม เป็ นตน โดยการสร้างเขือน อางเก็บนํ้า บอ ้ ่ ่ ่ สระ เพือเก็บถนอมทรัพยากรนํ้าไวใช้ไดนานๆ ่ ้ ้ 2. การปรับปรุง โดยการป้องกันการเกิดมลพิษนํ้า ดวยการออกกฎหมาย ้ ลงโทษผู้ทีกระทําความผิด ฝ่าฝื นอยางรุนแรง หรือตองทําการบําบัดนํ้า ่ ่ ้ ทุกครังทีมการใช้นํ้ากอนทีจะปลอยนํ้าลงสู่แหลงนํ้าตามธรรมชาติ เพือให้ ้ ่ ี ่ ่ ่ ่ ่ สอดคลองกับหลักการป้องกันแบบบูรณาการและสอดคลองกับหลัก ้ ้ นิเวศวิทยา ส่วนปัญหาการเกิดนํ้าทวม มีแนวทางอนุ รกษแบบยังยืน ่ ั ์ ่ โดยการ ปลูกป่าไมเพิมขึนเพือเก็บกักนํ้าไว้ในพืนดินหรือโดยการ สร้างเขือน ้ ่ ้ ่ ้ ่ 3. การนํานํ้ามาใช้ให้เกิดประโยชนสูงสุด เป็ นการใช้นํ้าเพือประโยชนหลายๆ ์ ่ ์ อยาง เช่นนําทีเช็ดบานสามารถนําไปรดนํ้าตนไม้ ่ ่ ้ ้
  • 23. ทรัพยากรดิน ความสาคัญของทรัพยากรดินทีมี ่ ต่ อมนุษย์ และสิ่ งแวดล้ อม 1. เป็ นแหล่ งที่ให้ ปัจจัยสี่ เช่ นอาหาร ยารั ก ษา โรค เครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม ที่อ ยู่ อ าศั ย แก่ ม นุ ษ ย์ แ ละ สิ่ งมีชีวตต่ างๆ ิ 2. เป็ นแหล่ งค้ า ยั น ให้ แก่ พื ช เพื่ อ ว่ าพื ช จะ สามารถดูดสารอาหารพวกอนินทรีย์สารหรือ ปุ๋ ยต่ างๆนาไปใช้ ในการเจริญเติบโตได้ 3. เป็ นแหล่ ง นั น ทนาการแก่ ม นุ ษ ย์ เช่ น แพะ เมื อ งผี ที่ จั ง หวั ด แพร่ เพื่ อ ใช้ เป็ นแหล่ ง พักผ่ อน ทาให้ ร่างกาย อารมณ์ และจิตใจของ มนุษย์ ดขน ี ึ้
  • 24. สาเหตุดนถูกทําลายและผลกระทบตอ ิ ่ มนุ ษยและสิ่ งแวดลอม ์ ้ 1.มนุ ษย ์ โดยทีมนุ ษยทําการปลูกพืชแบบ ่ ์ 2 . ธ ร ร ม ช า ติ ดิ น ที่ เ สื่ อ ม ส ภ า พ โ ด ย ซํ้า ซาก ทํา ไร่เลื่อ นลอย ใส่ ปุ๋ ยเคมี ธรรมชาติ เช่ น ดิน กรด ดิน ด ่ าง มากเกินไป ไมมีการปรับปรุงดินใน ่ ดิน ทราย ดิน พรุ เป็ นต้ น ซึ่ง มี ขณะที่ ใ ช้ ดิน ส่ งผลให้ คุ ณ ภาพดิน เพียง 20 เปอรเซ็ นตเทานั้น ส่งผล ์ ์ ่ ขาดความอุ ด มสมบู ร ณ ์ ไม่ เหมาะสม ให้ ประเทศต้ องสู ญ เสี ยทรัพ ยากรที่จ ะ ตอการเพาะปลูกพืชต่อไป ซึ่งสาเหตุ ่ ใ ช้ เ ป็ น ปั จ จั ย สี่ ม า ก ขึ้ น ห รื อ ใ ช้ นี้ ม ีป ริม าณมากถึง 80 เปอร เซ็ น ต ์ ์ ทรัพยากรไมเต็มทีน้นเอง ่ ่ ั ด้ ว ย กั น ทํ า ใ ห้ ม นุ ษ ย ์ มี ปั จ จั ย สี่ ไ ม่ – ดัง นั้ น เราควรปรับ ปรุ ง ดิน ที่ม ีปั ญ หา เพียงพอ นอกจากนี้ดนมีสารตกค้าง ิ ดั ง ก ล่ า ว ใ ห้ ส า ม า ร ถ ใ ห้ ผ ล ผ ลิ ต แ ก่ ได้แก่ ปรอท ตะกั่ว แคลเมีย ล ใน มนุ ษ ย ์ โดยใช้ หลัก การจัด การระบบ ระบบนิเวศสูงทําให้มนุ ษยเป็ นโรคมินา นิ เวศให้ สอดคล้ องกับ หลัก นิ เวศวิทยา ์ เพือทําให้องคประกอบของระบบนิเวศ ่ ์ มาตะ โรคอิไต- อิไต โรค ทัง ทีมชีวตและไม่มีชีวตสามารถแสดง ้ ่ ี ิ ิ ไขดํามากขึนเรือยๆ ้ ้ ่ บ ท บ า ท ห น้ า ที่ ต่ า ง ๆ ข อ ง ร ะ บ บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ ช่ น บ ท บ า ท ผู้ ผ ลิ ต ผู้ บริโ ภคและผู้ ย่อยสลาย ได้ อย่างมี ประสิ ทธิภ าพ นอกจากนี้ ม นุ ษ ย ต้ อง ์ ปรับปัจจัยทางกายภาพ (องคประกอบ ์ ที่ ไ ม่ มี ชี ว ิ ต ) ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม ต่ อ ก า ร เจริญเติบโตของพืชนั้นๆดวย ้
  • 25. แนวทางการอนุ รกษทรัพยากรดินแบบยังยืน ั ์ ่ โดยยึดหลักการอนุ รกษวิทยา ั ์ 1. ปรั บปรุ ง โดยการปรับปรุ งดินที่มีปัญหาตามธรรมชาติและมนุษย์ เป็ นสาเหตุให้ เกิดปัญหา เช่ น ดินเค็ม ดินเปรี้ยว ดินพรุ และดินที่มีสารพิษโลหะหนักปนเปื้ อน ให้ เหมาะสมต่ อการเพาะปลูก สาหรั บเป็ นแหล่ งอาหารสาหรั บการหมุนเวียนในระบบนิเวศ โดยมีแนวทางอนุ รักษ์ แบบยั่งยืน ดังนี้ 1.1. ดินเค็ม โดยการใส่ กรดกามะถันลงไปในดินเค็ม(pH มากกว่ า 7) เพือปรับ pH ดินให้ เป็ นกลาง ่ เหมาะสมต่ อการเพาะปลูกพืช 1.2 ดินเปรี้ยว โดยการใส่ ปูนขาวหรือปูนมาร์ ล ลงไปในดินทีเ่ ป็ นกรด (pH น้ อยกว่ า 7) 1.3 ดินพรุ โดยการใส่ ปูนขาวพร้ อมทั้งระบายนาตลอดเวลาสาหรับดินทีเ่ ป็ นดินพรุ (pH มากกว่ า 7) ้ 1.4 ดินทีมสารพิษโลหะหนักปนเปื้ อน หมายถึง ดินทีมสารปรอท ตะกัวปนเปื้ อนในดินมีการ ่ ี ่ ี ่ ปรับปรุ งดินก่ อนทาการเพาะปลูกโดยการใส่ ปูนขาวลงไปเพือปรับ pH ให้ เป็ นด่ างอ่ อนๆ สาหรับยับยั้ง ่ การดูดซึมปรอท ตะกัวสะสมในเนือเยือพืชทีใช้ เป็ นปัจจัยสี่ ของมนุษย์ ่ ้ ่ ่ 2. ถนอม โดยการปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชแบบขั้นบันได ปลูกพืชสลับแถว ปลูกพืชหมุนเวียน เพือ ่ รักษาธาตุอาหารในดินไม่ ให้ ถูกกัดเซาะโดยกระแสนาหรือ กระแสลม ้ 3. ทดแทน โดยการใช้ ดินเทียมสาหรั บปลูกพืชในบริ เวณที่มีพืนที่ดินจากัด เช่ น การใช้ ดินเทียม ้ ส า ห รั บ ป ลู ก ต้ น ไ ม้ ใ น เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร เ พื่ อ ฟ อ ก อ า ก า ศ เ สี ย ใ ห้ ม นุ ษ ย์ .
  • 26. คาถาม 1. การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชแบบขั้นบันได การปลูกพืชสลับแถว และการปลูกพืชหมุนเวียน ช่ วยในการอนุรักษ์ ดนได้ อย่ างไร ิ 2. การปลูกพืชสลับแถวกับการปลูกพืชหมุนเวียนมี ความแตกต่ างกันอย่ างไร
  • 27. เฉลย 1. การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชแบบขั้นบันได การปลูกพืชสลับแถว และ การปลูกพืชหมุนเวียน ช่ วยในการอนุรักษ์ ดิน โดยพืชที่ปลูกแบบต่ างๆ จะช่ วย ป้ องกันไม่ ให้ ธาตุ อาหารบนดิน (nutrients) ถู กพัดพาโดยธรรมชาติ ได้ แก่ กระแสลม กระแสน้า ทาให้ ผ้ ู ผลิต(ต้ นไม้ )ชนิ ดต่ างๆสามารถเจริ ญเติบโตได้ ระบบนิ เ วศสามารถให้ ปั จ จั ย สี่ แ ละปั จ จั ย ห้ า แก่ ก ลุ่ ม สิ่ ง มี ชี วิ ต ได้ แ ก่ ผู้ ผ ลิ ต ผู้บริ โภคและผู้ย่อยสลาย ซึ่ งเป็ นโครงสร้ างในระบบนิเวศได้ อย่ างเพียงพอกับ ความต้ องการ 2. ปลูกพืชสลับแถวเป็ นการปลูกพืชมากกว่ าหนึ่งชนิด ในพืนที่และเวลาเดียวกัน ส่ วนปลูกพืชหมุนเวียนเป็ น ้ การปลูกพืชเพียงชนิดเดียวในพืนทีเ่ ดียว แต่ กนละเวลากัน ้ ั
  • 28. ทรัพยากรป่าไม้ ประเภทป่ าไม้ ของประเทศไทยมี 2 ซึ่งป่าไมทังสองประเภทมีเอกลักษณ ์ ้ ้ ประเภท คือ ของกลุมสิ่ งมีชวตกลุมพืช ่ ี ิ ่ สั ตว ์ และผู้ยอยสลายและกลุม ่ ่ 1. ป่ าไม่ ผลัดใบ เช่ น ป่ าดิบเขา ป่ าสน สิ่ งไมมีชวตทีเป็ นองคประกอบของ ่ ี ิ ่ ์ ป่ าดิบแล้ ง ป่ าดงดิบชื้น ป่ าพรุ ระบบนิเวศแตกตางกัน ดังนี้ ่ ป่ าชายหาด ป่ าชายเลน 2. ป่ าผลัดใบ เช่ น ป่ าเบญจพรรณ ป่ าเต็งรัง
  • 29. ชนิดของป่ าในประเทศไทย ป่ าไม้ ในประเทศไทยเป็ นป่ าในเขตร้ อน ( Tropical Forest ) มีพชพันธุ์ ื มากมายหลายชนิด ซึ่งหากแบ่ งเป็ นประเภทใหญ่ ๆแล้ว จะแบ่ งออกได้ เป็ น 2 ประเภท คือ 1. ป่ าประเภทผลัดใบ ( Deciduous Forest ) ป่ าประเภทนี้ ประกอบด้ วยพันธุ์ไม้ ทมกจะผลัดใบพร้ อมๆกันในฤดูแล้ ง ใบไม้ ี่ ั ทีร่วงหล่ น และไม้ ทล้มลุกทีคลุมอยู่บนพืนดินมักจะกลายเป็ นเชื้อเพลิง ก่ อให้ เกิด ่ ่ี ่ ้ ไฟไหม้ ลุกลามเป็ นไฟป่ าอย่ างกว้ างขวางในป่ าประเภทนีเ้ สมอ แต่ เมือย่ างเข้ าฤดูฝน ่ ต้ นไม้ ต่างๆก็จะออกดอก ออกใบ และไม้ พนล่างก็จะเจริญเติบโตอย่ างรวดเร็ว ื้
  • 30. มีลักษณะเป็ นป่ าโปร่ ง ประกอบด้ วยต้ นไม้ ขนาดใหญ่ และขนาดกลาง หลายชนิดบางแห่ งมีไม้ ไผ่ ชนิดต่ างๆขึนอยู่กระจัดกระจายทั่วไป พืนดิน ้ ้ มักเป็ นดินร่ วนปนทรายในฤดูแล้ งต้ นไม้ ส่วนมากจะผลัดใบและมักจะ เกิดไฟป่ าขึนลุกลามแทบทุกปี เมื่อเข้ าฤดูฝนต้ นไม้ จึงผลิใบและกลับเขียว ้ ชอุ่มเหมือนเดิมป่ าเบญจพรรณในภาคเหนือมักจะมีไม้ สักขึ้นปะปนอยู่ ทั่ ว ไปไม้ สั กที่ ขึ้ น อยู่ ตามธรร มชาติ ใ นป่ าเบญจพรรณนี้ จ ะมี ครอบคลุ ม อาณาเขตลงมาถึ ง จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ใ นภาคกลางในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออกมีป่าเบญจพรรณอยู่น้อยและไม่ มีไ ม้ สักขึ้น อยู่ ในภาคใต้ มีป่ าเบญจพรรณขึ้น อยู่ น้ อยมากและกระจั ด กระจาย เช่ น ระนอง สตูล และนครศรี ธรรมราชพันธุ์ไม้ ชนิดที่สาคัญ ได้ แก่ สั ก ประดู่ แดง มะค่ าโมง ตะแบก เสลา อ้ อยช้ าง ยมหอม ยมหิน มะเกลือ สมพง เก็ดดา ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีไม้ ไผ่ ที่สาคัญอีกหลายชนิด เ ช่ น ไ ผ่ ป่ า ไ ผ่ ร ว ก ไ ผ่ ไ ร่ เ ป็ น ต้ น
  • 31. ลักษณะทัวไปเป็ นป่ าโปร่ ง มีต้นไม้ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ขึนอยู่ ่ ้ ปะปน และหญ้ าเพ็ก ซึ่งเป็ นไม้ ไผ่ ขนาดเล็กขึนอยู่ทวไป พืนทีแห้ งแล้ ง ดินร่ วนปน ้ ั่ ้ ่ ทรายหรือกรวดลูกรัง ความอุดมสมบูรณ์ น้อย ต้ นไม้ แทบทั้งหมดผลัดใบและมัก เกิดไฟไหม้ ป่าลุกลามทุกปี ป่ าเต็งรังมีอยู่ทั่วไป ทั้งในทีราบและทีภูเขาในภาคเหนือ ่ ่ มักเกิดขึนในทีเ่ ขาซึ่งมีดนตืนและแห้ งแล้ งมากต้ นไม้ ทขึนอยู่จึงไม่ ค่อยเติบโตและมี ้ ิ ้ ี่ ้ ขนาดเล็กแคระแกรน ป่ าจึงมักจะมีลกษณะโปร่ งมาก ถ้ าหากดินดีจะมีความชุ่ มชื้น ั อยู่บ้าง ต้ นไม้ กมขนาดใหญ่ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีป่าแดงอยู่มากทีสุด และ ็ ี ่ มักขึนอยู่บนเนินเขาหรือทีราบดินทราย ลักษณะป่ าจึงแน่ นทึบและสมบูรณ์ กว่ าป่ า ้ ่ แดงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางแห่ งมีลกษณะค่ อนไปทางป่ าเบญจพรรณมาก ั ชนิดพันธุ์ไม้ ทสาคัญในป่ าเต็งรัง ได้ แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง กราด ติว พะยอม แต้ ว ่ี ้ มะค่ าแต้ ประดู่ แดง สมอไทย ตะแบกเลือด แสลงใจ รกฟา ฯลฯ ส่ วนไม้ พนล่ างที่ ้ ื้ พบมากได้ แก่ มะพร้ าวเต่ า ปุ่ มเป้ ง หญ้ าเพ็ก และหญ้ าชนิดอืนๆ ่
  • 32. ป่ าผลัดใบแบบป่ าเต็งรังหรือป่ าโคก ตะเคียนหนูและมะค่าโมง 1.องค์ ประกอบทีมีชีวต(Biotic components) ่ ิ นกกระทุง 1.1 ผู้ผลิต (Producer) ได้ แก่ เต็ง รัง พลวง เหียง(ต้ นไผ่ ต้ นคูณ ต้ นประดู่ ต้ นสั ก) 1.2 ผู้บริโภค(Consumer) ได้ แก่ กวาง เก้ ง เม่ น ตุ่น นกกระทุง 1.3 ผู้ย่อยสลาย(Decomposer) ได้ แก่ เชื้อจุลนทรีย์จาพวกเชื้อรา แบคทีเรีย ิ จานวนปานกลาง 2. องค์ ประกอบทีไม่ มีชีวต(Abiotic components) ได้ แก่ ่ ิ * อุณหภูมสูงกว่ าระหว่ าง 65-95 . F ิ *ปริมาณนาฝน(precipitation)เฉลียประมาณ 30 นิวต่ อปี ้ ่ ้ *ความชื้นต่า(แสงส่ องถึงพืนดินมาก) *ดินมีธาตุอาหารต่า(สี แดง) ้ ต้ นเต็ง
  • 33. ป่ าหญ้ า ที่ อ ยู่ ทุ ก ภาคบริ เ วณป่ าที่ ถู ก แผ้ ว ถางท าลายบริ เ วณ พืนดินที่ขาดความสมบูรณ์ และถูกทอดทิง หญ้ าชนิดต่ าง ๆ จึง ้ ้ เกิดขึนทดแทนและพอถึงหน้ าแล้ งก็เกิดไฟไหม้ ทาให้ ต้นไม้ บริ เวณ ้ ข้ างเคียงล้ มตาย พืนที่ป่าหญ้ าจึงขยายมากขึนทุกปี พืชที่พบมาก ้ ้ ที่สุดในป่ าหญ้ าก็คอ หญ้ าคา หญ้ าขนตาช้ าง หญ้ าโขมง หญ้ าเพ็ก ื และปุ่ มแปง บริเวณที่พอจะมีความชื้นอยู่บ้าง และการระบายน้าได้ ้ ดี ก็ มั ก จะพบพงและแขมขึ้ น อยู่ และอาจพบต้ นไม้ ทนไฟ ขึนอยู่ เช่ น ตับเต่ า รกฟาตานเหลือง ติวและแต้ ว ้ ้ ้
  • 34. โครงสร้างระบบนิเวศทุ่งหญ้าเขตร้อน สามารถสรุปได้ ดังนี้ 1. กลุ่มสิ่ งมีชีวต จาแนกตามบทบาทและหน้าที่ สามารถจาแนกได้ 3 ิ กลุ่มกลุ่อมผู้ผลิต ได้แก่ ไม้ลมลุก ไม้พมและไม้ยนต้น เป็ นต้น 1.1 คื ้ ุ่ ื 1.2 กลุ่มผู้บริโภค เมื่อจาแนกตามอาหารที่บริ โภค สามารถจาแนกได้ 4 ประเภท - ผู้บริโภคพืช เช่น แรด จิงโจ้ ควายป่ า เป็ นต้น - ผู้บริโภคสั ตว์ เช่น สิ งโต สุ นขป่ า หม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็ นต้น ั - ผู้บริโภคพืชและสั ตว์ เช่น นกกระจอกเทศ เป็ นต้น - ผู้บริโภคซาก เช่น ไฮยีน่า เป็ นต้น 1.3 กลุ่มผู้ย่อยสลาย เช่น เชื้อราดิน แบคทีเรี ย จุลินทรี ย ์ 2. กลุ่มสิ่ งไม่ มชีวต เช่น ดิน แสง น้ าฝน เป็ นต้น ี ิ
  • 35. ป่ าประเภทนีได้ แก่ ป่ าซึ่งปรากฏเห็นเขียวชอุ่มตลอดปี แม้ พนธุ์ไม้ ้ ั ชนิดต่ างๆทีขึนอยู่จะมีการทิงใบตามธรรมชาติ แต่ กเ็ ป็ นการทยอยล่วง ่ ้ ้ หล่น และเกิดใหม่ ทดแทนอยู่ตลอดเวลา ไม่ เห็นความแตกต่ างเหมือนใน ป่ าประเภทผลัดใบ ป่ าประเภทนีมีอยู่ทวไปในประเทศไทยซึ่งอาจจะแยก ้ ่ั ได้ ตามลักษณะเด่ นของป่ าได้ เป็ น 4 ชนิด คือ
  • 36. ป่ าดงดิ บ มี อ ยู่ ทั่ ว ไปในทุ ก ภาคของประเทศ แต่ ที่ มี ม ากที่ สุ ด ได้ แ ก่ ภาคใต้ และภาค ตะวันออกในบริเวณจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราดเพราะบริเวณนีฝนตกชุ กและมีความชุ่ มชื้น ้ มากในท้ องที่ภาคอื่นป่ าดงดิบมักกระจายตามบริเวณที่มีดนฟ้ าอากาศชุ่ มชื้นมาๆ เช่ น ตามหุบเขา ิ ริ มแม่ น้า ลาธาร ห้ วย แหล่ งน้า และบนภู เขาลักษณะของป่ าดงดิบโดยทั่วไป มักเป็ นป่ ารกทึบ มองดูเขียวชอุ่มตลอดปี มีพันธุ์ไม้ หลายร้ อยชนิดขึนเบียดเสี ยดกันอยู่ ทั้งขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ้ และขนาดเล็ก ซึ่ งล้ วนแต่ เป็ นชนิดที่ไม่ ผลัดใบแทบทั้งสิ้ น ป่ าดงดิบในพื้นที่บางแห่ ง เช่ น ใน ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ มีความชุ่ มชื้ นน้ อยกว่ าที่อื่นชนิดพันธุ์ ไม้ ที่ขึ้นอยู่จึง แตกต่ างไปบ้ างเล็กน้ อย และป่ ามีลกษณะโปร่ งขึน เรียกกันว่ า ป่ าดิบแล้ งชนิดพันธุ์ไม้ ที่สาคัญและ ั ้ มีคุณค่ าทางเศรษฐกิจในป่ าดงดิบมีมากมาย เช่ น ยาง ตะเคียน กระบาก เคี่ยม จาปาป่ า หลุมพอ มะหาด มะม่ วงป่ า มะยมป่ า ตาเสื อ ฯลฯนอกจากนี้มีพันธุ์ไม้ ขนาดเล็กชนิดอื่นขึนปะปนอยู่ ซึ่ง้ เรี ย กว่ าไม้ พื้ น ล่ าง ได้ แก่ ไผ่ บงไผ่ หก ระก า กระวาน หวาย และเถาวั ล ย์ ชนิ ด ต่ างๆ อี ก มากมาย ซึ่ งสามารถแยกออกเป็ นป่ าดงดิ บ ชนิ ด ต่ าง ๆ ดั ง นี้
  • 37. เป็ นป่ ารกทึบมองดูเขียวชอุ่มตลอดปี มีพนธุ์ไม้ หลายร้ อย ั ชนิดขึนเบียดเสี ยดกันอยู่มักจะพบกระจัดกระจายตั้งแต่ ความสู ง ้ 600 เมตร จากระดับนาทะเล ไม้ ทสาคัญก็คอ ไม้ ตระกูลยางต่ าง ้ ี่ ื ๆ เช่ น ยางนา ยางเสี ยน ส่ วนไม้ ช้ันรอง คือ พวกไม้ กอ เช่ น กอนา กอเดือย ้
  • 38. เป็ นป่ าทีอยู่ในพืนทีค่อนข้ างราบมีความชุ่ มชื้นน้ อย เช่ น ในแถบภาคเหนือและ ่ ้ ่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักอยู่สูงจากระดับนาทะเลประมาณ 300-600 เมตร ไม้ ที่ ้ สาคัญได้ แก่ มะคาโมง ยางนา พยอม ตะเคียนแดง กระเบากลัก และตาเสื อ ป่ าชนิดนีเ้ กิดขึนในพืนทีสูง ๆ หรือบนภูเขาตั้งแต่ 1,000-1,200 เมตร ขึนไป ้ ้ ่ ้ จากระดับนาทะเล ไม้ ส่วนมากเป็ นพวก Gymonosperm ได้ แก่ พวกไม้ ขุนและ ้ สนสามพันปี นอกจากนียงมีไม้ ตระกูลกอขึนอยู่ พวกไม้ ช้ันที่สองรองลงมา ้ั ้ ได้ แก่ เป้ ง สะเดาช้ าง และขมิน ้
  • 39. ป่ าสนเขาหรื อ ป่ าสนในประเทศไทยมั ก ปรากฏอยู่ ต ามภู เ ขาสู งจาก ระดับน้าทะเลตั้งแต่ 700 ขึนไปป่ านิดนี้จึงมีมากทางภาคเหนือ ในภาคกลาง และ ้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอยู่บ้างไม่ มากนัก และบางทีอาจปรากฏในที่ซึ่งมีระดับ ความสู งจากระดับน้าทะเลเพียง 200-300 เมตรเท่ านั้นในภาคตะวันออกและภาคใต้ ตั้งแต่ จังหวัดชุ มพรลงไป ยังไม่ ปรากฏว่ าพบป่ าชนิดนี้ขึนอยู่ตามธรรมชาติป่าสน ้ โดยทั่ ว ไปมั ก จะขึ้น อยู่ ใ นที่ ที่ ดิ น ไม่ ค่ อ ยจะอุ ด มสมบู ร ณ์ นั ก มี ค วามเป็ นกรดสู ง ลักษณะเป็ นป่ าโปร่ งไม่ ผลัดใบ ต้ นสนบางทีจะขึนอยู่เป็ นหมู่ล้วนๆ โดยไม่ มีต้นไม้ ้ ชนิดอื่นขึนอยู่ปะปน แต่ บางครั้ งอาจขึนกระจายเป็ นหย่ อมๆ หรื อขึนอยู่ปะปนกับ ้ ้ ้ ชนิดพันธุ์ไม้ ของป่ าดงดิบเขา หรือป่ าเต็งรั งชนิดพันธุ์ไม้ ที่สาคัญของป่ าชนิดนี้ คือ สนสองใบ และสนสามใบ ส่ วนต้ นไม้ ชนิดอื่นๆที่ขึนอยู่ด้วยกัน ไดแก่ จาพวกพันธุ์ ้ ไม้ ป่าดงดิบเขา เช่ น ก่ อชนิดต่ างๆ หรื อพันธุ์ไม้ ป่าเต็งรั งบางชนิด คือ เต็ง รั ง เหียง พลวง เป็ นต้ น
  • 40. โครงสร้ างระบบนิเวศป่ าสน โครงสร้ างของระบบนิเวศป่ าสน (Coniferous Forest Ecosystem) มี 2 ส่ วน คือ 1. กลุ่มสิ่ งมีชีวต ซึ่งจาแนกตามบทบาท ิ และหน้ าที่สามารถจาแนกได้ 3 กลุ่ม คือ 1.1 ผู้ผลิต (Producer) ได้ แก่ 1. ไม้ สนสองใบ 2.สนสามใบ
  • 41. 1.2 ผู้บริโภค (Consumer) ซึ่งเมือจาแนก ่ ตามอาหารทีบริโภคสามารถ จาแนกได้ 4 ่ ประเภท คือ 1.2.1 ผู้บริโภคพืช (Herbivore) ได้ แก่ 1.กระต่ ายป่ า 2.กระรอก 3.Caribou 1.2.2 ผู้บริโภคสั ตว์ (Carnivore) ได้ แก่ 1. แมวป่ า 2.สุ นัขป่ า 3.หมี 1.2.3 ผู้บริโภคทั้งพืชและสั ตว์ (Omnivore)ได้ แก่ 1.นก 1.2.4 ผู้บริโภคซาก(Scavenger) ได้ แก่ 1. หนอน 1.3 ผู้ย่อยสลาย (Decomposer) ได้ แก่ 1.แบคทีเรีย 2. กลุ่มสิ่ งทีไม่ มชีวต ได้ แก่ 1. นา 2. ดิน 3.อากาศ ่ ี ิ ้
  • 42. ป่ าชนิดนีมักปรากฏในบริเวณที่มีน้าจืดท่ วมมาก ๆ ดินระบายนาไม่ ดีป่าพรุ ้ ้ ในภาคกลาง มีลัก ษณะโปร่ ง และมี ต้ นไม้ ขึ้นอยู่ ห่ าง ๆ เช่ น ครอ เทียน สนุ่น จิก โมกบ้ าน หวายนา หวายโปร่ ง ระกา อ้ อ และแขม ในภาคใต้ ป่า ้ พรุ มีขึ้นอยู่ตามบริ เวณที่มีน้าขังตลอดปี ดินป่ าพรุ ที่มีเนื้อที่มากที่สุดอยู่ในบริ เวณ จังหวัดนราธิวาสดินเป็ นพีท ซึ่งเป็ นซากพืชผุสลายทับถมกัน เป็ นเวลานานป่ าพรุ แบ่ งออกได้ 2 ลักษณะ คือ ตามบริเวณซึ่งเป็ นพรุ นากร่ อยใกล้ ชายทะเลต้ นเสม็ดจะ ้ ขึนอยู่หนาแน่ นพืนที่มีต้นกกชนิดต่ าง ๆ เรี ยก "ป่ าพรุ เสม็ด หรื อ ป่ าเสม็ด" อีก ้ ้ ลักษณะเป็ นป่ าทีมพนธุ์ไม้ ต่าง ๆ มากชนิดขึนปะปนกัน ่ ี ั ้ ชนิดพันธุ์ไม้ ที่สาคัญของป่ าพรุ ได้ แก่ อินทนิล นาหว้ า จิก โสกนา กระทุ่มนา ้ ้ ้ ภันเกรา โงงงันกะทั่งหัน ไม้ พนล่ างประกอบด้ วย หวาย ตะค้ าทอง หมากแดง ื้ แ ล ะ ห ม า ก ช นิ ด อื่ น ๆ
  • 43. เป็ นป่ าโปร่ งไม่ ผลัดใบขึนอยู่ตามบริเวณหาดชายทะเล น้าไม่ ท่วม ้ ตามฝั่ ง ดิ น และชายเขาริ ม ทะเล ต้ น ไม้ ส าคัญ ที่ ขึ้น อยู่ ต ามหาด ชายทะเล ต้ องเป็ นพืชทนเค็ม และมักมีลกษณะไม้ เป็ นพุ่มลักษณะต้ นคด ั งอ ใบหนาแข็ง ได้ แก่ สนทะเล หูกวาง โพธิ์ทะเล กระทิง ตีนเป็ ด ทะเล หยีน้า มักมีต้นเตยและหญ้ าต่ าง ๆ ขึนอยู่เป็ นไม้ พนล่ าง ตามฝั่ง ้ ื้ ดินและชายเขา มักพบไม้ เกตลาบิด มะคาแต้ กระบองเพชร เสมา และ ไม้ หนามชนิดต่ าง ๆ เช่ น ซิงซี่ หนามหัน กาจาย มะดันขอ เป็ นต้ น
  • 44. ป่ าชายเลนบางทีเรียกว่ า ป่ าเลนน้าเค็ม หรือป่ าเลน หรือป่ าโกงกาง ลักษณะ เป็ นป่ าไม่ ผ ลัด ใบ มี ต้ น ไม้ ขึ้น หนาแน่ น แต่ ล ะชนิ ด มี ร ากค้า ยัน และรากหายใจ แตกต่ างกันไป ป่ าชนิดนี้ปรากฏอยู่ตามที่ดินเลนริ มทะเล หรื อบริ เวณปากแม่ น้า ใหญ่ ๆ ซึ่ งมีน้าเค็มท่ วมถึง ตามชายทะเลภาคตะวันออก มีอยู่ทุกจังหวัด แต่ ที่มีมาก ทีสุด คือ บริเวณปากแม่ นาเวฬุ อาเภอลุง จังหวัดจันทบุรี ในภาคใต้ มีอยู่ตามชายฝั่ง ่ ้ ทะเลทั้ ง สองด้ า น ทั้ ง ชายฝั่ ง ด้ า นตะวั น ออกมี ช ายทะเลขึ้น อยู่ เ ป็ นแห่ ง ๆ ตั้ ง แต่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ลงไปจนถึง จังหวัดปัตตานี ส่ วนชายฝั่งด้ านตะวันตกมีป่า ชายเลนขึนอยู่อย่ างหนาแน่ น ตั้งแต่ จังหวัดระนอง ถึงจังหวัดสตูลพันธุ์ไม้ ที่ขึนอยู่ ้ ้ ตาม ป่ าชายเลน ส่ วนมากเป็ นพันธุ์ไม้ ขนาดเล็ก ใช้ ประโยชน์ สาหรั บเผาถ่ าน และ ทาฟื น พันธุ์ไม้ ชนิดที่สาคัญได้ แก่ โกงกาง ประสั ก ถั่วขาว ถั่วดา โปรง ตะบูน แสม ทะเล ลาพูน และลาแพน ฯลฯส่ วนไม้ พืนล่ างมักเป็ นพวก ปรงทะเล เหงือกปลา ้ หมอ ปอทะเล และเป้ ง เป็ นต้ น
  • 45. 1.เป็ นส่ วนที่สาคัญมากส่ วนหนึ่งของวัฏจักร น้า ออกซิ เจน คาร์ บอน และไนโตรเจนในระบบนิเวศ ทาให้ เกิดความสมดุลแห่ งระบบด้ วย การหมุนเวียนเปลียนแปลงแร่ ธาตุและสสารในระบบนิเวศ ่
  • 46. 2. ป่ าช่ วยในการอนุรักษ์ ดินและน้า เมื่อฝนตกน้าฝนบางส่ วนจะถูก ต้ นไม้ ในป่ าดูดซับไว้ แล้ วค่ อยๆ ปลดปล่ อยให้ ไหลลงสู่ ผวดิน อีก ิ ส่ วนหนึ่งจะซึมลงสู่ ดินชั้นล่ าง สามารถลดการพังทลายของดิน ได้ ลดการกัดเซาะหน้ าดินทีอุดมสมบูรณ์ ปองกันการเกิดนาท่ วม ่ ้ ้ ฉั บพลันและสามารถลดความรุ นแรงของการเกิดภาวะน้าท่ วม เนื่องจากต้ นไม้ ช่วยชะลอการไหลของนาบนผิวหน้ าดิน และการ ้ มีป่าไม้ ปกคลุมดินจะช่ วยปองกันการกัดเซาะได้ ดีกว่ าปลูกพืช ้ ชนิดอืน ่
  • 47. 3. ช่ วยปรับสภาพบรรยากาศ เนื่องจากป่ าไม้ ช่วยเก็บรักษาความชุ่ มชื้น ในดินไว้ ร่ มเงาของป่ าช่ วยป้ องกันไม่ ให้ ความร้ อนจากดวงอาทิตย์ ตกกระทบผิวดินโดยตรง บริ เวณป่ าไม้ จะมีน้าที่เกิดจากการระเหย จากใบและลาต้ น กลายเป็ นไอน้าในอากาศจานวนมาก อากาศเหนือ ป่ าไม้ จึงมีความชื้นมาก เมื่ออุณหภู มิอากาศลดลง ไอน้าจะกลั่นตัว เป็ นหยดน้าเกิดเป็ นเมฆจานวนมาก สุ ดท้ ายก่ อให้ เกิดฝนตกลงมาใน ป่ าที่มีต้นไม้ หนาแน่ นและส่ งผลให้ พนที่ใกล้ เคียงได้ รับน้าฝน และทา ื้ ให้ สภาพอากาศที่ช่ ุ มชื้นแม้ กระทั่งในฤดูร้อน ดังนั้นพืนที่ที่มีป่าไม้ ้ มาก เช่ น เขาใหญ่ ดอนอินทนนท์ ภูกระดึง เขาหลวง จะเห็นว่ ามีเมฆ ปกคลุมอยู่บนภูเขาและจะมีฝนตกมากกว่ าบริเวณข้ างล่ าง
  • 48. 4. ป่ าไม้ เป็ นแหล่ งต้ นน้าลาธาร ในบริ เวณที่ป่าไม้ มีความสมบูรณ์ ต้นไม้ มีรากลึกและ ชอนไชอยู่ในดิน อินทรี ย์วัตถุจากต้ นไม้ และสั ตว์ ป่าจะช่ วยปรั บโครงสร้ างของดิน ให้ มีรูพรุ นที่สามารถเก็บกักน้าได้ ดี น้าฝนที่ผ่านต้ นไม้ จะลงสู่ ดินในแนวดิ่งแล้ ว ค่ อยๆ ไหลซึ มกระจายไปตามรากที่แตกแขนงออกไปตามอนุภาคดิน รู พรุ นที่อยู่ใน ดินเฉพาะรู พรุ นขนาดเล็กในเม็ดดินนั้นสามารถกักเก็บน้าได้ มากกว่ า น้าหนักของ เม็ดดินแห้ งถึง 3-10 เท่ า และน้าที่กักเก็บไว้ น้ัน จะค่ อยๆ ปลดปล่ อยสู่ ช้ั นน้าใต้ ดิน เพือลงสู่ แหล่ งนาลาธาร ป่ าจึงเปรียบได้ กับฟองนาขนาดใหญ่ ที่ทาหน้ าที่ เป็ นแหล่ ง ่ ้ ้ กักเก็บน้าตามธรรมชาติ ถ้ าป่ าเกิดในที่สูง น้าที่กักเก็บไว้ จะค่ อยๆ ซึ มลงมารวมกัน ตามหุ บเขา เกิดธารน้าเล็กๆ มากมาย และกาเนิดแม่ น้าลาธารที่สามารถมีน้าใช้ ได้ ทุกฤดูกาล เป็ นต้ น
  • 49. 5. ป่ าไม้ เป็ นแหล่ งปั จจัยสี่ ป่ าไม้ เป็ นแหล่ งผลิต /ผู้ ผลิต ปั จจัยพื้นฐานต่ อการ ดารงชี พของมนุษย์ เมือง/ชุ มชนเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมที่สาคัญและ หาสิ่ งอื่นมาทดแทนมิได้ ป่ าไม้ มีความผูกพันต่ อความเป็ นอยู่จากอดีตจนถึง ปัจจุบัน ได้ แก่ การนาไม้ มาใช้ ใน การก่ อสร้ างบ้ านเรือน ที่อยู่อาศัย เป็ นเครื่อง ตกแต่ งบ้ าน ใช้ เ ป็ นเชื้ อเพลิงในการหุ งต้ มอาหาร ซึ่ งในเรื่ องอาหารมนุ ษ ย์ ได้ รับจากป่ าโดยตรง เช่ น ได้ ส่วนของผล เมล็ด ใบ ดอก ลาต้ นเป็ นอาหาร และ ได้ รับน้าผึ้ง หรื อเนื้อสั ตว์ ป่าโดยทางอ้ อม สมุนไพรหรื อยาแผนโบราณที่ใช้ รักษาโรค ส่ วนใหญ่ ได้ มาจากผลิตภัณฑ์ ของป่ าไม้ ได้ มการนาสมุนไพรจากป่ า ี มาดัดแปลง สกัดเอาส่ วนที่สาคัญ จากเปลือก ดอก ผล เมล็ด ราก นามาใช้ ใน การผลิตยารักษาโรคทีออกมาในรู ปของยาเม็ด ยานา หรือแคปซูล ่ ้ 6.เป็ นที่อ ยู่ อ าศั ย ของสั ต ว์ ป่ า ป่ าไม้ จั ด ว่ า เป็ นแหล่ ง ที่อ ยู่ อ าศั ย และหลบภัย ที่ สาคัญทีสุดของสั ตว์ ป่า ซึ่งสั ตว์ เหล่ านีมความสาคัญต่ อมนุษย์ เช่ น เป็ นอาหาร ่ ้ ี ยารั กษาโรค ช่ วยขจัดแมลงและประดับป่ าไม้ ให้ เกิดความงดงาม การทาลาย พืนทีป่าจึงเสมือนทาลายสั ตว์ ป่าด้ วย ้ ่
  • 50. 7. เป็ นแนวป้ องกันลมพายุ เมื่อลมพายุ พัด มาปะทะพื้นที่ป่าไม้ ซึ่ งเป็ นสิ่ งกีด ขวาง ความเร็วและลมพายุจะลดลง ดังนั้น ลมพายุที่พดผ่ านแนวป่ าไม้ จะมีความเร็วน้ อย ั กว่ าพัดผ่ านที่โล่ งแจ้ ง ช่ วยลดความเสี ยหายของสิ่ งก่ อสร้ าง ป่ าไม้ จึงเป็ นกาแพง ธรรมชาติทช่วยป้ องกันความรุ นแรงของลมพายุได้ ่ี 8. ด้ านการพักผ่ อนหย่ อนใจ ธรรมชาติของป่ าไม้ จะเต็มไปด้ วยสี สัน ความเขียวชอุ่ม ร่ มเย็น ก่ อให้ เกิดความสบายตาเมื่อพบเห็น ความสดสวยงดงามของดอกไม้ ความ ชุ่ มชื้น นาในลาธารทีใสสะอาด ความเงียบสงบจากเสี ยงรบกวนของชุ มชน ความน่ า ้ ่ ชมและน่ ารั กของสั ตว์ ป่า ทาให้ เขตป่ าไม้ เป็ นแหล่ งพักผ่ อนหย่ อนใจที่สาคัญอย่ าง หนึ่งของมนุษย์ ในช่ วงวันหยุดต่ างๆ จะพบเห็นประชาชนทั้งในท้ องถิ่นและในเมือง จ านวนมากเดิ น ทางไปเที่ ย วหรื อ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจในเขตอุ ท ยานแห่ ง ชาติ วน อุทยาน สวนพฤกษศาสตร์ สวนป่ า และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่า เป็ นต้ น ป่ าไม้ จึงเป็ น แหล่งท่ องเทียวทีสาคัญอย่ างหนึ่งไปด้ วย ่ ่
  • 51. 9. ช่ ว ยลดมลพิษ ทางอากาศ เนื่ อ งจากป่ าไม้ เ ป็ นตั วช่ วยดู ดซั บคาร์ บ อนไดออกไซด์ เ พื่อ นาไปใช้ ในการสั งเคราะห์ อาหาร แล้ วปลดปล่ อยก๊ าซออกซิเจนมาให้ กับสิ่ งมีชีวิตอื่นๆ บน โลก สมดุลระหว่ างคาร์ บอนไดออกไซด์ และออกซิ เจนในอากาศจึงเกิดขึ้น และเป็ นที่ ทราบกันดีอยู่แล้ วว่ า พืชในตระกูลสู งสามารถดู ดกลืนก๊ าซคาร์ บอนมอนอกไซด์ แล้ ว เปลี่ยนแปลงให้ เป็ นก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ปล่ อยออกสู่ บรรยากาศแล้ วจึงดึงกลับมาใช้ ในการสั งเคราะห์ อาหารในเวลากลางวัน ดังนั้นจะเห็นได้ ว่าต้ นไม้ มีประโยชน์ มากในการ ช่ วยกาจัดคาร์ บอนมอนอกไซด์ และคาร์ บอนไดออกไซด์ ในบรรยากาศ ในเมืองใหญ่ ๆ ซึ่งมี แต่ ป่าคอนกรีตและไม่ ค่อยมีต้นไม้ อากาศในเมืองจึงมีปริมาณคาร์ บอนไดออกไซด์ สูง การ ปลูกต้ นไม้ มากๆ จะช่ วยลดปริมาณก๊ าซทั้งสองชนิดนีลงได้ ้ **เนื่องจากป่ าไม้ สามารถเอืออานวยประโยชน์ ต่อประชาชนได้ ท้ังทางตรงและทางอ้ อม ้ ดังที่กล่ าวมาแล้ ว การทาลายป่ าถือว่ าเป็ นการทาลายผลประโยชน์ ส่วนรวมของประชาชน ป่ าไม้ เมื่อถูกทาลายลงแล้ วยากที่จะฟื้ นฟูให้ กลับสู่ สภาพเดิมได้ ดังนั้นเพื่อประโยชน์ ของ เราเองและต่ อประเทศชาติโดยส่ วนรวม โปรดช่ วยดูแลรั กษาป่ าเพื่อให้ ป่านั้นๆ มีอยู่และ เอืออานวยประโยชน์ ตลอดไป ้
  • 52. สรุปความสํ าคัญทรัพยากรป่าไม้ ทีมตอมนุ ษยและสิ่ งแวดลอม ่ ี ่ ์ ้ 1. ให้ปัจจัยสี่ ทําให้มนุ ษยมีอาหาร ์ ยารักษาโรค เครืองนุ่ งหม ทีอยูอาศัยแกมนุ ษยและสิ่ งมีชวตตางๆ ่ ่ ่ ่ ่ ์ ี ิ ่ 2. ช่วยควบคุมอุณหภูมโลกไมให้สูงเกินไป จนกอให้เกิดมลพิษ ิ ่ ่ ความร้อน ภาวะเรือนกระจก(green house effect) โดย ป่าไม้จะเปลียนก๊าซคารบอนไดออกไซดให้เป็ นแป้งและ ่ ์ ์ นํ้าตาล โดยผานกระบวนการสั งเคราะหดวยแสง ่ ์ ้ ทํา ให้รังสี ความรอนจากดวงอาทิตย ์ ไดแก่ รังสี UV บีและซี ้ ้ สามารถแผกลับคืนสู่บรรยากาศได้ ส่งผลให้อุณหภูมของ ่ ิ โลกไมเพิมขึน ่ ่ ้ 3. รักษาความอุดมสมบูรณของทรัพยากรดินให้มีแรธาตุทสําคัญ ์ ่ ี่ ตอการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจากรากของตนไม้ในป่า ่ ้ ช่วยกักเก็บแรธาตุไวไมให้ถูกกระแสนํ้าและลมพัดพาไปสู่ ่ ้ ่ ้ ่ ่ํ พืนทีตากวา ่
  • 53. 4. เ ป็ น แ ห ล ่ ง ที่ อ ยู่ อ า ศั ย ข อ ง สั ต ว ์ ป่ า น า น า ช นิ ด เพือเป็ นแหลงขยายพันธุสั ตวให้มีชนิด ปริมาณและสั ดส่วนใน ่ ่ ์ ์ ระบบนิ เ วศที่เ หมาะสม ส่ งผลให้ ประสิ ทธิภ าพการถ่ายทอด สารอาหารและพลังงานสามารถถายทอดเป็ นไปตามกฎ 10่ เปอรเซ็นต ์ ์ 5. เป็ นแหลงเก็บรักษานํ้าไว้ ่ ทําให้ไมเกิดปรากฏการณ์ ่ นํ้าทวม เนื่องจากต้นไม้ในพืนทีป่าไม้จะสามารถเก็บนํ้าไว้ใน ่ ้ ่ ลําตน สํ าหรับนําใช้ในการลําเลียงอาหารไดในปริมาณทีมาก ้ ้ ่ เทียบเทากับแหลงนํ้าขนาดใหญ่ ่ ่