SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
ภาวะมีบุตรยาก
อยากมีลูก ต้องทาอย่างไร ?
• การที่คู่สมรสจะมีลูกยากหรือง่ายนั้น มักจะเกี่ยวกับอายุของฝ่ายหญิงและ
ความถี่ในการร่วมเพศ เมื่อมีอายุมากขึ้นและร่วมเพศน้อยลง โอกาส
ตั้งครรภ์ก็จะน้อยลงตามไปด้วย ยิ่งถ้าร่วมเพศไม่ตรงกับช่วงตกไข่ด้วยแล้วก็
จะไม่ทาให้ตั้งครรภ์ได้ เพราะไข่ที่ตกแล้วจะอยู่ได้เพียง 24 ชั่วโมงเท่านั้น
นอกจากนี้ถ้าฝ่ายหญิงมีโรคหรือความผิดปกติเกี่ยวกับมดลูก ท่อนาไข่ และ
รังไข่ เช่น เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ เนื้องอกมดลูก ฯลฯ ก็จะยิ่งทาให้
โอกาสมีลูกเองตามธรรมชาติลดลง
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
• ภาวะที่คู่สมรสไม่สามารถตั้งครรภ์ได้หลังจากพยายามมีเพศสัมพันธ์
อย่างสม่าเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 2-3 วัน โดยไม่ได้คุมกาเนิดมาแล้ว
อย่างน้อย 1 ปี
• ได้มีการศึกษามากมายที่พบว่า “การมีลูกยากนั้นจะเกิดขึ้นจากฝ่าย
หญิงมากกว่าประมาณ 40-50% ในขณะที่ฝ่ายชายจะพบได้น้อยกว่า
ประมาณ 25-30% และเกิดทั้งจากฝ่ายชายและฝ่ายหญิงร่วมกัน 20%
ส่วนที่เหลืออีกประมาณ 15% จะเป็นกรณีที่ตรวจไม่พบเจอสาเหตุทั้ง
จากฝ่ายชายและฝ่ายหญิงด้วยวิธีการตรวจพื้นฐาน”
ภาวะการมีบุตรยากจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
• ภาวะมีบุตรยากชนิดปฐมภูมิ (Primary infertility) หมายถึง
คู่สมรสยังไม่เคยมีบุตรมาก่อน
• ภาวะมีบุตรยากชนิดทุติยภูมิ (Secondary infertility)
หมายถึง คู่สมรสเคยมีบุตรหรือเคยตั้งครรภ์มาก่อน แต่ไม่สามารถ
ตั้งครรภ์ได้อีก
สาเหตุของภาวะมีบุตรยาก
• สาเหตุจากฝ่ายหญิง : คู่สมรสบางคู่นั้นพบว่าฝ่ายหญิงมีความผิดปกติ
ในอวัยวะสืบพันธุ์ เช่น รังไข่ทางานไม่ได้ตามปกติและสามารถตกไข่ได้,
มีความผิดปกติของฮอร์โมนในร่างกายที่ส่งผลต่อการตกไข่, ท่อรังไข่อุด
ตัน, มีเนื้องอกของมดลูกขนาดใหญ่หรืออยู่ในโพรงมดลูก, มีซีสต์หรือ
เนื้องอกของรังไข่, มีภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ หรือมีพังผืดที่
เกิดขึ้นในช่องเชิงกรานหรือที่ปีกมดลูก เป็นต้น ส่วนสาเหตุอื่น ๆ ที่มีผล
ทาให้มีลูกได้ยาก คือ มีอายุมากเกินไป สูบบุหรี่เป็นประจา
• สาเหตุจากฝ่ายชาย : ในบางคู่สาเหตุการมีบุตรยากอาจเกิดขึ้นกับฝ่ายได้
เช่นกัน เช่น ฝ่ายชายมีอวัยวะสืบพันธุ์ผิดปกติมาแต่กาหนดจนไม่สามารถมี
เพศสัมพันธ์ได้, ฝ่ายชายมีพันธุกรรมที่ผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซมหรือยีนที่ทา
ให้ไม่สามารถสร้างเชื้ออสุจิได้หรือสร้างได้น้อยกว่าปกติ เช่น เชื้ออสุจิมีปริมาณ
น้อย เชื้ออสุจิอ่อนแอ เชื้ออสุจิมีรูปร่างผิดปกติ หรือแม้แต่เป็นหมัน (ตรวจไม่
พบเชื้ออสุจิในน้าอสุจิ), ฝ่ายชายได้รับสารเคมีบางชนิดเป็นประจา เช่น ยาฆ่า
แมลง สารตะกั่ว สารประกอบเบนซีน รวมถึงการใช้ยาบางชนิด, มีโรค
ประจาตัว เป็นผู้สูบบุหรี่หรือดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจา
• ไม่ทราบสาเหตุ : พบว่ามีคู่สมรสที่จัดเป็นกลุ่มที่มีบุตรยากโดยไม่
ทราบสาเหตุอีกจานวนหนึ่ง คือ ประมาณ 15-20% ที่แม้จะตรวจวินิจฉัย
ด้วยเทคโนโลยีต่าง ๆ แล้วก็ยังไม่พบความผิดปกติใด ๆ ซึ่งเป็นปัญหา
จากความสามารถในการเจริญพันธุ์ต่าเองและมักจาเป็นต้องให้การ
รักษาเพื่อช่วยให้เกิดการตั้งครรภ์ได้
การตรวจวินิจฉัยภาวะการบุตรยาก
• แพทย์ผู้ทาการรักษาจะทาการ
วินิจฉัยทั้งจากฝ่ายชายและฝ่ายหญิง
โดยการซักถามประวัติทางการแพทย์
เพื่อหาสาเหตุเบื้องต้นก่อน จากนั้น
แพทย์จะทาการตรวจร่างกายเพิ่มเติม
และตรวจภายในของฝ่ายหญิง แล้ว
ส่งตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมเพื่อสาเหตุ
ของการเกิดภาวะมีบุตรยาก โดย
สามารถจาแนกการส่งตรวจได้ดังนี้
การประเมินภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
• ภาวะมีบุตรยากของฝ่ายนั้นมีหลากหลาย และอาจมีบางกรณีที่หาสาเหตุ
ชัดเจนไม่ได้ แต่อย่างไรก็ตามการรักษาภาวะมีบุตรยากของฝ่ายนั้นก็
สามารถทาได้เสร็จได้แม้ในกรณีที่หาสาเหตุไม่ได้ก็ตาม โดยสิ่งที่แพทย์จะ
ตรวจนั้นมีดังนี้
ประวัติและการตรวจร่างกาย
ตรวจน้าอสุจิ
ตรวจเลือด
การทดสอบทางพันธุกรรม
การตรวจอื่นๆ เช่น อัลตร้าซาวด์ทางทวารหนัก
ประวัติและการตรวจร่างกาย
• อาจช่วยบอกความผิดปกติที่เป็นสาเหตุได้เช่น ประวัติการติดเชื้อหรือ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์, เนื้องอกในอัณฑะ, ประวัตการผ่าตัด, กิจกรรม
ทางเพศ, การใช้ยา, การใช้หรือการสัมผัสสารบางชนิด เช่น แอลกอฮอล์บุหรี่
รังสี สารสเตียรอยด์การทาเคมีบาบัด และสารเคมีที่เป็นพิษ เป็นต้น ซึ่ง
เหล่านี้จะเป็นประโยชน์ในการวินิจฉัย รวมถึงการดูดูลักษณะการเจริญเติบโต
ของร่างกายและการกระจายของขนตามร่างกายบริเวณนมและต้องเน้นตรวจ
ที่อวัยวะเพศองคชาติ และผนังหุ้มปลายปกติหรือไม่ อัณฑะทั้ง2 ข้างลงมาอยู่
ในถุงและมีขนาดปกติหรือไม่ คลาดูEtididymis และท่อน้าเชื้อทั้ง 2 ข้าง
ดูว่ามีเส้นเลือดขอดและน้าในถุงอัณฑะหรือไม่ อาจต้องตรวจทางทวารหนัก
คลาดูต่อมลูกหมากว่าปกติหรือเปล่า
การตรวจร่างกายและตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศชาย
• รวมถึงการดูดูลักษณะการเจริญเติบโตของร่างกายและการ
กระจายของขนตามร่างกายบริเวณนมและต้องเน้นตรวจที่อวัยวะเพศ
องคชาติ และผนังหุ้มปลายปกติหรือไม่ อัณฑะทั้ง 2 ข้างลงมาอยู่ในถุง
และมีขนาดปกติหรือไม่ คลาดูEtididymis และท่อน้าเชื้อทั้ง 2 ข้าง
ดูว่ามีเส้นเลือดขอดและน้าในถุงอัณฑะหรือไม่ อาจต้องตรวจทางทวาร
หนักคลาดูต่อมลูกหมากว่าปกติหรือเปล่า
ตรวจน้าอสุจิ
• หัวใจสาคัญในการประเมินภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชายคือการตรวจวิเคราะห์
น้าอสุจิหรือนับจานวนอสุจิด้วยกล้องจุลทรรศน์ ซึ่งการตรวจนี้จะทาให้
ทราบถึงคุณภาพและปริมาณโดยรวมของน้าเชื้อ จานวนอสุจิ รูปร่างและการ
เคลื่อนไหวของอสุจิ ก่อนการตรวจฝ่ายชายควรงดการมีเพศสัมพันธ์หรือ
สาเร็จความใคร่ก่อนการเก็บตัวอย่างน้าเชื้ออสุจิประมาณ 2-7 วัน หากผลการ
วิเคราะห์พบว่าอสุจิมีความผิดปกติ แพทย์มักจะมีการขอตัวอย่างน้าอสุจิ
เพิ่มเติมเพื่อตรวจซ้าอีกครั้งในอีก 1-2 สัปดาห์ถัดไป
การตรวจเลือด
• โดยปกติแล้วแพทย์จะขอตรวจเลือดถ้าสงสัยว่าปัญหาที่เกิดขึ้นมา
จากฮอร์โมน (จะตรวจเมื่อพบความผิดปกติของน้าเชื้อ) และตรวจ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การทดสอบทางพันธุกรรม
• ในรายที่แพทย์สงสัยก็อาจจะทาการตรวจสอบเลือดอย่างเฉพาะเจาจง
เพราะบางกรณีปัญหาการมีบุตรยากอาจเกิดจากการขาดหายไปหรือ
ความผิดปกติของโครโมโซมเพศชาย (Y) ผู้ชายบางคนอาจสืบทอดยีน
ที่เกี่ยวข้องกับโรค Cystic fibrosis ซึ่งทาให้เกิดภาวะมีบุตรยาก
เนื่องจากจานวนตัวอสุจิต่ากว่าเกณฑ์ ในกรณีแพทย์จะต้องหารือกับคู่
สมรสถึงความเป็นไปได้และผลที่จะตามมาจากพันธุกรรมที่อาจ
ถ่ายทอดไปถึงลูกได้
การตรวจอื่น ๆ
• ถ้าแพทย์สงสัยว่ามีการอุดตันในส่วนของท่อส่ง
อสุจิ ก็อาจจะมีการตรวจอัลตราซาวด์ผ่าน
ช่องทวารหนัก ซึ่งการอุดตันนี้อาจเป็นมาตั้งแต่
กาเนิดหรือเกิดขึ้นจากการอักเสบติดเชื้อใน
ภายหลังก็ได้ หรือในกรณีที่มีอสุจิต่ากว่าเกณฑ์
หรือไม่มีเลย แพทย์อาจแนะนาให้ตรวจชิ้นเนื้อ
อัณฑะเพื่อวิเคราะห์น้าอสุจิ (ทาในห้องผ่าตัด
โดยใช้ยาดมสลบ) และอาจนาเซลล์อสุจิไปแช่
แข็งเพื่อใช้ในการทาเด็กหลอดแก้วต่อไป
การรักษาในเพศชาย
1.การรักษาด้วยยา Medical treatment
1.1.Specific treatment ใช้ในกลุ่มที่รู้สาเหตุชัด โดยการ
ฉีด hCG เข้ากล้ามเนื้อ
1.2.Semi-Specific treatment จะทาในกลุ่มที่พบความ
ผิดปกติ เช่น infection ให้ยาปฏิชีวนะในกรณีที่มีการอักเสบติดเชื้อแต่
ความเกี่ยวพันของภาวะเหล่านี้กับภาวการณ์มีบุตรยาก ก็ยังไม่เป็นที่เข้าใจ
แน่ชัด ผลของการรักษาจึงพิสูจน์ได้ยาก
1.3.Non-Specific treatment ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีจานวนตัวอสุจิน้อย และการ
เคลื่อนไหวของตัวอสุจิไม่ดี ยาที่ใช้ได้แก่
- Clomiphene citrate
- Mesterolone
- Tamoxifen
- Cortisone Acetate
-Vitamin E
- Vitamin C
2.การรักษาด้วยวิธีผ่าตัด Surgical treatment
การผ่าตัดจะทาได้ในบางกรณีเพื่อช่วยให้การสร้างอสุจิดีขึ้นหรือเพื่อแก้ไขการ
อุดตันของท่อนาเชื้อ
3.การรักษาด้วยวิธีอื่นๆ
Sterm Treparation เป็นวิธีคัดแยกเอาอสุจิที่แข็งแรงเพื่อฉีดเข้าโพรง
มดลูกของฝ่ายภรรยาและวิธีการนี้ก็เป็นการเตรียมอสุจิที่ใช้เทคนิคช่วยการเจริญพันธุ์
ด้วย
ในปัจจุบันมีวิธีการตรวจมากมายที่ช่วยประเมินภาวะมีบุตรยากของฝ่ายหญิงได้
ซึ่งในแต่ละรายอาจใช้วิธีการตรวจและการตรวจพิเศษแตกต่างกันออกไปตามความ
เหมาะสมและอาจไม่จาเป็นต้องตรวจทั้งหมดครบทุกวิธีก็ได้ โดยสิ่งที่แพทย์จะตรวจนั้นมี
ดังนี้
ประวัติทางการแพทย์
ตรวจร่างกายทั่วไปและตรวจภายใน
ตรวจเลือด
ประเมินการตกไข่
อัลตร้าซาวด์บริเวณอุ้งเชิงกราน
การฉีดสีเพื่อดูท่อนาไข่และมดลูก (Hysterosalpingogram - HSG)
การส่องกล้องตรวจโพรงมดลูก (Hysteroscopy)
การผ่าตัดผ่านกล้องทางหน้าท้อง (Laparoscopy)
ทดสอบทางพันธุกรรม
การประเมินภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
ประวัติทางการแพทย์
• หรือประวัติสุขภาพที่ผ่านมาก็อาจช่วยให้ทราบถึงสาเหตุของภาวะมี
บุตรยาก โดยแพทย์จะถามเกี่ยวกับความผิดปกติของรอบเดือน, การ
เปลี่ยนแปลงของลักษณะทางเพศในช่วงวัยรุ่น, อาการปวดท้องน้อย
เวลามีประจาเดือน ประวัติการอักเสบในอุ้งเชิงกราน, ประวัติทางเพศ
หรือการเจ็บป่วยจากการติดโรคทางเพศสัมพันธ์, การสัมผัสสารบาง
ชนิด เช่น สารสเตียรอยด์ ทาเคมีบาบัด ฉายรังสี ดื่มแอลกอฮอล์ และ
สารเคมีที่เป็นพิษ รวมทั้งประวัติเกี่ยวกับการมีบุตรที่ผ่านมา
การตรวจร่างกายและการตรวจภายใน
ตรวจร่างกายทั่วไป เช่น อ้วน ผอม การเติบโตสมกับอายุหรือไม่
โดยเฉพาะการพัฒนาทางเพศของร่างกาย
ตรวจภายในดูลักษณะการกระจายของขนบริเวณหัวเหน่า
ลักษณะและขนาดของ clitoris มีการอักเสบในช่องคลอดหรือไม่ ความ
ผิดปกติที่ปากมดลูก มูกที่ปากมดลูกขุ่นหรือใส ควรทา TATANI
COLAOU SMEAR และอาจขูดเซลล์ที่ผนังด้านข้างของช่องคลอดไป
ตรวจเพื่อดูการทางานของฮอร์โมน ดูขนาดของมดลูกและดูว่าเคลื่อนไหวดี
หรือไม่ ปีกมดลูกมีการอักเสบหรือมีก้อนไหม
• จะบอกได้ว่าระดับฮอร์โมนต่าง ๆ อย่างฮอร์โมน FSH (Follicle-
stimulating hormone), ฮอร์โมน TSH เพื่อดูการทางานของ
ต่อมไทรอยด์ และฮอร์โมนโปรแลกติน (Prolactin) เพื่อให้แน่ใจว่า
ไม่มีเนื้องอกที่ต่อมใต้สมอง
ตรวจเลือด
• ภาวะการตกไข่ที่ผิดปกติอาจตรวจพบได้จากประวัติประจาเดือน
อุณหภูมิของร่างกาย หรือระดับฮอร์โมนที่ผิดปกติ เช่น การตรวจระดับ
ฮอร์โมน LH ก่อนการตกไข่ หรือฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในช่วงครึ่งหลัง
ของรอบประจาเดือน
ประเมินการตกไข่
อัลตราซาวด์บริเวณอุ้งเชิงกราน (ผ่านทางช่องคลอด)
วิธีนี้จะเผยให้เห็นภาพของมดลูกและรังไข่ได้ชัดเจนกว่าการอัลตรา
ซาวด์ผ่านหน้าท้อง โดยจะสามารถตรวจวัดขนาดหรือรูปร่างของ
มดลูกและรังไข่ได้ รวมไปถึงความปกติต่าง ๆ เช่น เนื้องอก ถุงน้าในรัง
ไข่ เป็นต้น หากตรวจพบความผิดปกติอาจจะต้องมีการขอตรวจ
เพิ่มเติมด้วย
การฉีดสีเพื่อดูท่อนาไข่และ
มดลูก (Hysterosalpingogram – HSG)
• เป็นการใช้สายยางขนาดเล็กสอดผ่านปากมดลูกเข้าไปยังโพรงมดลูก
และฉีดน้าที่สามารถมองเห็นได้จากการเอกซเรย์เข้าไปในโพรงมดลูก
และท่อนาไข่ เพื่อให้เห็นโครงสร้างของโพรงมดลูกและท่อนาไข่ ถ้า
มดลูกที่มีรูปร่างผิดปกติหรือมีการตันของท่อนาไข่จะสามารถตรวจพบ
ได้ด้วยวิธีนี้จากการเอกซเรย์ สามารถทาได้โดยไม่ต้องวางยาสลบ ส่วน
ใหญ่จะมีอาการปวดท้องน้อยในระดับปานกลางถึงมาก (ในขณะฉีดน้า
เข้าไปในโพรงมดลูก) แต่อาการจะดีขึ้นภายใน 10 นาที
การส่องกล้องตรวจโพรงมดลูก (Hysteroscopy)
• เป็นการสอดท่อขนาดเล็กผ่านปากมดลูกเข้าไปยังโพรงมดลูก แล้วจะมี
การฉีดอากาศหรือของเหลวเข้าไปในขยายโพรงมดลูก เพื่อตรวจดูเยื่อบุ
โพรงมดลูกและท่อนาไข่ เป็นวิธีที่มักใช้ในรายที่คิดว่ามีความผิดปกติ
ของมดลูกหลังจากซักประวัติ ฉีดสี และตรวจอัลตราซาวด์แล้ว
การผ่าตัดผ่านกล้องทางหน้าท้อง (Laparoscopy)
• เป็นการใช้ท่อขนาดเล็กสอดผ่านแผลขนาดเล็กที่บริเวณหน้าท้อง เพื่อตรวจดู
อวัยวะภายในช่องท้องและอุ้งเชิงกรานโดยเฉพาะมดลูก รังไข่ และท่อนาไข่ การ
ผ่าตัดผ่านกล้องนี้จะสามารถตรวจพบความผิดปกติและการอุดตันของท่อนาไข่
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ และความผิดปกติของอวัยวะในอุ้งเชิงกรานได้
อย่างไรก็ตาม การผ่าตัดผ่านกล้องนี้ไม่ใช่การตรวจทั่วไปของภาวะมีบุตรยาก แต่
จะทาเฉพาะในกรณีที่มีความจาเป็นเท่านั้น
ทดสอบทางพันธุกรรม
• แพทย์จะแนะนาให้ตรวจเมื่อสงสัยว่าความผิดปกติของโครโมโซมเป็น
สาเหตุทาให้มีบุตรยาก ซึ่งการตรวจจะใช้เลือดปริมาณเพียงเล็กน้อย ส่ง
เข้าห้องปฏิบัติการในการวิเคราะห์ ถ้าพบความผิดปกติ แพทย์จะหารือ
ถึงความเป็นไปได้และประเมินผลที่จะตามมาของกรรมพันธุ์ที่จะถูกส่ง
ต่อไปยังลูก
วิธีการรักษาภาวะการมีบุตรยาก
• ดูแลสุขภาพตนเอง
สาหรับการดูแลตนเองในเบื้องต้นที่คุณสามารถทาได้ก็คือ การออก
กาลังกายอย่างสม่าเสมออย่างน้อยครั้งละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 ครั้ง,
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบถ้วนทุก 5 หมู่, นอนหลับพักผ่อน
ให้พออย่างน้อยวันละ 6-8 ชั่วโมง, ควบคุมน้าหนักให้อยู่ในเกณฑ์
มาตรฐาน, ลดปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความเครียด, งดสูบบุหรี่และดื่ม
แอลกอฮอล์
• เช่น การผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติปกติของท่อนาไข่ การผ่าตัดแก้หมันที่
เคยทาไว้ การผ่าตัดรักษาโรคถุงน้ารังไข่ (PCOS) หรือโรคเยื่อบุโพรง
มดลูกเจริญผิดที่ อย่างไรก็ตามการรักษาด้วยวิธีกล่าว พบว่าคู่สมรส
จานวนไม่น้อย ไม่อาจมีการตั้งครรภ์เกิดขึ้นได้อีกในภายหลังการรักษา
เนื่องจากการตั้งครรภ์นั้นยังมีความจาเป็นต้องอาศัยปัจจัยทาง
ธรรมชาติอื่น ๆ อีกมาก รวมทั้งความผิดปกติบางอย่างก็ไม่สามารถ
แก้ไขได้ เช่น ภาวะเชื้ออสุจิผิดปกติในฝ่ายชาย
การรักษาเบื้องต้นเมื่อพบแพทย์
ใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
• การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์มาช่วยให้เกิดการตั้งครรภ์ เนื่องจาก
วิธีเหล่านี้ส่วนหนึ่งไม่ได้พึ่งพากระบวนการทางธรรมชาติ แต่เป็นการ
นาเอาเซลล์สืบพันธุ์ของทั้งสองฝ่ายมาเลี้ยงภายนอกร่างกาย ให้ผสม
เป็นตัวอ่อน ก่อนที่จะใส่กลับเข้าไปในโพรงมดลูกของฝ่ายหญิง เพื่อให้มี
การตั้งครรภ์เกิดขึ้น จึงไม่จาเป็นต้องแก้ไขความผิดปกติที่เป็นสาเหตุ
บางอย่างได้ เช่น ท่อรังไข่ตัน เชื้ออสุจิผิดปกติ โดยการใช้เทคโนโลยีช่วย
การเจริญพันธุ์มีดังนี้
• การผสมเทียม หรือ การฉีดอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง (Intra-
Uterine Insemination – IUI)
• การทากิ๊ฟท์ (Gamete Intrafallopian Transfer – GIFT)
• การทาเด็กหลอดแก้ว หรือ การปฏิสนธินอกร่างกาย (In Vitro
Fertilization: IVF)
• การทาซิฟท์ (Zygote Intrafallopian Transfer – ZIFT)
• การทาอิ๊กซี่ (Intracytoplasmic Sperm Injection –
ICSI)
การรักษาในเพศหญิง
• 1.ความบกพร่องระยะหลังตกไข่ (Luteal phase defect)
• การรักษาในรายที่พบสาเหตุชัดเจน เช่น prolactin ในเลือดสูงหรือ
ต่อมธัยรอยด์ทางานผิดปกติ ก็รักษาความผิดปกตินั้นๆ จะทาให้ระยะหลังตก
ไข่กลับมาปกติ นอกจากนั้นอาจใช้ยาฮอร์โมนรักษาดังนี้
• 1.Progerterone
• 2.Clomiphene Citrate ทาให้ FSH หลั่งเพิ่มขึ้นกระตุ้นให้
Follicle เจริญดีขึ้นหลังตกไข่ Corpusluteum จะทางานได้ปกติ
• 3.hCG กระตุ้นการทาหน้าที่ของ Corpusluteum ให้ผลิต
Progerterone ได้ดีขึ้น
2. ปัจจัยเกี่ยวกับเยื่อผังผืดในอุ้งเชิงกราน Peritoneal factor
การรักษาในรายที่มีเยื่อผังผืดมากจาเป็นต้องผ่าตัดเลาะผังผิด
ออก รวมทั้งแก้ไขท่อนาไข่ที่ตีบตันด้วยและต้องพยายามป้องกันไม่ให้เกิด
ผังผืดขึ้นอีก
3.เนื้องอก Myoma Uteri
การรักษาจะพิจารณาทา Myomectomy คือ การตัดเอา
เฉพาะก้อนเนื้องอกออกเป็นวิธีที่นิยมในผู้ที่ต้องการมีบุตรในอนาคต การ
ผ่าตัดนี้จะเอาเฉพาะก้อนเนื้องอกออกแต่ยังเหลือมดลูกไว้ การผ่าตัดนี้อาจ
ไม่ประสบความสาเร็จในทุกคนบางรายหากมีการเสียเลือดมากอาจต้องตัด
มดลูกทิ้ง
ปัจจัยที่ทำให้กำรรักษำภำวะมีบุตรยำกล้มเหลว
• อายุของฝ่ายหญิงซึ่งถือเป็นปัจจัยสาคัญอย่างมาก เพราะอายุที่เพิ่มขึ้นจะส่งผลให้การสร้าง
ฟองไข่และการเจริญของฟองไข่ผิดปกติไป
• ปริมาณความเข้มข้นของเชื้ออสุจิของฝ่ายชาย
• การผ่าตัดแก้หมัน เนื่องจากพบว่าจะมีโอกาสตั้งครรภ์ภายหลังการแก้หมันมีประมาณ 70%
และยังขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ซึ่งส่งผลให้โอกาสการตั้งครรภ์ลดลงจากเดิมด้วย เช่น วิธีที่ใช้
ในการทาหมันครั้งก่อน, ความยาวของท่อนาไข่ที่เหลือหลังจากการทาหมัน, การติดเชื้อ
ภายในอุ้งเชิงกรานหลังการผ่าตัด เป็นต้น
• ในกรณีที่ฝ่ายหญิงเป็นโรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ ปัจจัยที่มีผลต่อความล้มเหลว คือ
พังผืด, ขนาดของถุงน้ารังไข่ และความผิดปกติของท่อนาไข่ที่พบร่วมกันด้วย โดยพบว่าโรค
เยื่อบุโพรงมดลูกที่พยาธิสภาพของโรคที่รุยแรง ส่วนใหญ่จะมีโอกาสเกิดซ้าได้อีกประมาณ
50-80% ในกรณีนี้แพทย์จึงมักจะแนะนาให้ทาการรักษาเรื่องการมีบุตรยาก ภายหลังจาก
การฟื้นตัวจากการผ่าตัด และเพื่อลดโอกาสเกิดการเป็นซ้า ก็อาจแนะนาให้ทาการผสมเทียม
หรือทาเด็กหลอดแก้ว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความผิดปกติที่ตรวจพบ
หากล้มเหลวจากการรักษาวิธีหนึ่ง จะใช้วิธีอื่นแก้ไข
ภาวะมีบุตรได้หรือไม่
• ภายหลังการแก้ไขสาเหตุการมีบุตรแล้ว หากคู่สมรสยังไม่สามารถตั้งครรภ์ได้ด้วยวิธี
ธรรมชาติ การรักษาในขั้นตอนต่อไปจะขึ้นอยู่อายุของฝ่ายหญิง พยาธิสภาพต่าง ๆ ที่ตรวจ
พบทั้งจากฝ่ายชายและฝ่ายหญิง รวมถึงความสมบูรณ์ของเชื้ออสุจิ ในกรณีที่ไม่ตั้งครรภ์
ภายหลังจากการผ่าตัดแก้หมันนานกว่า 6 เดือน แพทย์มักจะแนะนาให้ทาเด็กหลอดแก้ว
มากกว่าผ่าตัดแก้หมันซ้า เนื่องจากท่อนาไข่มักจะสั้นมากอยู่แล้วและมักมีความผิดปกติใน
ผิวท่อนาไข่ อีกทั้งอัตราความสาเร็จจากการผ่าตัดแก้ไขก็มีต่ามากด้วย ส่วนในรายที่มีสาเหตุ
มาจากโรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ มักจะรักษาภาวะมีบุตรยากไปตามพยาธิสภาพที่พบ
ในรายที่มีไม่ร้ายแรงหรือมีพยาธิสภาพของโรคเพียงเล็กน้อย อาจจะเริ่มจากการให้ตั้งครรภ์
เองตามธรรมชาติหรือทาการผสมเทียม แต่หากไม่ประสบความสาเร็จ แพทย์มักจะแนะนา
ให้ทาเด็กหลอดแก้วเป็นวิธีที่สุดท้าย และในกรณีที่คู่สมรสตรวจไม่พบสาเหตุของภาวะมีบุตร
ยาก แพทย์จะแนะนาให้รักษาด้วยการทานยากระตุ้นการตกไข่ร่วมกับการนับวันตกไข่เพื่อมี
เพศสัมพันธ์, การผสมเทียม และทาเด็กหลอดแก้ว ไปตามลาดับ
ผลข้างเคียงจากการแก้ไขภาวะมีบุตรยาก
• ไม่ตั้งครรภ์จากการรักษา เนื่องจากคุณภาพตัวอ่อนไม่ดีพอหรือมีความ
ผิดปกติ
• ภาวะแทรกซ้อนทีเกิดจากการใช้ยากระตุ้นไข่ ทาให้ร่างกายผลิตไข่ได้
มากกว่าปกติและเกิดภาวะบวมน้าทั่วร่างกาย (Ovarian
hyperstimulation syndrome) หากได้รับการกระแทกแรง ๆ
บริเวณท้องน้อยก็อาจเสี่ยงต่อรังไข่แตกได้นอกจากนี้การฉีดยากระตุ้นไข่ตก
ยังอาจทาให้เกิดรอยแดงคันบริเวณที่ฉีด มีเลือดออกใต้ผิวหนัง และทาให้
ผิวหนังเขียวช้าได้ และในช่วงที่ฉีดยากระตุ้น ในบางรายอาจมีอาการคลื่นไส้
อาเจียน ท้องอืด ท้องมีขนาดโตขึ้น ปวดหน่วงท้องน้อย มีตกขาวมากกว่า
ปกติ
• ภาวะตั้งครรภ์แฝด โดยเฉพาะการตั้งครรภ์แฝดที่มากกว่า 2 คน
ภาวะแทรกซ้อนนี้จะทาให้โอกาสในการคลอดบุตรก่อนกาหนดมีสูงขึ้น
และเสี่ยงต่อการแท้งบุตร เพื่อลดการแทรกซ้อนดังกล่าว แพทย์จึงมักทา
การใส่ตัวอ่อนกลับเข้าไปในโพรงมดลูกน้อยลงเพียง 1-2 ตัวอ่อน (ไม่
เกิน 3 ตัวอ่อน) เพื่อลดโอกาสการตั้งครรภ์แฝด
การแก้ไขภาวะมีบุตรยากจะเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็ง
หรือไม่
• จากการศึกษาพบว่าอัตราการเกิดมะเร็งไข่และมะเร็งเต้านมในสตรีที่
เข้ารับการรักษาด้วยเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ที่มีความจาต้องใช้ยา
ฮอร์โมนในการกระตุ้นไข่ในปริมาณมากกว่าปกติ ไม่มีความแตกต่าง
จากกลุ่มประชากรปกติที่มีภาวะมีบุตรยากและไม่ได้รับการรักษาด้วย
ยา ส่วนในด้านการเกิดมะเร็งในทารกที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีช่วย
การเจริญพันธุ์ พบว่าอัตราการเกิดมะเร็งต่าง ๆ ไม่แตกต่างจากทารกที่
เกิดจากการปฏิสนธิตามธรรมชาติเช่นกัน
ทารกที่เกิดจากวิธีแก้ไขภาวะมีบุตรยากจะปกติดี
หรือไม่
• การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์มีจานวนมากขึ้นเรื่อย ๆ จาก
การศึกษาติดตามพบว่า ทารกส่วนใหญ่มีสุขภาพแข็งดี แม้ในช่วงแรก
เกิดทารกอาจจะมีน้าหนักตัวน้อยกว่าทารกปกติทั่วไปและเสี่ยงต่อการ
คลอดก่อนกาหนดก็ตาม แต่อัตราการเกิดความพิการแต่กาเนิดหรือ
ทารกมีความผิดปกติ
ถ้าต้องการมีบุตรอีกคนจะทาอย่างไร
• ในกรณีที่ผ่าตัดแก้ไขสาเร็จและคู่สมรสสามารถมีบุตรได้เองตามธรรมชาติ ก็
สามารถมีลูกได้อีกตามธรรมชาติเช่นกัน โดยไม่ต้องทาการผ่าตัดแก้ไขซ้าอีก
ครั้งก่อนตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
• ในกรณีที่รักษาภาวะมีบุตรยากด้วยวิธีการผสมเทียมแล้วตั้งครรภ์ ในครั้ง
ถัดไปแพทย์จะพิจารณาให้คู่สมรสลองพยายามตั้งครรภ์ตามธรรมชาติไป
ก่อน ถ้าพยายามแล้วไม่ตั้งครรภ์ แพทย์จะแนะนาให้ทาการผสมเทียม โดย
จะพิจารณาตามความเหมาะสม
• ในกรณีที่คู่สมรสตั้งครรภ์ ภายหลังจากการทาเด็กหลอดแก้ว แพทย์มักจะ
แนะนาให้ทาเด็กหลอดแก้วเลยหรือใช้ตัวอ่อนของคู่สมรสที่แช่แข็งซึ่งเหลือ
จากการทาเด็กหลอดแก้วครั้งก่อน เพราะคู่สมรสดังกล่าวมักจะไม่สามารถ
ตั้งครรภ์ได้ด้วยวิธีการรักษาแบบอื่น
สรุป
การรักษาภาวะมีบุตรสามารรักษาได้ครับ แต่จาเป็นต้องอาศัย
ระยะเวลาและความร่วมมือในการรักษาจากคู่สมรส ส่วนการจะ
พิจารณาใช้วิธีรักษาแบบใดนั้นก็ขึ้นอยู่กับความผิดปกติของคู่สมรสที่
ตรวจพบ ดังนั้น คู่สมรสจึงต้องมีความอดทนและเข้าใจถึงแนวทางการ
รักษาของแพทย์ เพื่อให้การรักษาภาวะดังกล่าวประสบความสาเร็จและ
เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาให้น้อยที่สุด
อ้างอิง
• โอภาส เศรษฐบุตร.(2555).ภาวะมีบุตรยากInfertility.ภาควิชา
สูติศาสตร์และนารีเวชวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : เชียงใหม่
• อร่าม โรจนสกุล.(2556)บทบาทของการปฏิสนธินอกร่างกายในการ
ดูแลรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยากในการปฏิสนธินอกร่างกายทางคลินิก.
กรุงเทพฯ: เยลโล่การพิมพ์
สมาชิกในกลุ่ม
• นางสาว อนุตรา ไชยมี 571001096
• นาย อภินพ ค้าเจริญ 571001097
• นางสาว อรปภา วรรณสุทธิ์ 571001098
• นางสาว อังคณา โส๊ะหวัง 571001099
• นางสาว อัจฉราภรณ์ ช้างอ่า 571001100
• นางสาว อัญชสา ศรีสายธนู 571001101
• นางสาว. อันเชิญมา อุทัยรัตน์ 571001102
• นางสาว อาทิตยา เพียราด 571001103
• นางสาว อาภัสรา แก้วเสน 571001104
• นางสาว ฮุซนา สะแหละ 571001105

More Related Content

What's hot

1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก RiskSuradet Sriangkoon
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับtechno UCH
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 

What's hot (20)

ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 

Similar to ภาวะมีบุตรยากA

โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ssuser48f3f3
 
นิ้ง ป๊อบ3
นิ้ง  ป๊อบ3นิ้ง  ป๊อบ3
นิ้ง ป๊อบ3supphawan
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมfainaja
 
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมพราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมpias002
 
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมพราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมpias002
 
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมพราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมpias002
 
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อviriyalekprasert
 
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อviriyalekprasert
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมRoongroeng
 
การฝากตัวอ่อน
การฝากตัวอ่อนการฝากตัวอ่อน
การฝากตัวอ่อนbiwty_keng
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
Bleeding in first half of pregnancy
Bleeding in first half of pregnancyBleeding in first half of pregnancy
Bleeding in first half of pregnancynessasup nessasup
 

Similar to ภาวะมีบุตรยากA (20)

โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
นิ้ง ป๊อบ3
นิ้ง  ป๊อบ3นิ้ง  ป๊อบ3
นิ้ง ป๊อบ3
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมพราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมพราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมพราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
 
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
 
การฝากตัวอ่อน
การฝากตัวอ่อนการฝากตัวอ่อน
การฝากตัวอ่อน
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
Abortion
AbortionAbortion
Abortion
 
Bleeding in first half of pregnancy
Bleeding in first half of pregnancyBleeding in first half of pregnancy
Bleeding in first half of pregnancy
 

ภาวะมีบุตรยากA