SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
ความผิดปกติที่เกิดกับโครโมโซม Y โดยมีโครโมโซม Y
เกินมาจากปกติ โครโมโซมเพศ จึงเป็นแบบ XYY จึงทาให้
โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็น 47 โครโมโซมเป็นแบบ
         44+XYY
Super Man
    เรียกผู้ป่วยที่เป็นแบบนี้ว่า ซูเปอร์
เมน (Super men) ลักษณะของผู้ป่วยใน
เพศชายจะมีรูปร่างสูงใหญ่กว่าปกติ      มี
อารมณ์ร้าย โมโหง่าย บางรายมีจิตใจปกติ
และไม่เป็นหมัน ดังรูป

                                           รูปแสดงลักษณะผู้ป่วยกลุ่มซูเปอร์เมน
ความผิดปกติทางพันธุกรรม เป็นสภาวะผิดปกติที่
บุคคลนั้นได้รับการถ่ายทอดมากับยีนหรือโครโมโซม
ความผิดปกติทางพันธุกรรมเหล่านี้มีสาเหตุเกิดมาจาก
การผ่าเหล่า หรือการเปลี่ยนแปลงภายในดีเอ็นเอของ
คน บางกรณีการผ่าเหล่าเกิดขึ้นขณะที่มีการสร้างเซลล์
เพศในการแบ่งตัวระยะไมโอซิ ส กรณีอื่นๆ อาจเกิด
ได้จากการที่พ่อแม่ถ่ายทอดเซลล์ซึ่งเกิดการผ่าเหล่าอยู่
แล้วในร่าง กายให้กับลูกๆ
ปกติ แล้วเพศชายจะมีโครโมโซมเป็น XY แต่ผู้ที่มีความผิดปกติเป็นไคลน์เฟลเตอร์ ซิน
โดรม จะมีโครโมโซม X เกินมา 1 หรือ 2 โครโมโซม จึงมีโครโมโซมเพศเป็น XXY หรือ XXXY
ลักษณะอาการนอกจากอาจจะมีภาวะปัญญาอ่อนแล้วยังมีรปร่างอ้อนแอ้นตัวสูงชะลูด มีหน้าอกโต
                                                       ู
เป็นหมัน และยิ่งถ้ามีจานวนโคมโมโซม X มาก ก็จะยิ่งมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น
        ไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม เป็น โรคทางพันธุกรรมที่พบได้บ่อยที่สุดโรคหนึ่ง พบได้
ประมาณ 1 ใน 500 ความผิดปกติ ได้แก่ พัฒนาการของลูกอัณฑะการสร้างตัวอสุจิลดลง สร้าง
ฮอร์โมนเพศชายลดน้อยลง อาการอาจแตกต่างกันได้บ้าง ส่วนใหญ่ที่พบคือ ลูกอัณฑะเล็กมาก
เป็นหมัน แขนยาวขายาว เต้านมโตผิดปกติ ไม่มีความต้องการทางเพศ และสมรรถภาพทางเพศ
ลดน้อยลงมาก
        ปัจจุบัน ยังไม่มีการรักษาเฉพาะ ในอนาคตอาจมีการนาวิธียนบาบัดมาใช้ได้ ปัจจุบันมี
                                                                ี
การให้ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศชายเนื่องจากผู้ป่วยมีการสร้างฮอร์โมนได้
น้อย พบว่าช่วยให้อาการต่างๆ จากการขาดฮอร์โมนนี้ดีขึ้นได้บาง สาหรับปัญหาเรื่องเป็นหมัน
                                                          ้
หรืออัณฑะไม่สามารถตรวจอสุจิได้นั้น เมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์อาจต้องทาการตรวจเป็นรายไป
เนื่องจากยังมีโอกาสที่ผู้ป่วยบางรายสามารถสร้างอสุจิได้
กลุมอาการไคลน์เฟลเตอร์ (Klinefelter's syndrome) เป็นความ
              ่
ผิดปกติที่เกิดกับผู้ป่วยเพศชาย ลักษณะจะมีรูปร่างสูง หน้าอกโต เป็นหมัน
และอาจมีปัญญาอ่อนด้วย พบประมาณ 1.3 คน ต่อผู้ชาย 1000 คน สาเหตุ
เนื่องจากมีโครโมโซมผิดปกติคือ โครโมโซมเพศแบบ XXY ทาให้มีจานวน
โครโมโซม 47 โครโมโซม ซึ่งเกินกว่าคนปกติ 1โครโมโซม (ในบางกรณีผู้ป่วย
ที่เป็นโรคนี้อาจจะมีโครโมโซมถึง 48 โครโมโซมเพราะมีโครโมโซมเพศแบบ
XXXY) มีลักษณะดังนี้ เช่น พัฒนาการของลูกอัณฑะการสร้างตัวอสุจิลดลง
สร้างฮอร์โมนเพศชายลดน้อยลง อาการอาจแตกต่างกันได้บ้าง ส่วนใหญ่ที่พบ
คือ ลูกอัณฑะเล็กมาก เป็นหมัน แขนยาวขายาว เต้านมโตผิดปกติ ไม่มีความ
ต้องการทางเพศ และสมรรถภาพทางเพศลดน้อยลงมาก ปัจจุบันยังไม่มีการ
รักษาเฉพาะ ในอนาคตอาจมีการนาวิธียีนบาบัดมาใช้ได้
วิวฒนาการในปัจจุบัน
   ั
           ปัจจุบันมีการให้       ฮอร์โมนเทส
 โทสเตอโรน             ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศชาย
 เนื่องจากผู้ป่วยมีการสร้างฮอร์โมนได้น้อย
 พบว่าช่วยให้อาการต่างๆ             จากการขาด
 ฮอร์โมนนี้ดีขึ้นได้บ้าง สาหรับปัญหาเรื่อง
 เป็นหมัน หรืออัณฑะไม่สามารถตรวจอสุจิ
 ได้นั้น เมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์อาจต้องทา
 การตรวจเป็นรายไป เนื่องจากยังมีโอกาส           โครโมโซมเพศแบบ XXXY
 ที่ผู้ป่วยบางรายสามารถสร้างอสุจิได้
2. โครโมโซม X เกินมาจากปกติ พบได้ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย มีดังนี้
  2.1 ในเพศหญิง โครโมโซมเพศ เป็น XXX หรือ XXXX จึงทาให้โครโมโซมในเซลล์
  ร่างกายเป็น 47 โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม ดังนั้นโครโมโซมจึงเป็นแบบ
    44+XXX หรือ 44+XXXX
     เรียกผู้ป่วยที่เป็นแบบนี้ว่า ซูเปอร์ฟเมล (Super female) ลักษณะของผู้ป่วยใน
                                          ี
  เพศหญิงทั่วไปดูปกติ สติปัญญาต่ากว่าระดับปกติ ลูกที่เกิดมาจากแม่ที่มีโครโมโซม
  แบบนี้อาจมีความผิดปกติเช่นเดียวกับแม่
2.2 ในเพศชาย โครโมโซมเพศเป็น
XXY หรือ XXXY จึงทาให้มีโครโมโซมใน
เซลล์ร่างกายเป็น 47 โครโมโซม หรือ 48
โครโมโซม ดังนั้นโครโมโซมจึงเป็นแบบ
    44+XXY หรือ 44+XXXY
    เรียกผู้ป่วยแบบนี้ว่า กลุมอาการไคลน์
                             ่
เฟลเตอร์ (Klinefelter's syndrome)
ลักษณะของผู้ปวยในเพศชายมีลักษณะคล้าย
                ่
เพศหญิง สะโพกพาย หน้าอกโต จะสูง
มากกว่าชายปกติ ลูกอัณฑะเล็ก ไม่มีอสุจิ
จึงทาให้เป็นหมัน ดังรูป
                                           รูปแสดงลักษณะกลุม
                                                           ่
                                           อาการไคลน์เฟลเตอร์
http://www.maceducation.com/eknowledge/2432209100/0
  2.htm

 http://www.clinicrak.com/article/disarticle.php?no=245

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/scien
  ce03/53/2/heredity/topic05_04.html
นางสาวเกวลิน บารุงศิลป์ เลขที่ 3
 นางสาวเกศินี แต้มสาระ เลขที่ 23
นางสาวนันทนา มาสพเหมาะ เลขที่ 8
  นางสาวมัทนา วนพงษ์ เลขที่ 11
  นายพงศธร หวลสวาสดิ์ เลขที่ 14
   นายรุ่งเรือง แก้วมณี เลขที่ 15
   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

More Related Content

What's hot

โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนPraexp
 
โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1tanyapornrattanapan
 
ภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากAภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากAOnprapa Wannasut
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkruyaippk
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องโรคของเต้านม
ความรู้ทั่วไปเรื่องโรคของเต้านมความรู้ทั่วไปเรื่องโรคของเต้านม
ความรู้ทั่วไปเรื่องโรคของเต้านมthaibreastcancer
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2fainaja
 
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อviriyalekprasert
 
โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1tanyapornrattanapan
 
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมพราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมpias002
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมfainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมfainaja
 

What's hot (16)

โรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีนโรคขาดโปรตีน
โรคขาดโปรตีน
 
โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1
 
ภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากAภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากA
 
โรค
โรค โรค
โรค
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องโรคของเต้านม
ความรู้ทั่วไปเรื่องโรคของเต้านมความรู้ทั่วไปเรื่องโรคของเต้านม
ความรู้ทั่วไปเรื่องโรคของเต้านม
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
Dwarfism (Poster)
Dwarfism (Poster)Dwarfism (Poster)
Dwarfism (Poster)
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม2
 
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
 
โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1โรคขาดโปรตีน1
โรคขาดโปรตีน1
 
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมพราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
พราเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 

Similar to โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม

โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมqwertyuio00
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ssuser48f3f3
 
Health today _may_12
Health today _may_12Health today _may_12
Health today _may_12sms_msn_
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมAnny Na Sonsawan
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามIsyapatr
 
โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]fainaja
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็งsantti2055
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 

Similar to โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม (18)

Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16Biopsychology final unit 9-16
Biopsychology final unit 9-16
 
Health today _may_12
Health today _may_12Health today _may_12
Health today _may_12
 
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านมบทความเรื่องมะเร็งเต้านม
บทความเรื่องมะเร็งเต้านม
 
Bleeding in first half
Bleeding in first halfBleeding in first half
Bleeding in first half
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
 
กลุ่ม 1
กลุ่ม 1กลุ่ม 1
กลุ่ม 1
 
Benign Ovarian Tumor
Benign Ovarian TumorBenign Ovarian Tumor
Benign Ovarian Tumor
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]โรคG6 pd[1]
โรคG6 pd[1]
 
Example osce
Example osceExample osce
Example osce
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็ง
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 

โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม

  • 1.
  • 2. ความผิดปกติที่เกิดกับโครโมโซม Y โดยมีโครโมโซม Y เกินมาจากปกติ โครโมโซมเพศ จึงเป็นแบบ XYY จึงทาให้ โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็น 47 โครโมโซมเป็นแบบ 44+XYY
  • 3. Super Man เรียกผู้ป่วยที่เป็นแบบนี้ว่า ซูเปอร์ เมน (Super men) ลักษณะของผู้ป่วยใน เพศชายจะมีรูปร่างสูงใหญ่กว่าปกติ มี อารมณ์ร้าย โมโหง่าย บางรายมีจิตใจปกติ และไม่เป็นหมัน ดังรูป รูปแสดงลักษณะผู้ป่วยกลุ่มซูเปอร์เมน
  • 4. ความผิดปกติทางพันธุกรรม เป็นสภาวะผิดปกติที่ บุคคลนั้นได้รับการถ่ายทอดมากับยีนหรือโครโมโซม ความผิดปกติทางพันธุกรรมเหล่านี้มีสาเหตุเกิดมาจาก การผ่าเหล่า หรือการเปลี่ยนแปลงภายในดีเอ็นเอของ คน บางกรณีการผ่าเหล่าเกิดขึ้นขณะที่มีการสร้างเซลล์ เพศในการแบ่งตัวระยะไมโอซิ ส กรณีอื่นๆ อาจเกิด ได้จากการที่พ่อแม่ถ่ายทอดเซลล์ซึ่งเกิดการผ่าเหล่าอยู่ แล้วในร่าง กายให้กับลูกๆ
  • 5. ปกติ แล้วเพศชายจะมีโครโมโซมเป็น XY แต่ผู้ที่มีความผิดปกติเป็นไคลน์เฟลเตอร์ ซิน โดรม จะมีโครโมโซม X เกินมา 1 หรือ 2 โครโมโซม จึงมีโครโมโซมเพศเป็น XXY หรือ XXXY ลักษณะอาการนอกจากอาจจะมีภาวะปัญญาอ่อนแล้วยังมีรปร่างอ้อนแอ้นตัวสูงชะลูด มีหน้าอกโต ู เป็นหมัน และยิ่งถ้ามีจานวนโคมโมโซม X มาก ก็จะยิ่งมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม เป็น โรคทางพันธุกรรมที่พบได้บ่อยที่สุดโรคหนึ่ง พบได้ ประมาณ 1 ใน 500 ความผิดปกติ ได้แก่ พัฒนาการของลูกอัณฑะการสร้างตัวอสุจิลดลง สร้าง ฮอร์โมนเพศชายลดน้อยลง อาการอาจแตกต่างกันได้บ้าง ส่วนใหญ่ที่พบคือ ลูกอัณฑะเล็กมาก เป็นหมัน แขนยาวขายาว เต้านมโตผิดปกติ ไม่มีความต้องการทางเพศ และสมรรถภาพทางเพศ ลดน้อยลงมาก ปัจจุบัน ยังไม่มีการรักษาเฉพาะ ในอนาคตอาจมีการนาวิธียนบาบัดมาใช้ได้ ปัจจุบันมี ี การให้ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศชายเนื่องจากผู้ป่วยมีการสร้างฮอร์โมนได้ น้อย พบว่าช่วยให้อาการต่างๆ จากการขาดฮอร์โมนนี้ดีขึ้นได้บาง สาหรับปัญหาเรื่องเป็นหมัน ้ หรืออัณฑะไม่สามารถตรวจอสุจิได้นั้น เมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์อาจต้องทาการตรวจเป็นรายไป เนื่องจากยังมีโอกาสที่ผู้ป่วยบางรายสามารถสร้างอสุจิได้
  • 6. กลุมอาการไคลน์เฟลเตอร์ (Klinefelter's syndrome) เป็นความ ่ ผิดปกติที่เกิดกับผู้ป่วยเพศชาย ลักษณะจะมีรูปร่างสูง หน้าอกโต เป็นหมัน และอาจมีปัญญาอ่อนด้วย พบประมาณ 1.3 คน ต่อผู้ชาย 1000 คน สาเหตุ เนื่องจากมีโครโมโซมผิดปกติคือ โครโมโซมเพศแบบ XXY ทาให้มีจานวน โครโมโซม 47 โครโมโซม ซึ่งเกินกว่าคนปกติ 1โครโมโซม (ในบางกรณีผู้ป่วย ที่เป็นโรคนี้อาจจะมีโครโมโซมถึง 48 โครโมโซมเพราะมีโครโมโซมเพศแบบ XXXY) มีลักษณะดังนี้ เช่น พัฒนาการของลูกอัณฑะการสร้างตัวอสุจิลดลง สร้างฮอร์โมนเพศชายลดน้อยลง อาการอาจแตกต่างกันได้บ้าง ส่วนใหญ่ที่พบ คือ ลูกอัณฑะเล็กมาก เป็นหมัน แขนยาวขายาว เต้านมโตผิดปกติ ไม่มีความ ต้องการทางเพศ และสมรรถภาพทางเพศลดน้อยลงมาก ปัจจุบันยังไม่มีการ รักษาเฉพาะ ในอนาคตอาจมีการนาวิธียีนบาบัดมาใช้ได้
  • 7. วิวฒนาการในปัจจุบัน ั ปัจจุบันมีการให้ ฮอร์โมนเทส โทสเตอโรน ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศชาย เนื่องจากผู้ป่วยมีการสร้างฮอร์โมนได้น้อย พบว่าช่วยให้อาการต่างๆ จากการขาด ฮอร์โมนนี้ดีขึ้นได้บ้าง สาหรับปัญหาเรื่อง เป็นหมัน หรืออัณฑะไม่สามารถตรวจอสุจิ ได้นั้น เมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์อาจต้องทา การตรวจเป็นรายไป เนื่องจากยังมีโอกาส โครโมโซมเพศแบบ XXXY ที่ผู้ป่วยบางรายสามารถสร้างอสุจิได้
  • 8. 2. โครโมโซม X เกินมาจากปกติ พบได้ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย มีดังนี้ 2.1 ในเพศหญิง โครโมโซมเพศ เป็น XXX หรือ XXXX จึงทาให้โครโมโซมในเซลล์ ร่างกายเป็น 47 โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม ดังนั้นโครโมโซมจึงเป็นแบบ 44+XXX หรือ 44+XXXX เรียกผู้ป่วยที่เป็นแบบนี้ว่า ซูเปอร์ฟเมล (Super female) ลักษณะของผู้ป่วยใน ี เพศหญิงทั่วไปดูปกติ สติปัญญาต่ากว่าระดับปกติ ลูกที่เกิดมาจากแม่ที่มีโครโมโซม แบบนี้อาจมีความผิดปกติเช่นเดียวกับแม่
  • 9. 2.2 ในเพศชาย โครโมโซมเพศเป็น XXY หรือ XXXY จึงทาให้มีโครโมโซมใน เซลล์ร่างกายเป็น 47 โครโมโซม หรือ 48 โครโมโซม ดังนั้นโครโมโซมจึงเป็นแบบ 44+XXY หรือ 44+XXXY เรียกผู้ป่วยแบบนี้ว่า กลุมอาการไคลน์ ่ เฟลเตอร์ (Klinefelter's syndrome) ลักษณะของผู้ปวยในเพศชายมีลักษณะคล้าย ่ เพศหญิง สะโพกพาย หน้าอกโต จะสูง มากกว่าชายปกติ ลูกอัณฑะเล็ก ไม่มีอสุจิ จึงทาให้เป็นหมัน ดังรูป รูปแสดงลักษณะกลุม ่ อาการไคลน์เฟลเตอร์
  • 10. http://www.maceducation.com/eknowledge/2432209100/0 2.htm http://www.clinicrak.com/article/disarticle.php?no=245 http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/scien ce03/53/2/heredity/topic05_04.html
  • 11. นางสาวเกวลิน บารุงศิลป์ เลขที่ 3 นางสาวเกศินี แต้มสาระ เลขที่ 23 นางสาวนันทนา มาสพเหมาะ เลขที่ 8 นางสาวมัทนา วนพงษ์ เลขที่ 11 นายพงศธร หวลสวาสดิ์ เลขที่ 14 นายรุ่งเรือง แก้วมณี เลขที่ 15 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1