SlideShare a Scribd company logo
1 of 228
1
รองศาสตราจารย์สมประสงค์
2
การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใด
ก็ตาม สิ่งแรกที่ต้องทำาความ
เข้าใจ คือ ความหมายและ
ขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษา ใน
เรื่องของอารยธรรมโลก อาจ
ตั้งคำาถามนำาว่า
•อารยธรรม คืออะไร
ขตและความหมายของอารยธรรม
3
•อารยธรรมเกิดได้อย่างไร
•ตัวบ่งชี้อะไรที่บ่งบอกความเป็น
อารยธรรม
•มีศัพท์ใดบ้างที่ใกล้เคียงกับ
อารยธรรมและอาจทำาให้แปล
ความหมายคลาดเคลื่อน
•อารยธรรมให้คุณค่าอะไร
4
อารยธรรม คืออะไร
อารยธรรม
คืออะไร
อารยะ =
เจริญ
ธรรม = สิ่ง
ทรงไว้
วัฒนธรรม
คืออะไร
วัฒน =
เจริญ
งอกงาม
ธรรม = สิ่ง
5
วัฒนธรรม คืออะไร
culture
13th century. Via
French from
Latin cultura
“tillage,” from
cult , the past
participle stem
of colere “to
inhabit, cultivate,
worship.”
Originally in
English “piece of
วัฒนธรรม
ค. ๑๓ คำาฝรั่งเศสจาก
ภาษาละติน
cultura “tillage =
การเพาะปลูก ไถ ”
จาก cult ซึ่งเป็น
รากของ colere
“to inhabit =
อาศัย, cultivate =
เพาะปลูก พัฒนา,
คำาภาษาอังกฤษ
6
วัฒนธรรม Culture
• วัฒนธรรม ในทางมานุษยวิทยา
หมายถึง รูปแบบของพฤติกรรม
และการคิดซึ่งคนที่อาศัยอยู่ใน
กลุ่มสังคมได้เรียนรู้ สร้างสรรค์
และแบ่งบันร่วมกัน วัฒนธรรม
แยกความเด่นชัดมนุษย์กลุ่ม
หนึ่งออกจากกลุ่มอื่น และยัง
แยกความแตกต่างมนุษย์ออก
จากสัตว์ วัฒนธรรมมนุษย์รวม
7
8
9
10
11
วัฒนธร
รม
ความคิด ความเชื่อ
สิ่งแวดล้อม
เจตคติ
ค่านิยม
อุดมคติ
รูปธรรม
ปฏิบัติ
เลือกสรร
สร้างส
รรค์
นามธรรม
ปฏิบัติ ถ่ายทอด
12
อารยธรรม civ·i·li·za·tion [sìvv’li záysh’n] นาม
1. สังคมที่ได้พัฒนาแล้วระดับสูงสังคมที่มี
วัฒนธรรมและการจัดระเบียบสังคมระดับสูง
(highly developed society: a society
that has a high level of culture and
social organization)
2. พัฒนาการที่ก้าวหน้าของสังคม ระดับ
พัฒนาการที่ก้าวหน้าของสังคมซึ่งสังเกตได้
จากความซับซ้อนในการจัดระเบียบทาง
สังคมและการเมือง และก้าวหน้าในทางวัตถุ
ธรรม วิทยาศาสตร์ และศิลปะ (advanced
development of society: an advanced
13
อารยธรรม civ·i·li·za·tion [sìvv’li záysh’n] นาม
3. สังคมที่ก้าวหน้าทั่ว ๆ ไป ทุกสังคมซึ่ง
ระดับความก้าวหน้าของพัฒนาการได้
พิจารณาว่ารวมกันเป็นหนึ่งเดียว
(advanced society in general: all
the societies at an advanced level
of development considered
collectively)
4. กระบวนสร้างความศิวิไลย์
กระบวนการสร้างสรรค์วัฒนธรรมระดับ
สูงในสังคมหรือภูมิภาคใด ๆ โดย
14
•อารยธรรมในภาษาไทย เป็นคำา
ภาษาสันสกฤต มาจากคำาว่า
•อารย กับ ธรรม อารยะ ซึ่งเรามัก
ใช้ในความหมายว่า เจริญ ซึ่งมี
ความหมายคล้ายกับ วัฒน ซึ่งมี
ความหมายว่าเจริญเหมือนกัน
•ส่วนธรรมหมายถึง คำาสอนของ
ศาสดา สิ่ง ถูกต้องดีงาม เกิดขึ้นเอง
•เมื่อพิจารณาคำาว่า อารยธรรมกับ
อารยธรรม-วัฒนธรรม
15
อารย ที่มาของคำานี้มาจากคำาใน
ภาษา อินโด-ยูโรเปียน ว่า อรก
(arg) มีความหมายว่า ขาว
กระจ่าง ใส สว่าง คำานี้ใช้ทั้งใน
ภาษาสันสกฤต และ ในภาษา
ของชาวตะวันตก เช่น
•ชาวอารยัน คือ คนที่มีผิวขาว
•อารยธรรม ตามตัวอักษร คือ
ธรรมของคนผิวขาว
•
16
•ปัจจุบันเรามา
ใช้ในความ
หมายของความ
เจริญ ทั้งนี้
เนื่องจากความ
เจริญทั้งหลาย
คนผิวขาว คือ
อารยัน ซึ่งอยู่
ทางตอนเหนือ
ของอินเดีย
17
Civilization เป็นคำาที่ใช้
ภาษาอังกฤษ Ruth
Whitehouse & John Ilkins
กล่าวว่า ทางหนึ่งในการ
สอบสวน ความคิดรวบยอดที่
มีมาก่อนเกี่ยวกับหัวข้อใด ๆ
ก็ตาม คือ การมองไปยังเบื้อง
หลังความหมายในการใช้คำา
18
“คำา civilization” มีความ
‘หมายที่เกี่ยวข้องกับคำา civil’
‘และ civilized’ ซึ่งมาจาก
ภาษาละตินว่า civis หมายถึง
พลเมือง (citizen) เมื่อเรา
แยกคำาว่า civil หมายถึง
เมือง และ -ization ซึ่งมี
ความหมายโดยนัยบอกว่า
เป็น กระบวนการทำาให้เป็น
19
ศัพท์จากคำาอารยธรรม
“CIVIO”
• Civis = citizen: CIT,
CIV
• Civio
• To civilize
• Civilization
• Uncivilized person
• Civil
• Incivility
• City (civitas)
• Citified
• Citizen
• Civility
• Civic
• Civics
• Citizenship (civis)
20
คำาอื่นเกี่ยวกับเมืองที่เรา
ใช้ การเชื่อมโยงแบบเดียวกัน
‘มี urbs’ เป็นภาษาละติน
หมายถึง เมือง (city) ศัพท์
‘urban’ ‘urbane’ และ
‘urbanization’ เป็นคำาที่มี
ความหมายเกี่ยวกับเมือง ทั้ง
สิ้น
21
ในทางประวัติศาสตร์คำา
อารยธรรม มองแก่นสาระที่เป็น
"ชีวิตชาวเมือง" หรือ การพัฒนา
ชีวิตขึ้นมา เป็นชาวเมือง ข้อ
สังเกตคือ ที่ใดมีอารยธรรมที่นั้นมัก
จะมีเมืองอยู่ด้วย อารยธรรมกับเมือง
จึงแยกกันไม่ออก แต่เรายังต้อง
22
นิยามจากมุมมองของนัก
โบราณคดีและนักมานุษยวิทยา ให้
อิสระในการตัดสินคุณค่าสิ่งที่มีใน
สังคมอารยะเปรียบเทียบกับสังคม
อนารยะ เมื่อนำาสิ่งเหล่านี้มาใส่ลงใน
"ชีวิตชาวเมือง" คำานิยามที่ได้จะเน้น
ความมุ่งหมายในการจัดระเบียบของ
สังคม ในมุมกว้างอาจมีวิธีการบ่งชี้
23
วิธีแรก นำามาใช้โดยนัก
ปราชญ์ เช่น เอ แอล โครเบอร์
(A.L.Kroeber) และ โคลิน เรนฟ
ริว(Colin Renfrew) เน้นในความ
ซับซ้อนของการจัดระเบียบ การ
ตีความเช่นนี้ มองอารยธรรม
แตกต่างไปจากรูปแบบอื่นของ
สังคมมนุษย์ ไม่ใช่เป็นการแบ่ง
ประเภท แต่เป็นเพียงระดับความ
24
วิธีที่สอง ยังเกี่ยวข้องกับการจัด
ระเบียบองค์การ แต่เน้นประเภทของการจัด
องค์การภายในทางสังคม การวิเคราะห์แนว
นี้ อยู่บนพื้นฐานงานนักมานุษยวิทยา
พัฒนาการของศตวรรษที่ ๑๙ บิดาผู้ก่อตั้ง
วิชา มานุษยวิทยา ปราชญ์ชาวอเมริกัน คือ
เลวิส มอร์แกน (Lewis Morgan) มอร์แกนได้
จำาแนก วิวัฒนาการของสังคมออกเป็น ๓
ส่วน คือ
ป่าเถือนหรือสังคมไม่มีศาสนา (savagery
หรือ ban society)
อนารยธรรมหรือสังคมเผ่า (barbarism
25
สิ่งที่สำาคัญและมีอิทธิพลที่สุด
ได้แก่ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ
สังคมรัฐ สังคมรัฐเป็นประเภทที่
แสดงให้เห็น
โครงสร้าง การแบ่งชนชั้น
ระดับสูง การปกครองรวมศูนย์
อย่างมั่นคง และชนชั้นปกครอง
มืออาชีพ ระเบียบและการ
ควบคุมให้ธำารงอยู่จากระบบ
กฎหมายและระบบของรัฐในการ
26
วิธีที่สาม เป็นการแสวงหาตัว
บอกลักษณะที่กำาหนดความสัมพันธ์
ภายในสำาหรับสังคมมากกว่า สูตรที่
ง่ายที่สุด คือ สิ่งที่นักมานุษยวิทยา
ชาวอเมริกันนาม ไคลด์ คลักฮอห์น
(Clyde Kluckhohn ) กำาหนดว่า สังคม
อารยะควรลักษณะมี ๒ ใน ๓ ของ
ลักษณะต่อไปนี้ คือ
๑. มีเมืองที่มีประชากรมากกว่า
๕,๐๐๐ คน
๒. มีการเขียน
27
ปฐมภูมิ
๑.การตั้งถิ่นฐาน
ในเมือง
๒.แรงงานผู้
ชำานาญทำางาน
เต็มเวลา
๓.เน้นความ
สำาคัญในการ
ผลิตเกินความ
ต้องการ
ทุติยภูมิ
๖.งานก่อสร้าง
สาธารณะถาวร
เป็นอนุสรณ์
สถานได้
๗.การค้าทาง
ไกล
๘.งานศิลปะ
อนุสรณ์สถานที่
ได้มาตรฐาน
28
• ลักษณะขั้นปฐมภูมิคือความมุ่ง
หมายของการจัดระเบียบ
• ขั้นทุติยภูมิคือลักษณะของ
วัฒนธรรมวัตถุ ซึ่งศึกษาได้จาก
โบราณวัตถุ และยังมีการคงอยู่
ของลักษณะขั้นปฐมภูมิบาง
ประการหรือทั้งหมดอยู่
• สำาหรับอาคารสาธารณะที่เป็น
อนุสรณ์สถานได้ มักบ่งชี้ถึงการ
29
วิธีการสุดท้ายนี้เป็นการ
ประนีประนอมระหว่างคำานิยามที่
กว้างของโครเบอร์ (Kroeber) กับ
เรนฟริว (Renfrew) และ
คลัคฮอห์น2
(Kluckhohn) ซึ่งเป็น
เครื่องชี้วัดพื้นฐานที่สะดวก ใน
ขณะเดียวกัน ยังเป็นการให้
นิยามที่กว้างและต่อเนื่องเป็น
โครงมากกว่าวิธีที่สองซึ่งอยู่บน
30
มนุษย์สร้างสิ่งแวดล้อม
ข้อคิดคือ จะเป็นวิธีการใด
ก็ตาม การพิจารณาต้องไม่ยึด
มั่น อารยธรรมเป็นการประดิษฐ์
สร้างสรรค์ของมนุษย์ เป็น
เครื่องมือขั้นสูงสุดของมนุษย์
สิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการ
ประดิษฐ์ สร้างสรรค์ เช่น เรือน
ที่พักอาศัย ภาษา ซึ่งมนุษย์
31
มนุษย์สร้างสิ่งแวดล้อม
อารยธรรมยังเป็นสิ่งแวดล้อมซึ่ง
ได้สร้างขึ้นในช่วงเวลาที่สั้นมาก
๕,๐๐๐ ปี นับแต่การปรากฏของเมือง
ครั้งแรก มีช่วงความยาวของระยะ
เวลาน้อยมาก ทั้งในสัดส่วนใน
พัฒนาการวิวัฒนของมนุษย์เอง (อาจ
อยู่ในช่วงประมาณ ๕ ล้านปี) หรือมี
ความสัมพันธ์กับยุคทางธรณี วิทยา
ของโลก (ประมาณ ๔,๕๐๐ ปีมาแล้ว)
32
ลักษณะของสังคมอารยะ
คาร์ลตัน เจ เอช ฮาเยส
(Carlton J.H. Hayes) ได้กล่าวถึง
ลักษณะสังคมอารยะไว้บาง
ประการ คือ เมืองที่มีระบบ
การเมือง สังคม เศรษฐกิจรวมอยู่
ในนั้นทั้งหมด คำาว่าอารยธรรม
ในภาษาอังกฤษ คือ คำาว่า
civilization มาจากคำาภาษาละติน
33
ลักษณะของสังคมอารยะ
ฮาเยสพิจารณาลักษณะองค์
ประกอบของสังคมอารยะไว้ดังนี้
การเกษตรกรรม การเกษตร
กรรมเป็นสถาบันหลักของทุก
อารยธรรมในสมัยโบราณ
เกษตรกรรมมีมาตั้งแต่ สมัยบรรพ
กาลด้วย แต่เกษตรกรรมที่มีอยู่ใน
สังคมอารยะ ที่ดินไร่นาขึ้นอยู่กับ
34
ลักษณะของสังคมอารยะ
ประชากร ในสังคมอารยะมี
ประชากรจำานวนมาก สังคมบรรพ
กาลอาจมีขนาดใหญ่หรือเล็ก
ตัวอย่าง อาณาจักรอียิปต์ ประชากร
เริ่มมาจาก ๑ ถึงหลายล้านคน
แทนที่จะเป็นจำานวน ๒-๓ พันคนที่
อยู่ในอาณาเขตเดียวกันดังเช่นสมัย
เริ่มแรก อาณาเขตสังคมอารยะจะ
ครอบครองอาณาเขตกว้างขวาง
35
ลักษณะของสังคมอารยะ
ตัวอย่าง
อียิปต์ก่อนจะรวมตัวกันเป็น
หนึ่ง ก็จะมีเผ่าขนาดเล็กจำานวน
มากครอบครองดินแดนอยู่ ต่อ
มามีการรวมตัวเป็นกลุ่มเดียว
คือ อียิปต์ ได้ครอบครองลุ่มนำ้า
ไนล์ สามเหลี่ยมแม่นำ้าไนล์ และ
ดินแดนที่อยู่ลึกเข้าไป
36
สถาบัน สังคมอารยะได้มีการ
พัฒนาสถาบัน สถาบันที่เกิดขึ้น
นี้สามารถแยกศึกษาได้เป็น
เรื่อง ๆ เช่น เราสามารถศึกษา
การ ปกครอง เศรษฐกิจ ศิลปะ
วิทยาศาสตร์อีจิปต์ และอื่น ๆ
ในสังคมบรรพกาล สถาบัน
เหล่านี้เป็นการผสมรวม ๆ กัน
ไป ซึ่งเราไม่สามารถแยกออก
37
การเขียนตัวอักษร สังคม
อารยะมีระบบการเขียนเพื่อเก็บ
บันทึกและส่งทอดวรรณกรรม
ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และสิ่งอื่น ๆ ทุกสิ่งที่ได้คงอยู่
ในการดำาเนินชีวิตของตน
38
การใช้โลหะ สังคมอารยะเข้าใจ
การใช้โลหะ และสามารถแยก
โลหะออกมาจากสายแร่ธรรมชาติ
ได้ กลุ่มสังคมบรรพกาล ใช้โลหะ
เช่น ทองคำาซึ่งพบในลักษณะที่เป็น
ธรรมชาติและอาจนำามาทำาเป็นรูป
ร่างได้อย่างง่าย ๆ แต่โดย ทั่วไป
คนในสังคมบรรพกาล จะขึ้นอยู่กับ
เครื่องมือและอาวุธหรือหินซึ่ง
สามารถทำามาตกแต่งได้โดยตรง
39
บทที่ ๒
กำาเนิดของอารยธรรม
•ต้นกำาเนิดหรือที่มาของอารยธรรม
นักโบราณคดีและนักมานุษยวิทยา
ได้ศึกษาการปรากฏของ
อารยธรรม ตั้งแต่ปลาย ศตวรรษที่
๑๙ และได้เสนอทฤษฎีต่าง ๆ
มากมาย เพื่อรวบรวมการ
เปลี่ยนแปลงรูปแบบในสังคมมนุษย์
เราจะมองใน ลักษณะทฤษฎีที่มี
40
ทฤษฎีการต่อสู้-เปลี่ยนแปลงเพื่อ
ยังชีพ
การปฏิบัติทางเศรษฐกิจ โดย
เฉพาะเศรษฐกิจเพื่อยังชีพ ซึ่งมัก
กำาหนดเป็นปัจจัยขั้นปฐมภูมิโดย
เฉพาะ เน้นจุดความสนใจที่บทบาท
ของการควบคุมนำ้า มีข้อเท็จจริง
สนับสนุนว่า อารยธรรมสมัยเริ่ม
แรกมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ
การเกษตรกรรมที่ใช้ระบบการ
ควบคุมนำ้าขนาดใหญ่ รูปแบบที่ได้
41
พื้นฐานการอ้างของวิททโฟ
เกล คือว่า หลายอารยธรรมได้
ปรากฏขึ้นในสภาพแวดล้อมอัน
แห้งแล้ง ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่
การเกษตรกรรมจะขึ้นอยู่กับฝน
ตามธรรมชาติ แต่เพียงประการ
เดียว ในการเพาะปลูก
เกษตรกรต้องนำานำ้าเข้ามายังไร่
นา ต้องมีการวางแผนการ
42
การจัดระเบียบกิจกรรมเหล่านี้
ทำาให้เกิดความจำาเป็นต้องมีอำานาจ
ศูนย์กลางควบคุมการจัดส่งนำ้าให้มี
อยู่อย่างสมำ่าเสมอ ซึ่งเป็นบุคคลที่มี
อำานาจมหาศาล อำานาจนี้เตรียมพื้น
ฐานของการปรากฏอารยธรรมใน
รูปแบบหนึ่งโดยเฉพาะ เรียกว่า
Oriental Despotism สร้าง
ลักษณะอำานาจเดี่ยวเป็นอำานาจ
สูงสุดอยู่ที่ ศูนย์กลาง เช่น วิหารใน
43
ทฤษฎีการต่อสู้-เปลี่ยนแปลงเพื่อ
ยังชีพ
กอร์ดอน ไคลด์ (Gordon
Clyde) นักปราชญ์สมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ก็คิดว่า การควบคุม
นำ้าเป็นสิ่งสำาคัญ อย่างไรก็ตาม เขา
ไม่เพียงแต่เน้นการจัดองค์กรรวม
เข้าสู่ศูนย์กลางที่ต้องการ ดำาเนิน
การควบคุมนำ้า ความอุดม สมบูรณ์
ของไร่นาที่นำ้าจึงเป็นสิ่งซึ่ง จะผลิต
สิ่งที่เกินความต้องการออกมา และ
44
ทฤษฎีแรงกดดันด้านประชากร
ทฤษฎีที่มีความสำาคัญกลุ่มที่
๒ มองว่า แรงกดดันด้าน
ประชากรเป็นตัวเคลื่อนไหว
สูงสุดในการพัฒนาอารยธรรม
ทฤษฎีนี้เป็นการมองทางกว้าบน
พื้นฐานหลักที่ว่า การขยายตัว
ของประชากรเป็นลักษณะคงที่
ของวิวัฒนาการมนุษย์และรับ
45
ทฤษฎีแรงกดดันด้านประชากร
ประชากรจะเพิ่มขยายจาก
ปัจจัยที่นักเศรษฐศาสตร์นาม
โธมัส มัลธัส (Thomas
Malthus) ได้ชี้ประเด็นในตอน
ต้นศตวรรษที่ ๑๙ ว่า การ
สำารองอาหารมีจำากัด โรคและ
ตัวทำาลายโดยธรรมชาติเป็นไป
ตามธรรมชาติ ในสภาพ
46
ทฤษฎีแรงกดดันด้านประชากร
บางท่านเชื่อว่าประการนี้เองนำา
ไปสู่ทางพัฒนาใหม่ๆ ในการจัด
ระเบียบทางเศรษฐกิจและสังคม
เมื่อครอบครัวอยู่บนพื้นฐานของ
การปฏิบัติเพื่อยังชีพและการจัด
ระเบียบองค์กรพื้นฐานสำาคัญซึ่ง
สร้างสังคมขนาดเล็กก็ไม่สามารถ
สนับสนุนชุมชนใหญ่ได้
47
ทฤษฎีความ
ขัดแย้ง
ทฤษฎีความขัด
แย้ง
นักปราชญ์ชาวอเมริกันนาม
โรเบอร์ต คาร์เมโร (Robert
Carmeiro) ผู้เสนอมุมมองหนึ่ง
ที่เป็นหลัก อ้างว่าในบริเวณที่มี
การกำาหนดเขต เมื่อมีการขยาย
เขตเข้าไปสู่บริเวณใกล้เคียง
(จากเหตุปัจจัยสิ่งแวดล้อม เช่น
ภูเขา ทะเลทราย ทะเล หรือ
เป็นเพราะว่าบริเวณเหล่านี้
48
ทฤษฎีความ
ขัดแย้ง
ทฤษฎีความขัด
แย้ง
แนวโน้มที่จะมีชุมชนใหม่
เกิดขึ้นและป้องกันตนเองไม่ให้
ถูกโจมตีจากภายนอก มีการ
เลือกผู้นำาขึ้นมาเพื่อจัดการด้าน
สงคราม และถ้าสำาเร็จอาจมี
อำานาจทั่วไปมากขึ้น มีความ
ถาวรมากขึ้นในชุมชน แล้วก็
กลายมาเป็นการจัดตั้งชนชั้น
49
ทฤษฎีความ
ขัดแย้ง
ทฤษฎีความขัด
แย้ง
การตีความต้นกำาเนิด
อารยธรรมของกลุ่มมาร์ก
ซิสต์(Marxists)กำาหนดการ
เน้นในปัจจัยทางเศรษฐกิจ รวม
ถึง กระบวนการที่เน้น
การเกษตร ความชำานาญทาง
ช่างฝีมือ มาร์กซิสต์เน้นความ
ขัดแย้งมากเกินไป ประการนี้
50
ทฤษฎีความ
ขัดแย้ง
ทฤษฎีความขัด
แย้ง
ตามทัศนะนี้ ข้อเสนอเป็นการ
เน้นตัวอย่าง โดยนักปราชญ์
ชาวรัสเซียชื่อ อิกอร์ ไดอาโค
นอฟ (Igor M.Diakonoff) รัฐ
เกิดขึ้นเป็นผลของการขัดแย้ง
ทางชนชั้นและหน้าที่ของมัน
คือ การรักษาอำานาจให้เหนือ
กว่าผู้อื่นของชนชั้นปกครอง
51
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน
ปัจจัยอื่นที่อภิปรายถึงวิธีการ
ที่อารยธรรมพัฒนาขึ้นมา บาง
ครั้งพิจารณาว่าความสำาคัญ
เบื้องแรก คือ การแลกเปลี่ยน
ทั้งการแลกเปลี่ยนระยะทาง
ไกลหรือภายในบริเวณที่
อารยธรรมเกิดขึ้น ผู้สนับสนุน
ทัศนะนี้มองว่า พัฒนาการของ
52
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน
เมโสโปเตเมีย ขาดวัสดุที่
จำาเป็นมากมายในการดำาเนิน
ชีวิตอารยะ ซึ่งได้แก่โลหะ หิน
และไม้สักสำาหรับการก่อสร้าง
ได้นำาไปสู่พัฒนาการจัดระเบียบ
ยึดศูนย์กลางเพื่อควบคุมจัดหา
การขนส่ง การกระจายวัตถุดิบ
และสินค้าอื่น การจัดระเบียบ
53
ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน
การแลกเปลี่ยนยังรวมไปถึง
สินค้า เริ่มจากเป็นตลาดซึ่ง
ตำาแหน่งที่มีการแลกเปลี่ยน
สินค้า มักเป็นตำาแหน่งที่ขยาย
ตัวขึ้นมาเป็นเมือง นอกจากการ
แลกเปลี่ยนสินค้าแล้วแหล่ง
ชุมนุมเหล่านี้ยังแลกเปลี่ยน
ความคิด รูปแบบในการดำาเนิน
54
ทฤษฎีการจัดระเบียบทางสังคม
กลุ่มทฤษฎีสุดท้ายมอง
ปัจจัยทางสังคมเป็นเบื้อง
แรกและพิจารณาว่า
การเปลี่ยนแปลงใน
เทคโนโลยี การปฏิบัติ เพื่อ
ดำารงชีพ การค้าและอื่น ๆ
เป็นสิ่งที่ตามมามากกว่า
55
ทฤษฎีการจัดระเบียบทางสังคม
นักมานุษยวิทยาชาวอเมริกัน
ชื่อเอลแมน เซอรวิซ (Elman
Service) อ้างว่ากระบวนการ
สำาคัญตรงนี้ คือ การสร้าง
สถาบันของผู้นำาศูนย์กลาง เขา
เชื่อว่า
ในสิ่งแวดล้อมที่แน่นอน
(ภาวะเงื่อนไขสิ่งแวดล้อมของ
56
ทฤษฎีการจัดระเบียบทางสังคม
ผลลัพภ์ที่ได้ คือ การปรากฏ
สิ่งที่เราเรียกว่า การปกครอง
อย่างแท้จริงและอารยธรรม นัก
โบราณคดีชาวอเมริกันชื่อ โร
เบอร์ต เอ็ม อาดัม (Robert M.
Adams) ได้อ้างว่า ในกรณีเม
โสโปเตเมีย ความชำานาญใน
ทางเศรษฐกิจ ความแตกต่างใน
ทางสังคม และอำานาจรวม
ศูนย์กลางได้เกี่ยวข้องร่วมกัน
57
ยุคหิน (ก่อนอารยธรรม)
เป็นช่วงเริ่มแรกของ
พัฒนาการมนุษย์ก่อนการใช้
โลหะ เครื่องมือและอาวุธทำามา
จากหิน การกำาหนดเวลาของ
ยุคหินแตกต่างกันไปในส่วน
ต่าง ๆ ของโลก ส่วนก้าวหน้า
มากที่สุด คือ ตะวันออกกลาง
และเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
สิ้นสุดลงเมื่อ ๖๐๐๐ ปี ก่อน
58
ยุคหิน (ก่อนอารยธรรม)
ในยุโรปได้เชื่อมโยงต่อมา
จนกระทั่ง ๔๐๐๐ ก่อน
คริสตกาล หรือหลังจากนั้น ยุค
หินในอเมริกาเริ่มต้น เมื่อมนุษย์
ได้ไปถึงโลกใหม่ครั้งแรกบางที
อาจเมื่อ ๗๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว แต่
ยุคหินเริ่มแรกเมื่อประมาณ
๒๕๐๐ ก่อนคริสตกาล
59
ยุคหิน (ก่อนอารยธรรม)
ตลอดช่วงเวลาอันยาวนาน
ของยุคหิน ได้มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างมากในด้าน
ภูมิอากาศและเงื่อนไขอื่น ๆ ที่มี
ผลกระทบต่อวัฒนธรรมของ
มนุษย์ มนุษย์เองได้เกี่ยวข้อง
กับรูปแบบของตน ในช่วงหลัง
จากนี้ ยุคหินได้แบ่งออกเป็น ๓
ช่วง คือ ยุคหินเก่า ยุคหินกลาง
60
61
62
• G.A. Maclean/Oxford Scientific Films
• เครื่องมือหินกะเทาะ มนุษย์ได้มีเครื่องใช้มาแล้วอย่างน้อย ๒.๕ ล้านปี
เทคโนโลยีเริ่มแรกสุดเป็นการใช้เครื่องมือสับ ตัด ทุบ รูปร่างตามก้อน
กรวด จากยุคหินสมัยต่อมา นักโบราณคดีได้แยกลักษณะออกมาถึง
๖๐ ถึง ๗๐ แบบมาตรฐานซึ่งเป็นเครื่องมือในใช้งานตามวัตถุประสงค์
เฉพาะ บางชิ้นใช้สำาหรับพิธีกรรม ในภาพนี้คือหัวขวาน หัวธนู หินทุบ
สว่าน และหินขูด ทำาด้วยหิน วัสดุ เช่น กระดูกและงาช้างก็มีการนำามา
ใช้เป็นเครื่องมือ เครื่องมือคล้ายกันนี้สามารถทำาจากการกะเทาะ
โดยตรงจากวัตถุดิบ หรือทางอ้อมจากการใช้หินทุบ
• Microsoft ® Encarta ® Reference Library 2003. © 1993-2002
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
• 8000 BC - 6000 BC
• เริ่มต้นการเกษตรกรรม
• การเปลี่ยนจากการล่าสัตว์และการเก็บ
ของป่ามาขึ้นอยู่กับการผลิตอาหาร
เปลี่ยนแปลงไปอย่างสมำ่าเสมอ เริ้มต้น
เมื่ออย่างน้อย ๑๐,๐๐๐ ปีที่แล้ว
เกษตรกรรุ่นแรกเรียนรู้ในการเก็บ
รักษาเมล็ดพืชที่มี่ใช้ประโยชน์ได้และ
นำามาปลูกใหม่ และรู้จักการจับสัตว์มา
เลี้ยงเป็นเลี้ยงสัตว์ ศูนย์กลางของ
การเกษตรกรรมปรากฏขึ้นในหลาย
ส่วนของทวีปเอเชีย แอฟริกา ยุโรป
79
ยุคหินเก่า (Paleo = old + lithic
= stone) เป็นยุคที่มีช่วงเวลา
ยาวนานที่สุด เริ่มต้นเมื่อ
ประมาณ ๒ ล้านปีมาแล้ว เครื่อง
มือหินนำามาใช้ครั้งแรกเมื่อ
ประมาณ ๑๓,๐๐๐ ปีก่อน
คริสตกาล บรรทัดฐานการดำารง
ชีวิตคือการล่าสัตว์และการเก็บ
อาหาร เริ่มแรกใช้เครื่องมือหิน
โดด ๆ เช่น กรวดหรือเครื่องมือ
80
ในตอนปลายยุคหินเก่า มนุษย์
สมัยใหม่ (Modern human) คือ
Homo sapiens sapiens ได้ทำา
เครื่องมือเฉพาะขึ้นมาเป็นเข็ม
หรือเบ็ด ในถำ้าของยุโรป เช่น
ถำ้าโครมันยองในประเทศ
ฝรั่งเศส จิตรกรรม ฝาผนังและ
ประจักษ์หลักฐานแสดงให้เห็น
พิธีกรรมความเชื่อและการแบ่ง
ชั้นทางสังคม ที่มีความเป็นไปได้
81
หลังจาก ๑๓,๐๐๐ ปีกอ่นคริส
ตกาล องค์ประกอบทางอากาศ
มีผลต่อสิ่งแวดล้อมและความ
สามารถในการแสวงหาอาหาร
ของมนุษย์มากขึ้น ในภูมิภาคป่า
เขตร้อนและเขตอบอุ่น เครื่องมือ
ต่าง ๆ ในยุคหินเก่า หินกระเทา
ะยังคงปรับมาใช้ในในเงื่อนไข
ใหม่ ช่วงนี้เป็นช่วงที่เรียกว่ายุค
หินกลาง (Mesolithic:meso =
82
ในตะวันออกกลางและอเมริกา
กลาง หมู่บ้านเกษตรกรได้เริ่ม
พัฒนาขึ้นมาเมื่อ ๘,๐๐๐ ปีก่อน
คริสตกาล เป็นช่วงที่เรียกว่า ยุค
หินใหม่ (Neolithic: Neo =
New + lithic = stone) เครื่อง
มือหินมีความหลายหลากและขัด
เรียบ จาก ๖,๐๐๐ ปีก่อน
คริสตกาล เครื่องปั้นดินเผา
ปรากฏขึ้นในตะวันออกกลาง
83
บทที่ ๓
อารยธรรมเมโสโปตาเมีย
•เมื่อประมาณ ๔๐๐๐ ก.ค. ผู้คน
จำานวนมากเริ่มเคลื่อนย้ายไปสู่
ที่ราบลุ่มนำ้าแถบเมโสโปเตเมีย
และอียิปต์ จากประมาณ ๓๐๐๐
ก.ค. เมื่อมีการประดิษฐ์ตัวอักษร
ขึ้นในประวัติศาสตร์ ชีวิตชาว
เมืองและการจัดระเบียบสังคมจัด
ตั้งรัฐเป็นศูนย์กลางขึ้นมาใน
84
เมโสโปเตเมีย
และอียิปต์เป็น
อารยธรรมที่เก่า
แก่กว่าอารยธรรม
อื่นในสมัยเริ่ม
แรก ทั้ง ๒
อารยธรรมดำารง
อยู่ มีต้นกำาเนิด
เป็นของตนเองใน
อีจิปต์กับเมโส
โปตาเมีย
85
ชีวิตชาวอีจิปต์อยู่บนพื้นฐาน
หลักจริยธรรมแน่นอน อารยธร
รมเมโสโปตาเมียอยู่บนพื้นฐาน
ระบบกฎหมาย ชาวอีจิปต์ใช้
ชีวิตนี้อย่างร่าเริงและมุ่งในชีวิต
หลังตายมากกว่า ทัศนคติของ
ชาวเมโสโปเตเมียที่มีต่อชีวิตนี้
มืดมัวและดำาเนินชีพ โดยไม่
เกี่ยวข้องกับชีวิตหลังความตาย
86
“อารยธรรมเมโสโปตาเมีย
กล่าวหยาบ ๆ เป็นอารยธรรม
ของ ๓-๔ อารยธรรมที่เด่น ๆ ถ้า
กำาหนดสัญลักษณ์ ก็มีความแตก
ต่างกัน คือ ลักษณะทาง
ภูมิศาสตร์ของบริเวณทั้งสองนี้
คือ ในอีจิปต์ แม่นำ้าไนล์ไหลจาก
ใต้ไปเหนือ ที่ราบสองฝั่งนำ้าแยก
โดดเดี่ยวออกจากเครื่องกั้น
87
88
คำาว่า เมโสโปตาเมีย Mesopotamia มาจากคำา
ว่า meso=ระหว่าง กับคำาว่า potamus=แม่นำ้า รวม
กันแล้วมีความหมายว่า ดินแดนระหว่างแม่นำ้า
แม้ว่าส่วนนี้เป็นการอ้างถึงเฉพาะส่วนเหนือของ
ที่ราบของแม่นำ้า ในการใช้ โดยทั่ว ๆ ไป ใช้กับ
บริเวณที่เป็นรูปวงโค้งที่อยู่ระหว่างทะเลเมดิเตอเร
เนียน กับอ่าวเปอรเซีย นักประวัติศาสตร์ บางคน
ได้เรียกบริเวณนี้ว่า ที่ราบพระจันทร์เสี้ยวอันอุดม
89
แม่นำ้ายูเฟรติสและไทกริสไหลคู่เป็นเส้นขนาน
ที่ราบลุ่ม สามารถแบ่งเป็นหน่วยทางภูมิศาสตร์ได้
อย่างเด่นชัด และ ประวัติความเป็นมาของมันยังเป็น
ช่วงที่เด่น ส่วนที่อยู่ตอนล่าง ของที่ราบใกล้ปากอ่าว
เป็นที่รู้จักกัน ในนามซูเมอร์ (Sumer) ถัดขึ้นไปเป็น
อัคคัด (Akkad) เมื่อรวมกันเรียกว่า บาบิโลเนีย
(Babylonia) ทางเหนือ ของส่วนนี้คือเมโสโปตาเมีย
เป็นดินแดนของอัสสิเรีย (Assyria) คาลเดีย
(Chaldia) ฯลฯ
90
หลักฐานโบราณคดีเมโสโปตา
เมียสมัยเริ่มแรกอารยธรรมเมโสโปเตเมียเป็น
อารยธรรมเก่าแก่ที่สุด เท่าที่ทราบกันใน
ประวัติศาสตร์ เชื่อว่า ยืนยงอยู่ใน ช่วง
๔,๐๐๐ ปีก่อน ค.ศ. เมื่อ ๕-๖ พันปีก่อน
คนหลายกลุ่มได้ ปรากฎตัว มาตั้ง
ถิ่นฐานในที่ราบลุ่มแม่นำ้าไนล์และเกี่ยว
ข้องกันในวิถีการดำาเนินชีวิตของคน
เหล่านั้น
หลักฐานทางโบราณคดี คือผอบ
สมัยเมโสโปเตเมียนี้เป็นเครื่องเคลือบ
(Iraq Museum, Baghdad) จากสมัย หิน
ใหม่ อายุระหว่าง 5000 ถึง 3000 BC. พบ
ในตะวันออกกลาง
ผอบนี้เป็นตัวแทนการออกแบบ
แสดงให้เห็นศิลปะเปอร์เซียโบราณเรียก
“ว่า animal style” การตกแต่งบนแจกัน
91
หลักฐานโบราณคดีเมโสโปตา
เมียสมัยเริ่มแรก
อารยธรรมเมโสโปเตเมียเป็น
อารยธรรมเก่าแก่ที่สุด เท่าที่ทราบกัน
ในประวัติศาสตร์ เชื่อว่า ยืนยงอยู่ใน
ช่วง ๔,๐๐๐ ปีก่อน ค.ศ. เมื่อ ๕-๖ พันปี
ก่อน คนหลายกลุ่มได้ ปรากฎตัว มาตั้ง
ถิ่นฐานในที่ราบลุ่มแม่นำ้าไนล์และเกี่ยว
ข้องกันในวิถีการดำาเนินชีวิตของคน
เหล่านั้น
หลักฐานทางโบราณคดี คือผอบ
92
หลักฐานโบราณคดีเมโสโปตา
เมียสมัยเริ่มแรก
ผอบนี้เป็นตัวแทนการออกแบบ
แสดงให้เห็นศิลปะเปอร์เซียโบราณ
“เรียกว่า animal style” การตกแต่ง
บนแจกันเป็นสัตว์ กรณีนี้ใช้ปลา
เป็นสัญญลักษณ์
เนื่องจากเผ่าเร่ร่อนโบราณใน
ตะวันออกกลาง ไม่มีบันทึกภาษา
เขียนหรือสิ่งก่อสร้างถาวร งาน
93
หลักฐานโบราณคดีเมโสโปตา
เมียสมัยเริ่มแรก
94
๑. ประวัติของเมโสโปเตเมีย
ตอนต้นยังไม่แน่ชัด แต่ใน
ศตวรรษที่ ๔ ก่อน ค.ศ. ชาวสุเม
เรียนแห่งเอเซียกลาง อยู่ในการ
ควบคุมของที่ราบตอนล่าง ชาวสุ
เมเรียนได้เข้ายึดเหนือ บริเวณนี้
จนกระทั่ง ๒๔๐๐ ปีก่อน ค.ศ.
บางทีประมาณช่วงนี้ ชาวสุเม
เรียนอาจพ่ายแพ้แก่ พระเจ้าซาร์
95
๒. ๑๘๐๐ ปี ก่อน ค.ศ. ชาวสุเม
เรียนพ่ายต่อพวกอมอไรท์หรือบา
บิโลเนียน ซึ่งต่อมาได้สร้าง เมือง
บาบิโลเนีย กษัตริย์ที่มีชื่อเสียง
มากที่สุด คือ ฮัมมูราบี ชาวบาบิ
โลนได้ให้ สาระต่ออารยธรรม ไท
กริส-ยูเฟรติสมาก บาบิโลเนียถูก
โค่น อำานาจโดยพวกแคสไซท์
(Kassites) เมื่อประมาณ ๑๗๕๐
96
๓. อัสซีเรียนได้ตั้งอาณาจักร
เล็ก ๆ เมื่อต้น ๓๐๐๐ ปีก่อน ค.ศ.
ประมาณ ๕๐๐ ไมล์ไปทางเหนือ
ของแม่นำ้าไทกริส ประมาณ
๑๓๐๐ ปีก่อน ค.ศ. อัสซีเรียนได้
ขยายมายังลุ่มนำ้าตอนเหนือ และ
๓๐๐ ปี ต่อมาได้ยึดอำานาจพวก
แคสไซท์ ผู้ปกครองที่มีชื่อเสียง
คือ ซาร์กอนที่ ๒ (Sargon II) เซน
97
ในช่วง ๘-๙ ศตวรรตก่อน
ค.ศ. การเมืองของกษัตริย์เหล่านี้
คุมขยายไป เหนือดินแดนซีเรีย
โฟนีเชีย อิสราเอลและอีจิปต์ แต่
ชัยชนะอันยิ่งใหญ่เหล่านี้ เป็นการ
รวมปึกแผ่นไม่ได้และ ผู้บริหารไม่
ดี พวกอัสสิเรียก็ตกอยู่ในอำานาจ
คาลเดีย
98
ประวัติศาสตร์
99
๔. พวกคาลเดียนได้ตั้ง
ถิ่นฐานทางตะวันออกเฉียงใต้
ของที่ราบลุ่มแม่นำ้าไทกริส-ยูเฟ
รติส เริ่มแรกพวกคาลเดียน ได้
รับใช้ชาวอัสสิเรียน ในศตวรรษ
ที่ ๗ ได้ปฏิวัติยึดอำานาจจากอัสซี
เรียน กษัตริย์ที่มีชื่อเสียงที่สุด
ของคาลเดียน คือ เนบูคัดเนสซา
(ศตวรรษที่ ๖ ก่อนคริสกาล) ชาว
ประวัติศาสตร์
100
แม้ว่า อารยธรรมเมโสโปตา
เมียอาจได้รับการมองว่าเป็น
หน่วยเดี่ยวกัน แต่พัฒนาการ
ของอารยธรรมนี้ไม่ชัดเจน ถ้า
หากไม่มีการอ้างอิงถึงการ
เผยแผ่ของทุกกลุ่มย่อย ผู้
ปกครองทั้งสี่พวกตามที่กล่าวนี้
คือ สุเมเรียน บาบิโลเนียน อัสสิ
เรียน และคาลเดียน อารยธรรม
ประวัติศาสตร์
101
ความซับซ้อนทางวัฒนธรรมที่
มั่นคง การสร้างสรรค์อันเป็นผล
ของการเผยแพร่ลักษณะเฉพาะ
ตัวของสุเมเรียน บาบิโลเนียน
อัสสิเรียน คาลเดียน และกลุ่ม
เล็ก ๆ อีกหลายกลุ่ม ที่ได้
หมุนเวียนไปในนามของอารย
ธรรมเมโสโปตาเมีย
เราจะศึกษาตามแนวหัวข้อ
ประวัติศาสตร์
102
การปกครอง
ภายใต้พวกสุเมเรียน นครรัฐ
ปกครองโดยปาเตซี (patesis) ความ
ประสงค์ทางการทหารของรัฐเหล่านี้
ได้รวมตัวเป็นหน่วยเดียวกันในแบบ
สหพันธฺรัฐอย่างหลวม ๆ ปาเตซี
(patesi) คือหัวหน้ารัฐ รวมตัวเองอยู่ใน
หน้าที่ทางศาสนา กองทัพ และ
เศรษฐกิจ พระองค์เป็นหัวหน้าพระ
เป็นแม่ทัพของทัพ และเป็นผู้สั่งการ
ประวัติศาสตร์
103
การปกครอง
ชาวบาบิโลเนียนดำารงชีพอยู่
ภายใต้อิทธิพลของชาวสุเมเรียน
แต่การขยายดินแดนนั้นกว้าง
ขวางและ สามารถรวมเป็นปึก
แผ่น ได้ ชาวบาบิโลเนียนได้เลิก
การปกครองตนเองของท้องถิ่น
กษัตริย์กลายมาเป็นผู้มีอำานาจ
สูงสุด กษัตริย์จัดการเรื่องเก็บ
ประวัติศาสตร์
104
การปกครอง
ชาวอัสสิเรียนทั้งหมดเป็น
นักรบและการขยายดินแดนไป
ยังดินแดนไกล ๆ กองทัพเป็น
หน่วยสำาคัญที่สุดของรัฐ แม่ทัพ
เป็นผู้รำ่ารวยที่สุดและมีอำานาจ
ที่สุดในราชอาณาจักร บางครั้ง
ชาวอัสสิเรียนพยายามล้มอำานาจ
กษัตริย์ พวกนี้เข้าโจมตีอย่าง
ประวัติศาสตร์
105
ชาวคาลเดียนพยายามด้วย
ความสำาเร็จบางอย่างในการ
ฟื้นฟูรูปแบบของบาบิโลเนียน
ด้านการปกครอง
106
เศรษฐกิจ
ในตอนเริ่มต้น เมโสโปตา
เมียมีลักษณะทางเศรษฐกิจแบบ
ง่าย ๆ ชาวสุเมเรียนให้ความ
สำาคัญต่อเทพไม่ใช่ กษัตริย์ว่า
เป็นเจ้าของดินแดน การค้าและ
อุตสาหกรรมเป็นเรื่องส่วนบุคคล
และรัฐไม่ผูกขาด ชาวบาบิโล
เนียนทำาการเปลี่ยนแปลงการ
ประวัติศาสตร์
107
เศรษฐกิจ
ชาวอัสสิเรียนยอมให้ชาวต่าง
ประเทศเท่านั้นที่ทำากิจกรรมด้าน
พาณิชย์ได้ การเกษตรยังคงเป็น
อาชีพหลัก ชาวสุเมเรียนได้
เปลี่ยนแปลงในด้านการเกษตร
และการควบคุมนำ้าได้ดี ที่ดินอัน
กว้างใหญ่ถือครองโดยผู้
ปกครอง พระ และแม่ทัพนายกอง
ประวัติศาสตร์
108
เศรษฐกิจ
การพาณิชย์และการค้าได้
ขยายตัวออกไป มีการเชื่อมโยง
ทางการค้ากับประเทศที่อยู่รอบ ๆ
วิธี การทางธุรกิจพัฒนาขึ้น ใน
ระดับสูง มีการทำาสัญญา เกี่ยว
ด้วยการเขียนและมีพยาน ในส่ง
ของ ในรับเงิน และตั๋วแลกเงิน
( letter of credits) พ่อค้าที่เดินทาง
ทำาการค้า บนพื้นฐานของค่านายประวัติศาสตร์
109
เศรษฐกิจ
ดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้น
ชาวบาบิโลเนียทำาการค้าอย่างมี
กฎการปฏิบัติ การค้า ธนาคาร
และ อุตสาหกรรม เป็นเรื่องที่อยู่
ภายใต้กฎหมายของรัฐ ถ้าการ
ติดต่อกันโดยไม่มีสัญญาและ
พยานจะมีการลงโทษ มี
กฎหมายลงโทษผู้ละเลยการ
เพาะปลูก และการอำานวยด้านประวัติศาสตร์
110
เศรษฐกิจ
แต่ชาวอัสสิเรียนไม่สนใจ
เรื่องการค้า เพราะว่ารายได้หลัก
ได้มาจากสงคราม ทาสที่ทำาการ
เพาะปลูกในที่ดิน และเป็นผู้
ทำางานให้แก่ส่วนรวมของรัฐเป็น
พวกที่จนที่สุด แต่คนรวยอาศัย
อยู่ในบ้านที่หรูหรา ในที่พัก
ทหารและเพิ่มการปล้นสะดม
ประวัติศาสตร์
111
112
สังคม
สังคมเมโสโปเตเมียแบ่งช่อง
กว้างมากระหว่างคนรวยกับ
คนจน คนรวยเป็นเจ้าของที่ดิน
และครองตำาแหน่งสูง ในทาง
ทหารและการบริหารรัฐ ทาสติด
ที่ดินและทาสเป็นผู้ทำางานให้การ
ค้าและการพาณิชย์ได้พัฒนาขึ้น
แต่ไม่ได้สร้างชนชั้นกลาง ขึ้นมา
อย่างไรก็ตามกฎหมายที่ดินประวัติศาสตร์
113
สังคม
พระเป็นผู้ที่มีสถานภาพสูงใน
เมโสโปเตเมีย กษัตริย์เองเป็น
พระไปในตัว ไม่ใช่เป็นเทพ
หน้าที่ของพระคือ การนำา
เจตจำานง ของเทพออกมา พระ
ได้พัฒนาพิธีกรรม เวทย์มนต์และ
ไสยศาสตร์ ด้วยการเจริญเติบโต
ของ สิ่งเหล่านี้ ความสำาคัญของ
พระองค์ ในสังคมก็เพิ่มขึ้นประวัติศาสตร์
114
สังคม
ในบาบิโลเนีย สตรีมีฐานะสูง
ในสังคม มีสิทธิในการมีทรัพย์สิน
หย่า และฟ้องร้องทางกฎหมาย
สตรีทำากิจกรรมอาชีพและ
ทำาการค้าได้ หญิงม่ายได้รับการ
คุ้มครองจากกฎหมาย
ประวัติศาสตร์
115
สังคม
ศาสนาหนึ่งที่ปฏิบัติกันซึ่ง
หญิงบาบิโลเนียนได้เข้ามา
เกี่ยวข้องอาจเป็นข้อสังเกตในที่
นี้ สตรีปรารถนาที่จะเลี้ยงลูก ที่
คาดหวังว่าเกิดจากการขายตัว
แก่ชายแปลกหน้าในวิหารอิช
ตาร์ (Ishtar) ค่าจ้างที่ได้รับจาก
วิธีการนี้จะถวายแก่เทพี ปกติ
พระองค์หนึ่งจะแสดงบทบาทของประวัติศาสตร์
116
117
118
119
ชาวอัสสิเรียนยังคงรักษาการ
ลงโทษที่รุนแรงโหดร้ายทารุณ
ที่สุดสำาหรับอาชญากรรมสังคม
เช่นการทำาแท้งและพฤติกรรมที่
ผิดธรรมชาติ และกดขี่สตรีอย่าง
สิ้นเชิง ชายอัสสิเรียนคนหนึ่ง
สามารถ แต่งงานได้กับสตรีหลาย
คน และหย่าได้เมื่อฝ่ายชาย
ต้องการ ภรรยาถูกจำากัดขอบเขต
ให้อยู่ในบ้าน และห้ามปรากฏตัวประวัติศาสตร์
120
กฎหมาย
ชาวสุเมเรียนสร้าง
ระบบกฎหมายควบคุม
ประชาชน และในช่วง
กลางช่วง ๓๐๐๐ ปีก่อน
คริสตกาล กษัตริย์ของสุ
เมเรียน พระนามว่า ดัน
จิ ได้เตรียมเรื่อง
กฎหมายเป็นครั้งแรก
กฎหมายนี้ ต่อมา
กษัตริย์ชาว บาบิโลประวัติศาสตร์
121
กฎหมาย
กฎหมายสุเมเรียน
ยอมให้มีการแก้แค้น
จำาแนกความผิด
ระหว่างอาชกรรมที่มี
เจตนาและ
อาชญากรรมที่ไม่
เจตนา ยอมรับใน
บทบาทของบุคคลและ
ยอมให้มีการปฏิบัติต่อ
คนที่อยู่ในชนชั้นที่แตกประวัติศาสตร์
122
กฎหมาย
พระเจ้าฮัมมูราบี
ปกครองในศตวรรษที่
๒๐ ก่อนคริสตกาล
พระองค์ได้เผยแพร่ด้วย
ความยิ่งใหญ่ให้
ประวัติศาสตร์ คือ
กฎหมาย ซึ่งได้จารึกลง
ในเสาคอลัมน์สูง ๘ ฟุต
ด้วยอักษร คูนิฟอร์ม
คอลัมน์กฎหมายนี้ ตั้งประวัติศาสตร์
123
กฎหมาย
พระเจ้าฮัมมูราบีไม่
ได้สร้างสรรค์กฎหมาย
ขึ้นมาเอง พระองค์ดูจาก
กฎหมาย ธรรมเนียม
ประเพณีที่มีมาก่อน และ
นำามาจัดระบบเสียใหม่
ในการกระทำาสิ่งนี้
พระองค์ได้รับแรง
บันดาลใจ และแนวทาง
จากกฎหมาย ที่ได้จัดประวัติศาสตร์
124
๑. กฎหมายอยู่บนพื้นฐานของ
หลักการแก้แค้น ตัวอย่างเช่น
ถ้าใครถูกฆ่า ญาติของผู้ตายมี
สิทธิเรียกร้องเอาชีวิต ของผู้เป็น
ฆาตกร ในทำานองเดียวกัน ถ้า
ใครก็ตามที่ผู้อื่นทำาให้เสีย เสียหู
ฟันหัก เขาก็อาจได้รับการเรียก
ร้องให้ถูกกระทำา เช่นเดียวกัน
ประวัติศาสตร์
125
๒. กฎหมายได้มีการจำาแนก
ประเภทอาชญากรรมโดย
เจตนาและอาชญากรรมโดยไม่
เจตนา ถ้าผู้ใดทำาให้บุคคลอื่น
ได้รับบาดเจ็บโดยอุบัติเหตุ และ
สาบานได้ว่า "ข้าพเจ้าทำาให้
เขาบาดเจ็บ โดยมิได้มีเจตนา"
ผู้นั้นจะได้รับการลงโทษน้อย
กว่า การกระทำาให้ผู้อื่นบาดเจ็บ
โดยเจตนา
ประวัติศาสตร์
126
๓. กฎหมายยอมรับในความแตก
ต่างระหว่างชนชั้น และมีบท
ลงโทษแตกต่างกัน ระหว่าง
ความผิดที่ทาส เสรีชน และขุน
ทางกระทำา ถ้าทางหรือทาสดิน
ทำาร้ายเสรีชน ทาสจะถูก
ลงโทษ หนักกว่าที่สามัญชน
หรือ ขุนนางกระทำาในลักษณะ
เดียวกัน ในการต่อสู้กัน ถ้าเสรี
ชนเสียดวงตา เขามีสิทธิที่จะ
ประวัติศาสตร์
127
ตัวอย่างเช่น ขุนนางทำาความ
ผิดอาญา ซึ่งถูกลงโทษโดย
ยุติธรรมแล้ว เขาจะถูกเรียก
ร้องให้จ่าย มากกว่าทาส หรือ
ทาสดินในการจ่ายในกรณี
ประเภทเดียวกัน
แม้ว่ากฎหมายต่างกันจะนำา
มาใช้กับชนฃั้นที่ต่างกัน
คนรวยกับเสรีชน ในทางปฏิบัติ
ลักษณะที่น่าสังเกต ของประวัติศาสตร์
128
๔. กฎหมาย ได้นำามาใช้เป็น
ระเบียบสังคม ภรรยาที่ซื่อสัตย์
กฎหมายยอมให้หย่าขาด จาก
สามีที่ทารุณ โหดร้ายได้ และ
พ่อแม่ของฝ่ายหญิงมีสิทธิเรียก
ร้องค่าเสียหายได้ ภรรยาที่
นอกใจ ไม่ซื่อสัตย์ต่อสามีจะถูก
ถ่วงนำ้า หญิงที่คบชู้จะถูก
ลงโทษอย่างทารุณ
๕. กฎหมายยอมรับการไต่สวนประวัติศาสตร์
129
แม้ว่ากฎหมายของพระเจ้า
ฮัมมูราบีจะอยู่บนพื้นฐานของ
การแก้แค้น สิทธิพิเศษทางสังคม
และการไต่สวนโดยการพิสูจน์
แต่ก็มีองค์ประกอบที่ดีหลาย
ประการ กฎหมายเขียนเป็นภาษา
ง่าย ๆ ประการนี้ช่วยให้ทุกคน
ทราบว่าอาชญากรรมใดจะถูก
ลงโทษอย่างไร ประเพณีในสมัย
เริ่มแรกที่ทารุณมากที่สุด คือ การ
ถูกฝังทั้งเป็นจากการขว้างปาประวัติศ
130
ภรรยาได้รับการคุ้มครองถ้าสามี
ที่โหดร้ายทารุณ และคุ้มครอง
สามีจากภรรยาที่นอกใจ ข้อ
บกพร่องของกฎหมาย ที่มีอยู่ใน
สังคมจากส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระ
เจ้าฮัมมูราบีที่อาจเป็นไปได้ คือ
ความพอใจในการ ปฏิรูป
กฎหมายบางด้าน มากกว่าการ
ปฏิวัติระบบกฎหมายทั้งหมดจาก
มุมมองต่าง ๆ กฎหมาย ฮัมมูราบี
เป็นเครื่องหมายที่เด่นในประวัติศ
131
ศาสนา
ศาสนาของเมโสโปเตเมีย มีลักษณะเด่นจากองค์ประกอบ ๒
ประการ คือ
๑. เชื่อในเวทย์มนต์และสิ่งที่เหนือธรรมชาติ
๒. ไม่มีทัศนคติเกี่ยวกับชีวิตหลังตาย
ชาวสุเมเรียนมีเทพจำานวนหนึ่ง เทพเหล่านี้เป็นตัวแทน
ของอำานาจธรรมชาติและแสดงลักษณะ เป็นบุคคลจากองค์
ประกอบของมนุษย์ ชามาซ (Shamash) คือ สุริยเทพ เอนลิล
(Enlil) จ้าวแห่งฝนและลมและอิชตาร์ (Ishtar) เทพีของสตรี
เทพเหล่านี้และเทพอื่น ๆ เป็นทั้งฝ่ายดีและฝ่ายชั่ว ตัวอย่าง
เช่น สุริยเทพให้ความอบอุ่นและแสงสว่างในด้านหนึ่ง แต่อีก
ด้านหนึ่งเผาดินและทำาให้พืชเหี่ยวเฉา เทพที่น่ากลัวที่สุดใน
บรรดาเทพทั้งหมด คือ เนอกัล (Nergal) เชื่อกันว่าผู้ต้นเหตุ
ของโรคระบาด เทพเหล่านี้บางองค์ถูกชาวบาบิโลเนียนทอด
ทิ้ง แต่ทัศนคติทางศาสนาของชาวเมโสโปเตเมียนไม่ประวัติศ
132
ศาสนา
การนับถือสิ่งที่เหนือ
ธรรมชาติ เชื่อในโหราศาสตร์
(astrology) เวทย์มนต์และสิ่ง
ศักดิ์สิทธิ์ ได้ปฏิบัติกันอย่างแพร่
หลาย การบูชาเนอร์กัลจ้าวแห่ง
โรคระบาดกระทำากันอย่างแพร่
หลาย ไม่มีการปฏิบัติใด ๆ ที่เป็น
แม่มด คุณไสยและบูชายัญ ใน
บางศาสนา การปฏิบัติและความประวัติศ
133
ศาสนา
ชาวคาลเดียนได้ฟิ้นฟูมาร์ดุก
และยกย่องเทพต่างๆและทำาให้
เทพเหล่านั้นมีอำานาจทั้งหมด
เทพเหล่านี้ถูกกำาหนดให้อยู่ใน
สวรรค์และเทพต่างๆ ได้แสดง
ลักษณะที่เข้ากับดาวเคราะห์ มาร์
ดุกกับดาวพฤหัส อิชตาร์กับดาว
ศุกร์ ฯลฯ มนุษย์ถูกกำาหนดให้ขึ้น
อยู่กับโชคชะตา สารภาพบาปประวัติศ
134
135
ภาษาและวรรณกรรม
ชาวเมโสโปตาเมียได้สร้าง
ระบบการเขียน ตัวอักษรของพวก
เมโสโปตาเมียเป็นรูปลิ่ม การเขียน
นี้ เรียกว่าคูนิฟอร์ม ชาวเมโสโป
ตาเมียเขียนบนดินเหนียวไม่ได้
เขียนบนกระดาษ เขียนด้วนต้นอ้อ
ที่มีขอบเป็นรูปสี่เหลี่ยม ชาวเมโส
โปตาเมีย ได้ใช้สัญลักษณ์
ประมาณ 350 แบบแต่ไม่มีตัวอักษรประวัติศ
136
ภาษาและวรรณกรรม
วรรณกรรมของชาวสุเมเรียน
ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับ
วิทยาศาสตร์และชีวิตในทาง
เศรษฐกิจ ชาวเมโสโปตาเมียนยัง
สร้าง มหากาพย์เทพตำานานและ
ประวัติศาสตร์ เช่น มหากาพย์การ
สร้างโลก และนำ้าท่วมโลกอันมีชื่อ
เสียง มหากาพย์การสร้างโลก
สร้างความเป็นยอดให้กับมาร์ดุกประวัติศ
137
ภาษาและวรรณกรรม
งานที่ประทับใจที่สุดของ ชาว
บาบิโลเนียน คือ มหากาพย์กิลกา
เมช บรรจุเรื่องราวเทพตำานานที่
เป็นหลักของตน โคลงเรื่อง ที่เป็น
หลักของกาพย์นี้ คือ ชัยชนะขอ
งกิลกาเมชแสดงสัญลักษณ์ของ
มนุษย์เหนือธรรมชาติ
วรรณกรรมศาสนา บทสวด และ
ธรรมจริยาก่อให้เกิดวรรณกรรมประวัติศ
138
139
140
ความสำาเร็จทางปัญญาอื่น ๆ
ชาวเมโสโปเตเมียมีความ
ก้าวหน้าในสาขาวิทยาศาสตร์
ชาวสุเมเรียนเป็นผู้บุกเบิกใน
สาขานี้ คิดวิธีการคูณและการ
หาร นับด้วยจำานวน ๖๐ เช่น ๑
ชั่วโมงมี ๖๐ นาที ๑ มินา(หน่วย
การชั่งนำ้าหนัก) ประกอบ ด้วย
๖๐ เชเกล ฯลฯ ประดิษฐ์คิดค้น
ปฏิทินมี ๑๒ เดือนทางจันทรคติประวัติศ
141
ความสำาเร็จทางปัญญาอื่น ๆ
ชาวอัสสิเรียนมีความ
ก้าวหน้าเพียงเรื่องการผลิต
เครื่องใช้ในการทำาสงคราม เช่น
อาวุธทำาจากเหล็ก รถศึก เป็นผู้
ที่นำาระบบไปรษณีย์มาใช้เป็น
ครั้งแรก สร้างความก้าว หน้าใน
การทำาแก้วและในการถลุงแร่
ได้รับการยกย่องในการแบ่ง
วงกลม ออกเป็น ๓๖๐ องศา และประวัติศ
142
ความสำาเร็จทางปัญญาอื่น ๆ
แต่การเผยแพร่ที่น่าสังเกตที่สุด
ในสาขาวิทยาศาสตร์ของชาวคาล
เดียน คือ ดาราศาสตร์ เขาคิดค้นให้
สัปดาห์มี ๗ วัน และ ๑ วัน มี ๑๒
ชั่วโมง ๑ ชั่วโมงแบ่งเป็น ๑๒๐ นาที
สามารถทำานายคราสได้ นักดารา
ศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ของพวกนี้ คือ นาบู
ริมานนู (Rabu Rimannu) คำานวณ
ระยะเวลาของปีที่แม่นตรงจนกระทั่ง
นักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันแก้ไขประวัติศ
143
144
145
146
147
ศิลปะ
ศิลปินชาวเมโสโปเตเมียไม่ได้
มีความสำาเร็จดีกว่าชาวอีจิปต์ ใน
เมื่อหินขนาดใหญ่ในเมโสโปเตเมีย
หายาก โครงสร้างและรูปลักษณ์
ขนาดใหญ่ก็ไม่สามารถสร้างขึ้นมา
ได้ ถึงกระนั้น ความสำาเร็จของเม
โสโปเตเมียน ในสาขานี้ก็ยังมีอยู่
มากมาย
ชาวสุเมเรียนได้ทุ่มเทให้กับ
148
ศิลปะ
เมโสโปเตเมียไม่มีหินมากพอ
แต่มีดินเหนียวจำานวนมาก ดังนั้น
ชาวเมโสโปเตเมียนจึงใช้
ประโยชน์จาก ดินเหนียวด้วย
การนำามาทำาเป็นอิฐโดยการตาก
แดด และใช้อิฐตากแดด ในการ
สร้างวิหาร สุสาน ฯลฯ ใน
โครงสร้างเหล่านี้ ได้ใช้ส่วนโค้ง
ประทุน โดม และบางโอกาสเป็น
149
ศิลปะ
วิหารของเมโสโปเตเมียนที่เรียก
ว่าซิกกูรัต (Ziggurat) สร้างในรูปเนิน
เขาจำาลองและสร้างขึ้นเป็นชั้น ๆ
ซิกกูรัตแห่งหนึ่งสูง ๖๕๐ ฟุต และ
สร้างเป็น ๗ ขั้น
ซิกกูรัตแห่งหนึ่งน่าเกลียดแต่
ใหญ่เทอะทะ และมีโครงสร้างของ
อิฐตากแดดที่ซับซ้อน หอสำาหรับ
เทพประทับตั้งอยู่ ส่วนยอดของ
โครงสร้าง อาคารนี้ประกอบด้วยโถง
150
ศิลปะ
ชาวสุเมเรียนและบาบิโล
เนียนใช้ดวงตราประทับจำานวน
มาก ชาวบาบิโลเนียนเกือบทุก
คน นับจากกษัตริย์ ไปจนถึง
สามัญชนมีตราประจำาส่วนตัว
ตราเหล่านี้ประกอบด้วยชื่อและ
สัญลักษณ์
151
ชาวอัสสิเรียน แม้ว่าจะป่าเถื่อน
ในชีวิตทางสังคมและการเมือง
แต่ก็แพร่กระจายในด้านศิลปะ
มากกว่า ชาวบาบิโลเนียน และเม
โสโปเตเมียน ในสมัยนี้ ศิลปะ
ด้านประติมากรรมได้ไปถึงใน
ระดับสูง สามารถแกะสลักภาพ
ฉากสงครามและการล่าสัตว์
วีรบุรุษ กีฬา ฯลฯ และลัทธิวีรบุรุษ
ที่รุ่งเรือง พวกนี้ยังสร้างวังและประวัติศ
152
สำาหรับพวกนี้ ขนาดของ
สิ่งก่อสร้างเป็นตัวชี้ ในด้าน
คุณค่าทางศิลปะ ดังนั้น
โครงสร้างของพวกนี้ทั้งหมดมี
ขนาดใหญ่ อัสสูรบานิปาล ผู้
ปกครองที่ได้รับการบ่มเพาะ ใน
ทางวัฒนธรรมมากที่สุดของอัสสิ
เรียให้ การส่งเสริมทางศิลปะ
พระองค์ได้ให้ทำาสำาเนาแผ่นอิฐที่
เป็นประโยชน์ทั้งหมดและ สร้างประวัติศ
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
ประวัติศาสตร์เมโสโปตาเมีย
• เมโสโปตาเมีย
“Mesopotamia”มาจาก
ภาษากรีก ๒ คำา คือ
meso = between กับ
potamus = river (Greek,
“between the rivers”) เป็น
หนึ่งที่เป็นศูนย์กลาง
อารยธรรมเมืองสมัยแรกสุด
ปัจจุบันอยู่ในบริเวณที่เป็นประ
เทศอิรัค และซีเรียด้านตะวัน
ออกระหว่างแม่นำ้าไทกริสและยู
เฟรตีส
ประวัติศ
168
• แม่นำ้าไทกริสและยูเฟรติส
ไหลออกจากทางตะวัน
ออกเฉียงใต้ของตุรกี แยก
ห่างกัน ๔๐๐กม. (๒๕๐
ไมล์) แม่นำ้ายูเฟรตีสไหล
ลงมาในแนวตะวันออก
เฉียงใต้เป็นระยะ ๑,๓๐๐
กม. (๘๐๐ ไมล์) และแม่นำ้า
ยูเฟรตีสไหลลงทางใต้
เป็นระยะทาง ๘๘๕ กม.
(๕๕๐ ไมล์) ก่อนจะมา
บรรจบกันที่ Shatt al Arab
ก่อนลงอ่าวเปอร์ซีย. สอง
ฝั่งแม่น้าและที่ราบเมโสโปประวัติศ
169
• ในประวัติศาสตร์ของเมโส
โปตาเมียเป็นรูปแบบของ
การแทรกซึมและการ
รุกราน พื้นที่เกือบทั้งหมด
ฝนตกน้อยมาก แต่เมื่อมี
การควบคุมนำ้าโดยการขุด
คลอง ดินที่มีความอุดมก็
ให้ผลผลิตมาก ในตอนใต้
มีการปลูกอินทผาลัม เป็น
เสบียงอาหารที่มีคุณค่า
ให้เส้นใยที่เป็นประโยชน์
เป็นอาหารสัตว์ แม่นำ้าทั้ง
สองมีปลา และที่ลุ่มทางใต้ประวัติศ
170
นครรัฐเมโสโปตาเมียในสมัยเริ่ม
แรก
• ความจำาเป็นใน
การป้องกันตนเอง
และการควบคุมนำ้า
นำาชาวเมโสโปตา
มียนไปสู่การ
จัดการและขุด
คลองและลงหลัก
ปักฐานมีกำาแพง
ล้อมรอบ
• หลัง 6000 BC การ
การตั้งถิ่นฐานที่เก่า
ที่สุด เชื่อกันว่าอยู่ที่
เมืองเอริดู Eridu แต่
ตัวอย่างที่ดีที่สุด คือเมือ
งอีเลค Erech (Uruk) ใน
ตอนใต้ เป็นบริเวณที่มี
วิหารสร้างด้วยอิฐดิบ
ตกแต่งด้วยงานโลหะ
งานหิน ซึ่งมีความ
จำาเป็นในการขยาย
บริหารจัดการกระตุ้นประวัติศ
171
เมืองสุเมเรียนที่
สำาคัญ นอกเหนือ
จากที่กล่าวมา
แล้วข้างต้น คือ
อดับ(Adab) อิซิน
( Isin,) กิช (Kish)
ลาร์ซา ( Larsa)
นิปเปอร์ (Nippur)
และเออร์ (Ur.)
ประวัติศ
172
• ประมาณ 2330 BC บริเวณนี้
ต้องพ่ายต่อพวกอัคคาเดียน
(Akkadians) เป็นชาวเซมิติค
จากตอนกลางของเมโลโปเต
เมีย กษัตริย์ของอัคคาเดียน คือ
พระเจ้าซาร์กอนที่ ๑ มหาราช
(ครองราชย์ย์เมื่อประมาณ
2335-2279 BC)พระองได้
สถาปนาราชวงค์อัคคัดขึ้น และ
ในสมัยนี้ได้ใช้ภาษาอัคคาเดีย
นมาแทนที่ภาษาสุเมเรียน
• ชาวกูเตียน ชนเผ่าจากเนินเขา
ทางตะวันออก ได้เข้ามายุติการ
ปกครองของอัคคาเดียน เมื่อ
ประมาณ 2218 BC และ หลัง
จากการเข้ามาขัดจังหวะระยะ
หนึ่ง ราชวงค์ที่ ๓ แห่งเออร์ได้ประวัติศ
173
• ในเมืองเออร์ ประเพณี
ชาวสุเมเรียนได้เบ่ง
บานในที่สุด การไหล
หลั่งเข้ามาของพวกอี
ลาไมท์จากทางตะวัน
ออกได้เข้ามาทำาลาย
เมืองเออร์เมื่อประมาณ
2000 BC. เผ่าเหล่านี้
ได้เข้ายึดเมืองโบราณ
และเข้าผสมปนเปกับ
ชนพื้นเมืองท้องถิ่น
และไม่มีเมืองในการ
ควบคุมปกครองเพิ่มจน
กระทั่งถึงสมัยพระเจ้าประวัติศ
174
• ในขณะเดียวกัน ชาวอ
มอไรท์ (Amorite) ตระ
กูลหนี่งได้เข้ามายึด
อำานาจในเมืองอัสชูร์
(Ashur)ในทางเหนือ
อย่างไรก็ตาม ทั้งสอง
เทืองต่างเสื่องลงอย่าง
รวดเร็วหลังจากผู้มา
ใหม่เข้ามา การรุกไล่
เริ่มขึ้นเมื่อประมาณ
1595 BC โดยชาวฮิต
ไทต์(Hittites)จากตุรกี
นำาบาบิโลนเสื่อมลง
และ และอยาภายใต้
การปกครองของพวก
แคสไซท์ (non-Semitic
Kassites) เป็นเวลา ๔
• อัสชูร์ได้ล่มสลายให้แก่
นครรัฐไมตันนี
(Mitanni state) เริ่มต้น
จากพวก เฮอเรียน
(Hurrians)จากเทือก
เขาคอเคซัส ซึ่งคาดว่า
เป็นเชื้อสายพวกอาร์มา
เนียน (the Armenians)
พวกเฮอเรียนได้อยู่ใน
เมโสโบตาเมียหลาย
ศตวรรษ แต่หลังจาก
1700 BC พวกนี้จำานวน
มากได้กระจายข้ามไป
ทางเหนือและที่ราบสู
งอนาโตเลียทั้งหมด
175
176
• บาบิโลเนีย แคสไซท์
รุ่งเรืองขึ้นมา บนพื้นฐาน
ของเมืองไม่กี่เมืองกับ
หมู่บ้านจำานวนมากในรูป
แบบชนเผ่า กษัตริย์ของบา
บิโลเนียแคสไซท์ได้มีการ
เขียนไว้เท่ากับฟาโรห์ของ
อีจิปต์และมีการค้าอย่าง
กว้างขวาง
ประวัติศ
177
อาณาจักรอัสสิเรียนและคาลเดีย
น
THE ASSYRIAN AND CHALDEAN EMPIRES
• การเริ่มต้นเมื่อประมาณ 1350
BC อัสสิเรีย อาณาจักรเมโสโป
ตาเมียตอนเหนือเริ่มต้นได้เข้า
มาอ้างสิทธิ์ กองทัพอัสสิเรียน
พ่ายต่อมิตันนี มีชัยต่อบาบิโลน
ระยะสั้น ๆ เมื่อประมาณ 1225
BC และขยายออกไปถึงทะเล
เมดิเตอเรเนียนเมื่อประมาณ
1100 BC. ชนเผ่าอรามา
เนียน(Aramaean tribes) จาก
ทุ่งหญ้าซีเรียได้เข้ามาขัดการ
ขยายอาณาเขตของอัสสิเรียน
เป็นเวลา 2 ศตวรรษ ด้วยการมี
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil
worldcivil

More Related Content

What's hot

สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกRuzz Vimolrut
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดKiat Chaloemkiat
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...Poramate Minsiri
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1จารุ โสภาคะยัง
 
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
เรียงความเรื่อง    ความหลากหลายทางวัฒนธรรมเรียงความเรื่อง    ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายทางวัฒนธรรมMim Papatchaya
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนาเชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนาNakhon Pathom Rajabhat University
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวLong stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวKorawan Sangkakorn
 
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์Nakhon Phanom University
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้ืnattakamon thongprung
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกายAobinta In
 
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1pageกิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1teerachon
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยNurat Puankhamma
 

What's hot (20)

สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
 
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
 
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
เรียงความเรื่อง    ความหลากหลายทางวัฒนธรรมเรียงความเรื่อง    ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนาเชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวLong stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
 
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1pageกิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-1page
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 

Viewers also liked

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1Napatrapee Puttarat
 
2553 LA201 Class 1 (14 june 2010) slide
2553 LA201 Class 1 (14 june 2010) slide2553 LA201 Class 1 (14 june 2010) slide
2553 LA201 Class 1 (14 june 2010) slideChacrit Sitdhiwej
 
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
ปวศ ตะวันตก
ปวศ ตะวันตกปวศ ตะวันตก
ปวศ ตะวันตกwicha 泰国瑞查
 
Presentation ecd press conference 15 aug 2012_th
Presentation ecd press conference 15 aug 2012_thPresentation ecd press conference 15 aug 2012_th
Presentation ecd press conference 15 aug 2012_thit24hrs
 
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคินสัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคินGood Living
 
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการสถาบันฝึกอบรม โยธาไทย
 
การสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นThammawat INTACHAKRA
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลินAniwat Suyata
 

Viewers also liked (20)

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
 
2553 LA201 Class 1 (14 june 2010) slide
2553 LA201 Class 1 (14 june 2010) slide2553 LA201 Class 1 (14 june 2010) slide
2553 LA201 Class 1 (14 june 2010) slide
 
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
ปวศ ตะวันตก
ปวศ ตะวันตกปวศ ตะวันตก
ปวศ ตะวันตก
 
Core value
Core valueCore value
Core value
 
Presentation ecd press conference 15 aug 2012_th
Presentation ecd press conference 15 aug 2012_thPresentation ecd press conference 15 aug 2012_th
Presentation ecd press conference 15 aug 2012_th
 
Portfolio 2014.13
Portfolio 2014.13Portfolio 2014.13
Portfolio 2014.13
 
Structure analydesign yt
Structure analydesign ytStructure analydesign yt
Structure analydesign yt
 
595 5202429
595 5202429595 5202429
595 5202429
 
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคินสัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
 
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
 
M P R6250 T M12 Prn
M P R6250 T M12 PrnM P R6250 T M12 Prn
M P R6250 T M12 Prn
 
เอกสารพี่บุญทิพย์
เอกสารพี่บุญทิพย์เอกสารพี่บุญทิพย์
เอกสารพี่บุญทิพย์
 
M P R6250 T M12 Prn
M P R6250 T M12 PrnM P R6250 T M12 Prn
M P R6250 T M12 Prn
 
ตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคาร
ตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคารตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคาร
ตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคาร
 
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
 
การสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน
 
Pre thesis 01-5205108
Pre thesis 01-5205108Pre thesis 01-5205108
Pre thesis 01-5205108
 
ระบบประปา
ระบบประปาระบบประปา
ระบบประปา
 

Similar to worldcivil

9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817CUPress
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีPa'rig Prig
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนjirawat_r
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Ziro Anu
 
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)Thanapat Vimonsat
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์กsanniah029
 
ทฤษฎีของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีของโคลเบิร์กทฤษฎีของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีของโคลเบิร์กNusaiMath
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์กya035
 

Similar to worldcivil (20)

World civ
World civ World civ
World civ
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
02
0202
02
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
Kanokwan kanjana 5 2 20
Kanokwan  kanjana 5 2 20Kanokwan  kanjana 5 2 20
Kanokwan kanjana 5 2 20
 
Kanokwan kanjana 5 2 20
Kanokwan  kanjana 5 2 20Kanokwan  kanjana 5 2 20
Kanokwan kanjana 5 2 20
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์ก
 
ทฤษฎีของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีของโคลเบิร์กทฤษฎีของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีของโคลเบิร์ก
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์ก
 

worldcivil

Editor's Notes

  1. ระหว่างช่วง ๕ พันปีก่อนคริสตกาล ประชาชนพวกหนึ่งรู้จักกันในนามอูไบเดียน ได้ตั้งถิ่นฐานในบริเวณที่รู้จักต่อมาว่าซูเมอร์ การตั้งถิ่นฐานเหล่านี้ได้พัฒนา เป็นเมืองสุเมเรียนที่สำคัญ ชื่อว่า Adab, Eridu, Isin, Kish, Kullab, Lagash, Larsa, Nippur, and Ur. หลายศตวรรษต่อมา เมื่อชาวอูไบเดียนได้ตั้งถิ่นฐาน มั่งคั่งแล้ว พวกเซไมท์ (Semites) จากทะเลทรายซีเรียนและอารเบียน ได้เริ่มแทรกซึมเข้ามา ทั้งสองเป็นพวกอพยพที่มีอำนาจและเป็นผู้รุกไล่ในการ แสวงหา quest of booty. หลังประมาณ 3250 BC, คนอีกพวกหนึ่งได้ย้ายถิ่น จากมาตุภูมิของตน ตั้งถิ่นฐาน บางทีอาจเป็นด้านตะวันออกเฉียงเหนือของ เมโสโปเตเมีย และเริ่มแต่งกับประชาชนพื้นเมือง พวกที่มาใหม่ ซึ่งเป็นที่รู้จักกัน ในนามสุเมเรียน พูดภาษา an agglutinative language ไม่สัมพันธ์โยงกับ ภาษาอื่นที่รู้จักกัน.
  2. ในหลายศตวรรษซึ่งติดตามการอพยพของสุเมเรียน เมืองได้เจริญมั่งคั่งและมีอำนาจ ศิลปะและสถาปัตยกรรม หัตถกรรม และศาสนา และความคิดทางจริยธรรมได้เจริญขึ้น ภาษาสุเมเรียนได้ใช้เป็นภาษาที่ครอบคลุมทั่วดินแดน และประชาชนที่นี่ได้พัฒนาอักษร รูปลิ่ม ระบบหนึ่งในการเขียนบนดินเหนียว จารึกนี้ได้กลายเป็นความหมายพื้นฐานของ การสื่อสารด้วยการเขียนทั่วทั้งตะวันออกกลางเป็นเวลาประมาณ ๒๐๐๐ ปี "Sumer," Microsoft (R) Encarta. Copyright (c) 1994 Microsoft Corporation. Copyright (c) 1994 Funk & Wagnall's Corporation.
  3. ในหลายศตวรรษซึ่งติดตามการอพยพของสุเมเรียน เมืองได้เจริญมั่งคั่งและมีอำนาจ ศิลปะและสถาปัตยกรรม หัตถกรรม และศาสนา และความคิดทางจริยธรรมได้เจริญขึ้น ภาษาสุเมเรียนได้ใช้เป็นภาษาที่ครอบคลุมทั่วดินแดน และประชาชนที่นี่ได้พัฒนาอักษร รูปลิ่ม ระบบหนึ่งในการเขียนบนดินเหนียว จารึกนี้ได้กลายเป็นความหมายพื้นฐานของ การสื่อสารด้วยการเขียนทั่วทั้งตะวันออกกลางเป็นเวลาประมาณ ๒๐๐๐ ปี "Sumer," Microsoft (R) Encarta. Copyright (c) 1994 Microsoft Corporation. Copyright (c) 1994 Funk & Wagnall's Corporation.
  4. ผู้ปกครององค์แรกของบันทึกทางประวัติศาสตร์ คือ เอตานา (Etana) กษัตริย์แห่งเมืองกิส (Kish) (รุ่งเรืองเมื่อประมาณ ๒๘๐๐ BC) มีการบรรยายในหลักฐาน อ้างอิงที่เขียนไว้ในศตวรรษต่อมาว่าเป็น “บุรุษผู้สร้างความมั่นคงให้ดินแดนทั้งหมด“ “man who stabilized all the lands.” การปกครองของพระองค์สิ้นสุดหลังจากนั้น ไม่นาน กษัตริย์พระองค์หนึ่งพระนามว่าเมสกิอักกัสเชอร์ (Meskiaggasher) ได้ตั้ง ราชวงศ์แข่งขันขึ้นมาที่อูรุก (Uruk ในไบเบิลเรียกว่า Erech) อยู่ห่างไปทางใต้ของเมืองกิส เมสกิอักกัสเชอร์ ผู้ชนะการควบคุมบริเวณจากทะเลเมดิเตอเรเนียนไปจดภูเขาซากรอส (Zagros) ราชโอรสของพระองค์ เอนเมอร์การ์ (Enmerkar รุ่งเรืองเมื่อประมาณ ๒๗๕๐ BC) ได้สืบราชสมบัติต่อมา รัชสมัยต่อ ๆ มาเป็นที่น่าสังเกตในด้านการขยายไปยังเมือง อรัตตา (Aratta) นครรัฐที่อยู่ห่างออกไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมโสโปเตเมีย เอนเมอร์การ์ (Enmerkar) ได้มีผู้สืบราชสมบัติต่อมาโดยลูกัลบันดา (Lugalbanda) หนึ่งในบรรดาผู้นำทัพของพระองค์ การกระทำที่กล้าหาญและชัยชนะของเอนเมอร์การ์และ ลูกัลบันดา ก่อเป็นเรื่องกาพย์ที่เล่าวนซ้ำเป๋นการสร้างแหล่งเรื่องราวที่มาที่สำคัญที่สุด ในประวัติศาสตร์สุเมเรียนสมัยเริ่มแรก
  5. จากศตวรรษที่ ๒๓ BC อำนาจของสุเมเรียนได้เสื่อมลงจนกระทั่งไม่สามารถป้องกัน ตัวเองจากการรุกรานของต่างชาติได ซาร์กอนที่ ๑ มหาราช (Sargon I ครองราชย์ ประมาณ ๒๓๒๕-๒๒๗๙ BC) ผู้ปกครองชาวเซมิติคได้ปกครองสืบต่อมา จากการมีชัย ทั้งประเทศ ซาร์กอนได้ตั้งเมืองหลวงใหม่มีชื่อว่าอากาเด (Agade) ไกลออกไปทางเหนือ ของซูเมอร์ และสร้างจนเป็นเมืองที่ร่ำรวยและมีอำนาจที่สุดในโลก ประชาชนซูเมอร์ตอน เหนือแและเป็นผู้รุกรานที่มีชัย ได้หล่อหลอมรวมกันทีละน้อย กลายเป็นเผ่าชนและภาษา ที่เรียกว่า อัคคาเดียน ดินแดนซูเมอร์จึงเป็นการหลอมรวมชื่อซูเมอร์และอัคคัด