SlideShare a Scribd company logo
1 of 285
Download to read offline
คํานํา

        คาว่า “หลักวิชาช่างที่ดี” มีมานาน ซึ่ งอยูเ่ คียงข้างกายของนายช่างคู่มากับเงินและเวลา การหา
         ํ
จุดทีพอดีของทั้ง 3 ส่ วนเป็ นแบบ “Three In One” นั้นยากเหลือทน แถมมีเรื่ องคน (เจ้านาย) เข้ามาเสริ ม
     ่
                                                                                                   ่
ทัพขยับปั ญหาขึ้นมาเป็ น “Four In One” นันคือความเป็ นจริ งที่ถูกทิ้งไว้ในเบื้องหลัง หากพังมาก็วากัน
                                              ่
ไปตามกรอบลวนบอบชํ้าไปตามๆกัน แต่ปัญหาที่วา...ทานป้องกนได!้ ...อย่างไรหล่ะ
                ้                                  ่ ่           ั
         ก็ดวยการเรี ยนรู ้ และเข้าใจในหลักการง่ายๆ เพือไต่ไปสู่ หลักการที่ยงยาก จากการฝึ กให้จาทํา
            ้                                            ่                    ุ่                     ํ
ให้เข้าใจในหลักการต่างๆอย่างเป็ นขั้นตอน (ดังที่ได้เรี ยงลําดับไว้ให้) อันจะนําไปสู่ การไขข้อคับข้องใจ
ให้คลายลงและตรงกับสายงานที่สานกันอยู่
         ท้ายที่สุดทีผดขึ้นในมโนจิต คือคิดว่าจะทําอย่างไรเพือให้ผเู้ ข้าอบรม สมหวังดังที่ต้ งกันทุกคน
                     ุ่                                        ่                            ั
แต่ก็จนด้วยเกล้า เฝ้ าแต่คิดแต่ก็ติดที่เงื่อนเวลา หาทางออกเพียงบอกว่า “อบรมคราวหน้า ฟ้ าคงเป็ นใจ
ให้สมหวังดังที่ต้งกันทุกคน”
                  ั




                                                                (อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก)
                                                                        วศ.ม.(โยธา)
                                                                   11 กรกฎาคม 2553
ความรู้ เบืองต้ นก่ อนการออกแบบ
           ้
                                                                                       1
    ในบทนี้จะเป็ นการกล่าวถึงความรู ้พ้ืนฐาน (Basic) โดยรวมทัวๆไป ที่จะเกี่ยวข้องหรื อจําเป็ นต้อง
                                                             ่
ทราบก่อนเป็ นเบื้ องต้น ก่อนที่จะเข้าสู่ เนื้ อหาของการวิเคราะห์ (Analysis) และออกแบบโครงสร้าง

(Structure Design) เร่ิ ม ต้ งแต่คติป ระจํา ใจของผูที่จะทํา การคํานวณและออกแบบ มาตรฐานการ
                             ั                     ้

ออกแบบ (Code) และ ทฤษฎี (Theory) ที่ใช้สําหรับการออกแบบ วิธี (Methode) หรื ออันดับในการ

วิ เ คราะห์ ห าแรงในโครงสร้ า ง ระบบหน่ ว ยวัด (Unit) ที ่ใ ช้ รวมถึ ง ระบบซอฟท์แ วร์ (Engineer

Software) ต่ า งๆที ่จ ะนํา มาช่ ว ยอํ านวยความสะดวก ทั้ง ในแง่ ข องการช่ ว ยแก้ปั ญ หาและช่ ว ยลด

ระยะเวลาในการทางาน (หมายเหตุ: รายละเอียดที่ลึกซึ้ งมากกว่านี้ ให้อ่านในแผ่น CD ROM เร่ ื อง
              ํ

หลักการพื้นฐานในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างเหล็ก)
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้




                                                                                  2




                            รูปท่ี 1 แสดงพื้นฐานการส่ งถ่ายแรงในโครงสร้าง



อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

1. หลักประจําใจในการวิเคราะห์ และออกแบบโครงสร้ าง




                                                                                         3
1. ทําอย่ างไรจึงจะออกแบบได้

    ทั้งในส่ วนของการออกแบบโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก โครงสร้ างคอนกรี ตอัดแรง และ

                       ้ ํ
โครงสร้างไม้และเหล็ก ผูที่กาลังเริ่ มต้นงานด้านการออกแบบโครงสร้าง มักมีในหลายสิ่ งที่ทุกคน

 ั           ั
กงวลเหมือนๆ กนคือ

         ออกแบบไปแลวจะมนใจไดมากนอยแค่ใหน
                    ้   ั่   ้   ้

         จะเริ่มตนอยางไรหรือเรียนรู้อะไรก่อนหลง
                  ้ ่                          ั

         กระบวนการออกแบบมีลาดับขั้นตอนอย่างไร
                            ํ



2. ขั้นตอนหลักในการออกแบบ (ทั้งหมดต้ องอยู่ภายใต้ ข้อกําหนดหรือมาตรฐานการออกแบบ)

1) หาระบบแรงที่กระทําต่อโครงสร้าง (แรงภายนอก)

2) วิเคราะห์โครงสร้างเพื่อหาแรงภายใน (โดยรวมมักหมายถึงแรงภายในสู งสุ ด)

3) นําแรงภายในไปออกแบบขนาดชิ้นส่ วนของโครงสร้าง รวมถึงจุดต่อต่างๆ

4) เขียนรายละเอียดการออกแบบ (Detail)




อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

ตารางท่ี 1 แสดงใหเ้ ห็นสิ่งตองเรียนรู้และข้นตอนการออกแบบ
                            ้              ั




                                                                                                     4
           ต้ องการออกแบบ...ได้ ต้องมี                                 การเริ่มต้ น

                                                        จะเร่ิมต้นอย่างไร (ตองรู้ในสิ่งเหล่าน้ ี)
                                                                             ้

                                                    1. คุณสมบัติของวัสดุทีใช้ในการวิเคราะห์และ
                                                                          ่

                                                    ออกแบบส่ วนต่างๆ

                                                                       ้ ํ
                                                    2. ทฤษฎีออกแบบ และขอกาหนดหรือ

                                                    มาตรฐานการออกแบบ

      อาคารที่พกอาศัย, อาคารสํานักงาน ลฯ
               ั                                    3. อานแบบแปลนได้ (ช่วยในการวางผง
                                                        ่                          ั

                                                    โครงสร้าง, รู ้ระบบการส่ งถ่ายแรง และแรงที่

                                                    กระทํา)



                                                               มลาดบข้นตอนอย่างไร
                                                                 ีํ ั ั

                                                        ่              ้
                                                    1. อานแบบเพอ ตรวจแก-วางผังโครงสร้าง-หา
                                                               ่ื
       อาคารหอประชุม, อาคารโรงงาน ลฯ
                                                    ระบบแรงที่กระทําต่อโครงสร้าง

                                                    2. จําแนกแรงที่กระทําออกเป็ นกรณี ต่างๆ

                                                    3. วิเคราะห์หาแรงภายในของแต่ละกรณี

                                                    4. ออกแบบชิ้นส่วน (รวมถึงรอยต่อระหว่าง

                                                    ชิ้นส่วน) โดยใชแรงภายในสูงสุด
                                                                   ้
           โครงสร้างป้ าย, หอถังสู ง ลฯ             5. เขียนรายละเอียด




อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

3. หลักพืนฐานในการออกแบบโครงสร้ าง
         ้




                                                                                                             5
    ในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างนั้น พื้นฐานความรู้ความเข้าใจในทฤษฎี (รายวิชาที่เรี ยน)

เป็ นสิ่ งสําคัญ หากเราได้เข้าใจในสิ่ งที่เรากําลังศึกษาว่ามีความสําคัญอย่างไร และจะนําไปใช้งานได้

จริ งหรื อไม่ในส่ วนใดของกระบวนการวิเคราะห์และออกแบบ ก็จะทําให้เราไม่อาจที่จะมองขามหรือ
                                                                                 ้

ขาดความใส่ ใจน้อยลง (แต่ท้ งนี้ ท้ งนั้นขึ้นอยู่กบผูสอนด้วย)
                           ั ั                   ั ้                 ในการศึกษาวิชาต่างๆที่เรี ยนสามารถ

แบ่งกลุ่มเพื่อหวังผลการใช้งานได้ง่ายๆ ดังนี้

1. วิชา Drawing และการเขียนแบบต่างๆ: ทําให้เราอ่านแบบเป็ น (พ้ืนฐานเบ้ืองตน)
                                                                          ้

2. วิชากําลังวัสดุ: ทําให้เรารู ้คุณสมบัติของวัสดุ รู้การเลือกใช้รูปร่ างหน้าตัด รู้การวางของหน้าตัด ซึ่ ง

ทั้งหมดล้วนเกี่ยวข้องกับความแข็งแรงของโครงสร้าง

3. วิชากลศาสตร์ วิศวกรรม, วิชาทฤษฎีโครงสร้าง และวิชาการวิเคราะห์โครงสร้าง: ทําให้เรารู้จก
                                                                                        ั

วิธี การ (หรื อเครื่ องมือเพือใช้) ในการหาแรงปฏิกิริยา แรงภายในและการเสี ยรู ป เพือนําไปใช้ในการ
                             ่                                                    ่

ออกแบบและควบคุมการออกแบบ ตามลําดับ

4. วิชาปฐพีวิศวกรรม, วิชาฐานรากวิศวกรรม และวิชาชลศาสตร์ วิศวกรรม: ทําให้รู้พฤติกรรมของดิน

กําลังความแข็งแรงของดิน ความเสี ยหายที่เกิดต่อโครงสร้างเมื่อมวลดินมีการเคลื่อนที่หรื อเปลี่ยนแปลง

ปริ มาตร และการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของดินเมื่อมีน้ าและพลังงานภายนอกที่มากระทําต่อมวลดิน ลฯ
                                                ํ

    แต่ !..การที ่จะเริ่ ม ออกแบบได้ น้ ัน ลํา พังเพีย งวิช าที ่ไ ด้ ร่ ํา เรี ย นมาใช่ ว่า จะสามารถออกแบบได้

จาเป็นตองมีองคความรู้ในส่วนอ่ืน (ท่ีขาดหายหรือไม่มีในการเรียนการสอน) เข้ามาเสริ มด้วย กล่าวคือ
 ํ     ้      ์

         ต้องอ่านแบบเป็ นและเคลียร์ แบบได้

         ต้องทราบเรื่ องข้อกําหนดและกฎหมายในส่ วนที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์และออกแบบ

         ต้องทราบเรื ่ องเกี ่ย วกับ คุ ณสมบัติวส ดุ ที่จะใช้ออกแบบ (คอนกรี ต, เหล็ก , ไม้, ดินและ
                                                 ั

             เสาเขม)
                  ็
อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

          ต้องทราบเรื่ องนํ้าหนักของวัสดุ การหานํ้าหนักที่กระทําต่อโครงสร้าง และการส่ งถ่ายแรง




                                                                                                  6
          ต้องทราบเรื่ องการวางตัวของโครงสร้างที่จะทําให้เกิดความมันคงและแข็งแรง
                                                                    ่
          ต้องทราบเรื่ องวิธีการวิเคราะห์โครงสร้าง และรู ้จกเลือกชิ้นส่ วนเพื่อทําการวิเคราะห์
                                                            ั

          ต้องทราบเรื่ องการวางเหล็กเสริ ม (กรณี โครงสร้างคอนกรี ตเสริมเหล็ก) และการวางหรื อ

             ตอชิ้นส่วน (กรณี ของโครงสร้างเหล็กรู ปพรรณ)
              ่



4. หลกประจําใจสําหรับ (วศวกร) ผู้ออกแบบโครงสร้ าง
     ั                  ิ

    ผูออกแบบ (วิศวกร) โครงสร้างที่ดีควรมีคติประจําใจในการออกแบบ ซึ่ งในเบื้องต้นนี้ ผมขอแบ่ง
      ้

ออกเป็น 4 หลักใหญ่ๆ ดังนี้

1. โครงสร้ างต้องมีค วามม นคง (Stable) มาก่ อนเป็ นเบื้ องต้นเสมอ ซึ่ ง ขึ้ นอยู่กบการวางตัวของ
                          ่ั                                                      ั

ชิ้นส่ วนที่ประกอบเป็ นโครงสร้าง การยึดโยง (Bracing) การต่อยึดหรื อต่อเชื่อมของชิ้นส่ วน และการ

ยดร้ ัง (จุดรองรับ)
 ึ

2. โครงสร้างต้องมีความแข็งแรง (Strength) สามารถรับแรงได้โดยไม่วบติ
                                                               ิ ั

3. โครงสร้างต้องมีฟังก์ชนที่เหมาะสม และสวยงามตามสมัยนิยม (Beautiful and new-style)
                        ั่

4. โครงสร้างต้องประหยัดและปลอดภัย (Save and Safety)



2. การวิเคราะห์ โครงสร้ าง (Structure Analysis)

1. รูปแบบของการวิเคราะห์ โครงสร้ าง

    ในการวิเคราะห์โครงสร้างเหล็กรู ปพรรณเพื่อนําไปสู่ การออกแบบนั้น ในประเทศไทยนั้นแม้นว่า

จะมีการอนุ โลมให้ใช้ผลจากการวิเคราะห์แค่เพียงอันดับหนึ่ ง (First Order Analysis)             ่
                                                                                         แต่วาในทาง

อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

ปฏิบติหรื อออกแบบเพื่อใช้งานจริ ง วิศวกรโครงสร้างจะต้องออกแบบโดยคํานึงถึงผลของ P-∆ Effect
    ั




                                                                                                 7
(ทั้ งในระดับของชิ้นส่ วนเองและเมื่อพิจารณาทั้งโครงสร้าง) ด้วย ซึ่ งได้มีการเขียนเป็ นข้อกําหนดไว้

ในมาตรฐานของวิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทยด้วย (ว.ส.ท.; EIT.) แต่ถาหากว่าในการวิเคราะห์
                                                              ้

โครงสร้างกระทําโดยใช้การวิเคราะห์อนดับที่สอง (Second Order Analysis) เราสามารถนําผลที่ได้จาก
                                  ั

การวิเคราะห์ไปทําการออกแบบได้โดยตรง โดยไม่ตองคํานึงถึงผลของแรงรอง (Secondary Moment)
                                           ้

หรือ P-∆ Effect

        ซึ่ งในการวิเคราะห์เพื่อหาแรงภายในเพื่อนําไปสู่ การออกแบบ อาจจะจําลองให้เป็ นโครงสร้าง

ท่ ีเป็น Full Frame, Sub Frame, Partial Frame หรือ Continuous Beam ก็ได้ดงแสดงในรู ป โครงสร้างที่
                                                                         ั

ระบบของแรงกระทําอยูในระนาบเดียวกันกับการวางตัวขององค์อาคาร (ชิ้นส่วน) ในขั้นตอนของการ
                   ่

วิเคราะห์และออกแบบ เราสามารถยุบโครงสร้างที่อยู่ในสภาพของ 3 มิติ (วิเคราะห์โครงสร้างใน

รู ปแบบ 3 มิ ติ) ดงแสดงในรูป มาเหลื อเพีย งโครงสร้ างในระบบ 2 มิติไ ด้ (วิเคราะห์โครงสร้ า งใน
                  ั

รู ปแบบ 2 มิติ) ดงแสดงในรูปข้างล่าง
                 ั




                  โครงสร้าง 3 มิติ                      Complete Frame or Full Frame

                  รู ปท่ี 2 แสดงแบบจําลองเพื่อการวิเคราะห์ของโครงสร้างในระบบ 2 มิติ

อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้




                                                                                   8
                                 Sub Frame                    Partial Frame




                                         Continuous Beam



               รู ปท่ี 3 แสดงแบบจําลองเพื่อการวิเคราะห์ของโครงสร้างในระบบ 2 มิติ




อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้




                                                                                   9
                 รูปแสดงแบบจําลองเพื่อการวิเคราะห์ของโครงสร้างจาก 3D เป็น 2D




               รูปท่ี 4 แสดงแบบจําลองเพื่อการวิเคราะห์ของโครงสร้างจาก 3D เป็น 2D

อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้




                                                                                       10




            รู ปท่ี 4 แสดงแบบจําลองเพื่อการวิเคราะห์ของโครงสร้างจาก 3D เป็น 2D (ต่อ)


อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

    ในท่ีน้ ี หมายถึ งการวิเคราะห์หาระบบแรงภายในและการเสี ยรู ปที่มกคุนเคย คือ การวิเคราะห์ใน
                                                                   ั ้




                                                                                                                  11
ระดับที่เรี ยกเป็ นศัพท์ทางวิชาการว่า First Order Analysis

    จากระบบของนํ้าหนักดังที่กล่ าวมาทั้งหมด จะเห็ นว่ามีอยู่ในหลายรู ปแบบด้วยกัน ดังนั้นจึงมี

               ่
ความเป็ นไปได้วาในบางครั้งอาจมีน้ าหนักมากกว่าหนึ่ งรู ปแบบกระทําต่อโครงสร้างพร้อมๆกันหรื อใน
                                  ํ

บางครั้งอาจมีเพียงรู ปแบบเดี่ยวๆกระทํา เมื่อเป็ นเช่นนี้ ดงนั้นในการวิเคราะห์โครงสร้าง เราจําเป็ น
                                                          ั

จะต้องแยกการวิเคราะห์ไปในหลายๆกรณี ตามลักษณะการกระทําของนํ้าหนักที่คาดว่าน่าจะเกิดขึ้น

ท้ งน้ ีเพ่ ือให้ได้ค่าแรงภายใน (เช่ น โมเมนตดด-บิด , แรงเฉื อน , แรงตามแนว , แรงร่ วมอืนๆรวมไปถึง
   ั                                         ์ ั                                        ่

การเสี ย รู ป ทั้งเชิ ง เส้ น ∆ และ เชิ ง มุ ม θ) สู ง สุ ด จากนั้นจึ ง นํ าผลที ่ไ ด้จากการวิเคราะห์ ดั งกล่ า วไป

ออกแบบต่อไป แต่ท้ งนี้ท้ งนั้นการที่จะทําให้เราทราบค่าสู งสุ ดของระบบแรงภายในดังกล่าวได้ ไม่ได้
                  ั ั

       ่ ั
ขึ้นอยูกบกรณี การกระทําของนํ้าหนักแต่อย่างเดียว แต่ยงรวมถึงลักษณะของการจัดวางตัวของนํ้าหนัก
                                                    ั

ในแต่ละกรณีดวย
            ้

    โดยทัวไปแล้วกรณี ของนํ้าหนักที่กระทําต่อโครงสร้าง มักจะประกอบด้วย 3 กรณีหลกๆ โดยกรณี
         ่                                                                    ั

ที่ให้ค่านํ้าหนักบรรทุกสู งสุ ดจะถูกเลือกไปเป็ นนํ้าหนักบรรทุกเพื่อการวิเคราะห์ต่อไป

    - น้ าหนกบรรทุกกรณีท่ี 1: น้ าหนกตายตว (DL)
         ํ ั                     ํ ั     ั

    - น้ าหนกบรรทุกกรณีท่ี 1: น้ าหนกตายตว (DL) + น้ าหนกจร (LL)
         ํ ั                     ํ ั     ั           ํ ั

    - น้ าหนกบรรทุกกรณีที่ 1: 0.75[นํ้ าหนักตายตัว (DL) + น้ าหนกจร (LL) + แรงลม (WL) + แรง
         ํ ั                                                 ํ ั

           ่
         แผนดินไหว (EQ)]

    ข้อทีน่าสังเกตคือ ในกรณีที่ 3 เนื่องจากแรงลมหรื อแรงเนื่องจากแผ่ นดิ นไหว เป็ นแรงที่เกิ ดขึ น
         ่                                                                                       ้

เพียงบางครั้ งคราวเท่ านันตลอดช่ วงอายุของการใช้ งานตัวอาคาร ดังนันจริ งสามารถลดค่ านําหนักรวม
                         ้                                        ้                   ้

ในกรณี ดังกล่ าวลงได้ อีก 25% (ก็คือคูณลดด้ วย 0.75) แต่ ถ้าไม่ ลดค่ านําหนักดังกล่ าวลง ก็อาจจะใช้
                                                                        ้

วิธีการเพิ่มหน่ วยแรงขึนจากเดิมได้ อีก 1/3 เท่ าก็ได้ และ ข้ อที่ น่าพิจารณาอี กจุดหนึ่งสําหรั บในกรณี ที่ 3
                       ้
อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

คื อ การกระทําพร้ อมๆกันของ นําหนักจร กับแรงลมหรื อแรงเนื่องจากแผ่ นดิ นไหว แทบจะไม่ เกิดขึ น
                              ้                                                             ้




                                                                                                       12
เลยเสี ยด้ วยซํ้าสําหรั บในบางกรณี ยกตัวอย่ างเช่ น ในกรณี ของโครงหลังคาขณะเกิดพายุพัดกันโชกหรื อ

ฝนฟ้าคะนอง คงไม่มีใครปีนขึนไปเดินเล่นแน่นอน
                          ้

    หมายเหตุ: ที่ ถูกต้ องแล้ วนําหนักบรรทุกท้ัง 3 กรณี ดังกล่ าวข้ างต้ น ในการวิเคราะห์ โครงสร้ างเรา
                                 ้

จะต้ องทําการวิ เคราะห์ แยกเป็ นรายกรณี ไป หลังจากนันจึ งนําผลที่ได้ (แรงภายในต่ างๆ เช่ น Shear,
                                                    ้

Axial Forces, Bending Moment, Torsion Moment) มาทํา Envelope Force (ซึ่ งแท้ จริ งแล้ วก็คือเส้ น

แสดงกรอบบนสุ ดและล่ างสุ ดของแรงภายใน ที่ ระยะ x ใดๆตามความยาวของชิ ้นส่ วนที่เราพิ จารณา)

จากนั้นจึ งนําผลที่ได้ จากการกระทําดังกล่ าวมาพิจารณาเพื่อการออกแบบต่ อไป

    อีกสิ่ งหนึ่งที่ผมอยากจะฝากก็คือ ในการวิเคราะห์โครงสร้างที่มีแรงลมเข้ามาเกี่ยวข้อง การพิจารณา

ทิศทางของแรงลมที่กระทํา อย่างน้อยควรพิจารณาใน 2 ทิศทาง เช่ น นํ้าหนักทีกระทําในกรณี ที่ 3
                                                                       ่

(Load Case 3) ควรจะเป็ นในลักษณะนี้

              ํ ั     ั      ํ ั                              ่
    - 0.75[น้ าหนกตายตว + น้ าหนกจร + แรงลม (ตามแกน x) + แรงแผนดินไหว]

              ํ ั     ั      ํ ั                              ่
    - 0.75[น้ าหนกตายตว + น้ าหนกจร + แรงลม (ตามแกน y) + แรงแผนดินไหว]



2. การวเิ คราะห์โครงสร้างโดยเอยด
                              ี

    ที่ละเอียดและถูกต้องจะต้องเป็ นการวิเคราะห์โครงสร้างในรู ปแบบ 3 มิติ ผลที่ได้จะมีความถูกต้อง

ใกล้เคี ย งความเป็ นจริ ง มากกว่า การวิเคราะห์ โ ครงสร้ า งในรู ป แบบ 2 มิ ติ แต่ค่ อนข้ างยากและใช้

เวลานาน จึงมักนิ ยมใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยในการวิเคราะห์ ส่ วนการวิเคราะห์โครงสร้างใน

รู ปแบบ 2 มิ ติ แม้ว่า จะง่ ายกว่า แต่ก็ใช่ ว่าจะสามารถวิเคราะห์ ได้โดยง่ ายโดยไม่ใ ช้เวลา ซึ่ งสามรถ

วิเคราะห์ดวยมือได้โดยใช้วธีที่เป็ นที่ยอมรับ เช่น วิธีการกระจายโมเมนต์, วิธีความลาด-การแอ่นตัว, วิธี
          ้              ิ


อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

Least Work, วิธีสมการสามโมเมนต์ ซึ่ งทั้งหมดที่กล่าวมาวิธีที่นิยมใช้คือ วิธีสมการสามโมเมนต์และ




                                                                                                13
วิธีการกระจายโมเมนต์



3. การวเิ คราะห์โครงสร้างโดยประมาณ (ของคานอย่างง่าย)

    วิธีการวิเคราะห์โครงสร้ างแบบโดยประมาณนั้น (มักนิยมใช้ในกรณี ของคานช่ วงเดียวอย่างง่ายดัง

แสดงในภาคผนวก ก) ซึ่ งนอกจากจะช่วยทําให้กระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างมีความง่ายข้ ึนแลว
                                                                                    ้

ยัง ก่ อ ให้ เ กิ ด ความสะดวกและรวดเร็ ว โดยอาศั ย การใช้ สู ต รสํ า เร็ จผนวกกั บ หลั ก การรวมผล

(Superposition)



    การวิเคราะห์ คานช่ วงเดียวอย่ างง่ าย

        การแอ่นตัวของคานหาได้จากสมการ (ค่า D อ่านจากตารางด้านล่าง)



        โมเมนต์ดดหาได้จากสมการ (ค่า C อ่านจากตารางด้านล่าง)
                ั



        หมายเหตุ: ในกรณี ของนํ้าหนักแผ่กระจาย ต้องแทนค่า P ดวย ωL
                                                            ้




อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

ตารางท่ี 2 แสดงค่าสมประสิทธ์ ิสาหรับใชในสมการสาเร็จรูปเพอหาค่าโมเมนตดดและการแอ่นตว
                   ั           ํ      ้       ํ         ่ื          ์ ั          ั




                                                                                                    14
      รูปแบบของคานและการรับแรง                                       C                D

                            ω
                                                                    1/8             5/384
                            L

                                P

                                                                    1/4              1/48
                L/2                             L/2

                      P                     P

                                                                    1/3            23/648
          L/3               L/3                  L/3

                 P                  P            P

                                                                    1/2            19/384
        L/4           L/4               L/4            L/4

                 P
          a                             b                        ab/L2(9√3)   (a/L)[1-(a2/L2)]3/2
                            L


                                ω
                                                                    1/2              1/8
                                L

                                                             P

                                                                     1               1/3
                            L




อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

3. ค่ าการแอ่นตัวของโครงสร้ าง (คาน)




                                                                                                     15
    การแอ่นตัวของโครงสร้างที่ได้จากผลการวิเคราะห์โครงสร้างในเชิง 3 มิติ จะประกอบไปดวยค่า
                                                                                   ้

การแอนตวเชิงมุมและค่าการแอ่นตวเชิงเส้น ซ่ ึงค่าการแอ่นตวท่ีจะกล่าวในท่ีน้ ีจะเป็นค่าการแอ่นตวใน
     ่ ั                     ั                         ั                                    ั

เชิงเส้นเท่าน้ น
               ั

         สําหรับป้ องกันการตกท้องช้างของคานช่วงสั้นและกลาง = L/150

         สําหรับโครงหลังคาเมื่อคิดผลจากนํ้าหนักบรรทุกทั้งหมด = L/180

         สาหรับโครงหลังคาเมื่อคิดผลจากนํ้าหนักบรรทุกจรเท่านั้น = L/240
          ํ

         สําหรับโครงสร้างพื้นเมื่อคิดผลจากนํ้าหนักบรรทุกทั้งหมด = L/240

         สําหรับโครงสร้างพื้นเมื่อคิดผลจากนํ้าหนักบรรทุกจรเท่านั้น = L/240



4. ระบบการส่ งถ่ ายแรง (Load Path)

    หากไม่มีอะไรเป็ นพิเศษ ลําดับของการส่ งถ่ายแรงจะเป็ นไปตามตัวอย่างแบบจําลองข้างล่างนี้ คือ

จากชิ้นส่ วน (Member) ที่อยู่บนสุ ด (หรื อปกติคือชิ้นส่ วนที่ก่อสร้างหลังสุ ด) ไปยังชิ้นส่ วนที่รองรับ

หรืออยล่างสุด (หรื อปกติคือชิ้นส่วนท่ีก่อสร้างแรกสุ ด) ดงแสดงในรูปด้านล่าง การส่ งถ่ายดังกล่าวเป็ น
      ู่                                                ั

การส่ งถ่ายผ่านปลายขององค์อาคารที่ต่อเชื่อมกันในรู ปแบบของระบบแรงปฏิกิริยา ซึ่ งค่าที่ถูกต้องหา

ได้โดยตรงจากผลการวิเคราะห์โครงสร้าง ตวอยางเช่น
                                     ั ่

    1. จากระบบแรงภายนอกต่างๆ

    2. ถ่ายแรงท้ งหมดผานแปหรือระแนง
                 ั    ่

    3. แลวส่งตรงถึงจนทน
         ้          ั ั

    4. ลงมายังตะเฆ่สนและราง-อกไก่-อเสหรือคานรัดหวเสา
                    ั                           ั

อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

    5. เข้าสู่ ดงซึ่ งนังอยูบนขื่อแล้วมุ่งสู่ เสา
                ั่      ่ ่




                                                                                  16
    6. จากบนไดและแผนพ้ืนกระจายและถ่ายแรงเขาสู่ คาน
           ั       ่                      ้

    7. ผ่านมายังเสาแล้วเข้าสู่ ฐานราก




อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้




                                                                                      17


           รูปท่ี 5 แสดงแบบจําลองการส่ งถ่ายแรงในองค์อาคารเมื่อมีแรงกระทําในแนวดิ่ง




อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้




                                                                                               18
         รูปท่ี 5 แสดงแบบจําลองการส่ งถ่ายแรงในองค์อาคารเมื่อมีแรงกระทําในแนวดิ่ง (ต่อ)



5. ลาดบข้นตอนของการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้าง
    ํ ั ั

    ในเบื้องต้นให้ทาการวิเคราะห์และออกแบบโดยการไล่ตามลําดับของการส่ งถ่ายแรง จากบนสุ ดลง
                   ํ

สู่ ล่างสุ ด (ตรงกันข้ามกับลําดับของการก่อสร้าง) ยกตัวอย่างเช่น แปหรื อระแนง จันทัน ตะเฆ่สัน-ราง

โครงข้อหมุ น-อกไก่-ข่ือ-อเส เสาดัง แผ่นพื้นชั้นดาดฟ้ า คานรัดหัวเสาโครงหลังคา ระบบแผ่นพื้น
                                 ่
ต่างๆ คานฝาก-คานซอย คานหลัก เสา เสาตอม่อ ฐานราก ตามลําดับ

    แต่ถาหากมีประสบการณ์ที่มากขึ้นและมีการเก็บตัวเลขสถิติ (Magic Number) ต่างๆ ไว้เพือใช้งาน
        ้                                                                            ่

ในอนาคต ก็อาจออกแบบชิ้ นส่ วนแบบลัดวงจรได้โดยไม่ตองทําดังที่ได้กล่าวมาแล้ว (แต่ท้ งน้ ี ท้ งน้ น
                                                 ้                                ั ั ั

ควรมีการตรวจเช็คยอนกลบดวย) เช่น อาจออกแบบจันทันได้ก่อนออกแบบแป อาจออกแบบส่ วนของ
                 ้   ั ้

ฐานรากได้ก่อนออกแบบเสา อาจออกแบบเสาได้ก่อนออกแบบคาน ยกตัวอย่างเช่น บ้านพักอาศัย

คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ช้ น (ที่ช่วงคานปกติทวไป) นํ้าหนักถ่ายลงเสาแต่ละต้นต่อชั้นประมาณ 7 – 10
                       ั                 ่ั
ตัน อาคารพานิชย์คอนกรี ตเสริ มเหล็ก 2-3 ช้ น (ที่ช่วงคานปกติทวไป) นํ้าหนักถ่ายลงเสาแต่ละต้นต่อ
                                           ั                 ั่

อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

ชั้นประมาณ 10 – 15 ตัน หรื อ ในกรณี ข องเสาเข็ม คอนกรี ตอัดแรงแบบสี ่ เหลี ่ย มตัน สามารถรั บ




                                                                                              19
นํ้าหนักบรรทุกปลอดภัยเนื่องจากคุณสมบัติของหน้าตัดได้ประมาณ 1.45b ตัน (เมื่อ b คือหน้ากว้างของ

เสาเขมหน่วยเป็น ซม.) เหล่าน้ ีเป็นตน
     ็                             ้



6. การอ่านแบบและเคลยร์แบบ
                   ี

                                                                                           ่
    การอ่านแบบเพื่อเคลียร์ แบบเป็ นสิ่ งแรกที่ผออกแบบทุกคนจะต้องกระทํา เริ่ มตั้งแต่ตรวจดูวาแบบ
                                               ู้

แปลน (ที่ ได้รับ) มีมาครบพอทีเ่ ราจะออกแบบได้จนจบหรื อไม่ มีขอมูลของสถานทีก่อสร้าง-เจ้าของ
                                                             ้            ่

โครงการ-คุณลักษณะของวัสดุต่างๆ ที่ใช้ (ในส่ วนนี้หากสถาปนิกหรื อช่างเขียนแบบที่ละเอียดก็จะมีมา

ครบ) ครบหรื อไม่ ระยะต่างๆทั้งในแนวราบ (อ่านจากแบบแปลนสถาปัตยและแบบแปลนโครงสร้าง)
                                                             ์

และแนวดิ่ง (อ่านจากแบบแปลนรูปดาน, ภาพตัดขวาง และภาพขยาย) ครบหรื อไม่ต้ งแต่ระดับอ้างอิง
                              ้                                        ั

                                          ั
จนถึงหลังคา การวางตัวของโครงสร้างสัมพันธ์กบแบบแปลนสถาปั ตย์หรื อไม่ ตําแหน่งการวางของ

ผนง-ประตู-หน้าต่าง-ราวระเบียงสัมพันธ์หรื อไม่ (อ่านจากแบบแปลนสถาปั ตย์, แบบแปลนรู ปด้าน,
  ั

ภาพตัดขวาง)




อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้




                                                                                               20
                รูปท่ี 6 แสดงการขัดแย้งกันของแบบแปลนโครงสร้างกับภาพตัดขยาย



     ่
จุดมุงหมายหลักของการอ่านแบบก็เพื่อ

1) หาระบบของนํ้าหนัก (แรงกระทําต่างๆ) ทีกระทําต่อโครงสร้าง เพือนําไปวิเคราะห์หาระบบแรง
                                        ่                     ่

ปฏิ กิริยา (นําไปใช้ในการส่ งถ่ ายแรงระหว่างชิ้นส่ วน), ระบบแรงภายใน (นําไปใช้สําหรับออกแบบ

ขนาดหรื อขนาดและเหล็กเสริ ม) และการเสี ยรู ป อาจจะเป็ นเฉพาะการเสี ยรู ปเชิงเส้นหรื อรวมการเสี ย

รู ปเชิงมุมด้วยก็ได้สาหรับในบางกรณี เช่น กรณี มีการบิดตัวร่ วมกับการแอ่นตัว (นําไปใช้ในการควบคุม
                     ํ

การออกแบบ)

2) ความถูกต้องของการวางผังโครงสร้างหลักและโครงสร้างรองของอาคาร จะนํามาซึ่ งความมันคง
                                                                                 ่
และความแข็งแรงรวมไปถึงระบบของการส่ งถ่ายแรงที่เป็ นเหตุเป็ นผล

ผลพลอยได้ที่ตามมาหลักๆ คือ

         ช่วยลดการขัดแย้งกันของแบบก่อสร้างได้ ทําให้ขณะก่อสร้างจริ งเกิดปั ญหาข้อถกเถียง

            น้อยที่สุด เช่น แบบสถาปั ตย์-แบบงานระบบต่าง-แบบโครงสร้างต้องไม่ขดแย้งกัน แบบ
                                                                            ั

อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

            แปลนช้ ันต่างๆ-แบบแปลนรู ปด้าน-แบบแปลนภาพตัดขวางต้องไม่ขดแย้งกัน (ท้ งแบบ
                                                                    ั            ั




                                                                                                      21
            สถาปั ตย์, แบบงานระบบต่างๆ และแบบโครงสร้าง)

         การก่อสร้างจึงเป็นไปดวยความสะดวกและรวดเร็ว
                               ้

         การถอดแบบประมาณราคาก็จะหลุดน้อยหรื อไม่มีเลย

หมายเหตุ: ข้อควรระวังในการอ่านแบบและเคลียร์ แบบ คือ เรื่ องความชัดเจนของระดับต่างๆ เรื่ องการ

วางซอนทบกนของชิ้นส่วน (ผลสื บเนื่องจากเรื่ องระดับ) เร่ ื องของการให้ระยะและมาตราส่ วน (ควรยึด
    ้ ั ั

ตัวเลขที่ระบุเป็ นหลักไม่ควรยึดระยะทีวดโดยใช้มาตราส่ วน โดยเฉพาะแบบแปลนที่มีการย่อ-ขยายโดย
                                     ่ ั

การถ่ายเอกสาร)



7. การวางผังโครงสร้ างอาคาร

    หลักพื้นฐานประจําใจ คือ วางผังโดยการยึดแบบทางสถาปั ตย์เป็ นหลัก (ในเบื้องต้น) และที่สําคญ
                                                                                            ั

โครงสร้างจะต้องมีท้งความมันคงและความแข็งแรง ทั้งโดยส่ วนตัวของชิ้นส่ วนเองและโดยรวมเมื่อนํา
                   ั      ่
แต่ละชิ้นส่ วนมาต่อเชื่อมขึ้นเป็ นโครงสร้างอาคาร     ซึ่ งต้องเริ่ มตั้งแต่การวางตัวของแต่ละชิ้นส่ วนไป

จนถึงการวางตัวโดยรวมของโครงสร้าง ทั้งนี้อาศัยหลักการพื้นฐานขององค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา

ในวิชากําลังวัสดุ โดยเฉพาะในเรื่ องของโมเมนต์ที่สองของพื้นที่ (หนาตด) ดงแสดงในรูปด้านล่าง
                                                                 ้ ั ั




อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้




                                                                                        22

               รูปท่ี 7 แสดงทิศทางการวางตัวของชิ้นส่ วนย่อยที่ประกอบเป็ นโครงสร้าง



ข้อควรคํานึงและระวังในการวางผังโครงสร้าง

    1. ควรคํานึ งถึ งทิศทางการกระทําหลักของแรงลมและแรงกระทําด้านข้าง เช่ น แรงแผ่นดิ นไหว

(โดยเฉพาะอาคารขนาดใหญ่หรื อสู ง)
อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

    2. ไม่ควรใช้ระบบพื้นวางบนดิ นหากไม่มีการป้ องกันการเคลื่อนตัวของดิน (แม้ว่าจะมีการบดอัด




                                                                                                    23
แลวก็ตาม)
  ้

    3. ไม่ควรใช้ระบบพื้นวางบนดินหรื อพื้นสําเร็ จรู ปในเขตพื้นที่ที่เสี่ ยงต่อภาวการณ์เกิดแผ่นดินไหว

เพราะนอกจากจะไม่มีส่วนช่วยในการกระจายแรงในแนวราบ (Floor Diaphragm) แล้ว ยังอาจเกิ ด

อนตรายต่อชีวตและทรัพยสินดวย
 ั          ิ        ์ ้

    4. กรณี พ้ืนวางบนดินที่ถมดินสู งโดยออกแบบคานคอดินเป็ นคานลึก (เพื่อใช้ก้ นดินไปในตัว) ไม่
                                                                             ั

ควรทําเป็ นอย่างยิง เพราะจะทําให้คานเกิดการแอ่นด้านข้าง (ซ่ ึงไม่ไดมีการออกแบบเผอไว)้
                  ่                                                ้            ่ื

    5. ทิศทางการวางพื้นสําเร็ จรู ป (อาจรวมถึงบันไดด้วย)        ควรวางในทิศทางขนานด้านสั้นของ

โครงสร้างอาคาร (ไม่ใช่ขนานกับคานด้านสั้น)

    6. ผนังกั้นห้องที่สูงและหนักควรมีคานรองรับเสมอ

    7. คานคอดิน (มีไว้เพื่อช่วยยึดรั้งส่ วนของฐานรากไม่ให้เคลื่อนหรื อถ่างออก อันเนื่องมาจากการรับ

แรงกดมหาศาลจากทุ ก ชั้น) จํา เป็ นต้องมี โดยเฉพาะในกรณี ข องฐานรากแผ่หรื อพื้ นที ่ที ่เ สี ่ ย งต่ อ

ภาวะการเกิดแผนดินไหว
             ่

    8. ควรวางหน้าตัดคาน (ไม่วาจะเป็นหนาตดชนิดแบบเปิดหรือปิด) โดยให้น้ าหนักบรรทุกกระทําใน
                             ่        ้ ั                             ํ

ทิศทางที่ขนานกับความลึกของหน้าตัด

    9. ควร (หากเป็ นไปได้) วางคานโดยให้น้ าหนักบรรทุกกระทําผ่านจุดศูนย์กลางแรงเฉื อน (Shear
                                          ํ

Center) ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการบิดตัวของคาน (เพราะเวลาออกแบบมกไม่คิดเผอแรงบิดท่ีอาจจะเกิด)
                                                               ั        ่ื

    10. ไม่ควรวางคานยืนออกจากเสาโดยไม่มีคานภายใน (ท่ีต่อเน่ือง) ช่วยยึดรั้งเสาและกระจายแรง
                      ่

    11. คานยน (เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ) ไม่ควรยืนยาวมากครึ่ งหนึ่งของคานภายในที่ต่อเนื่อง
            ่ื                                 ่

    12. ทิศทางการวางหน้าตัดเสา (โดยเฉพาะกรณี ของหน้าตัดรู ป 4 เหลี่ยมผืนผ้า) ควรวางให้หน้ากวาง
                                                                                            ้

                         ่
ของเสา (หรื อความลึก) อยูในทิศทางขนานด้านสั้นของโครงสร้างอาคาร (ไม่ใช่ขนานกับคานด้านสั้น)
อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

    13.ทิศทางการวางหน้าตัดเสา (ที่เสริ มเหล็กแบบไม่สมมาตร) ควรวางหน้าตัดเสาด้านที่มีการวาง




                                                                                                 24
                                                      ่
เหล็กแกนที่ทาให้เกิดโมเมนต์ที่สองของพื้นที่มากสุ ด อยูในทิศทางขนานด้านสั้นของโครงสร้างอาคาร
            ํ

                                     ่
    14. การวางฐานราก ควรวางด้านยาวอยูในทิศทางขนานด้านสั้นของโครงสร้าง

    15. กรณี ฐานรากรู ปทรงสี่ เหลี่ยมจัตุรัส ควรวางในลักษณะที่เหล็กเสริ มล่าง (เหล็กหลัก) มีทิศทาง

ขนานด้านสั้นของโครงสร้างอาคาร




                  รู ปท่ี 8 แสดงการวางผังโครงสร้างที่สัมพันธ์กบแบบทางสถาปั ตย์
                                                              ั




อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

8. การจดกล่มชิ้นส่วนเพอการออกแบบ
       ั ุ            ่ื




                                                                                                          25
1. แป-จนทน-ตะเฆ่สัน-ตะเฆ่ราง: เลื อกชิ้นส่ วนที่มีช่วงยาวที่สุดมาควบคุ มการออกแบบ แล้วใช้
       ั ั

          ั ั
ขนาดเดียวกนท้งหมด

2. ข่ือ-อเส-อกไก่: เปรี ยบเทียบชิ้นส่ วนที่มีช่วงยาวสุ ดกับชิ้ นส่ วนที่รับนํ้าหนักสู งสุ ด (มกใชกรณีน้ ี )
                                                                                              ั ้

เลือกมาควบคุมการออกแบบ แล้วใช้ขนาดเดียวกันทั้งหมด

3. เสาดง: เปรี ยบเทียบเสาทีสูงสุ ดกับเสาที่มีพ้ืนที่รับนํ้าหนักสู งสุ ด (มักใช้กรณี น้ ี) เลือกมาควบคุมการ
       ่ั                  ่

                      ั ั
ออกแบบ แลวใชขนาดเดียวกนท้งหมด
         ้ ้

4. แผนพ้ืน: ตรวจสอบอตราส่วน m = ดานส้ ัน(S) /ดานยาว (L)
     ่              ั            ้            ้

         กรณี แผ่นพื้นหล่อในที่จดให้อยูกลุ่มเดียวกันหากมีค่าอัตราส่ วน m ต่างกันอยู่ในช่ วง 10 -
                                 ั      ่

             15 เปอร็เซ็นต์

         กรณีแผนพ้ืนสาเร็จรูปจดใหอยกลุ่มเดียวกนหากมีความยาวต่างกนไม่เกิน 50 cm. (หรื ออาจ
                ่     ํ        ั ้ ู่          ั                 ั

             ใช้ขนาดที่ยาวที่สุดเป็ นตัวควบคุมแล้วใช้ขนาดเดียวกันทั้งหมดก็ได้...ท้ งน้ ี ข้ ึนอยู่กบดุลย
                                                                                   ั               ั

             พนิจของผออกแบบ)
              ิ      ู้

5. บนได: จดใหอยกลุ่มเดียวกนหากมีความยาวต่างกนไม่เกิน 50 cm.
    ั     ั ้ ู่          ั                 ั

6. คาน: โดยแบ่งเป็ น คานซอย คานภายใน คานตัวริ ม จัดให้อยูกลุ่มเดียวกันหากมีความยาวต่างกันไม่
                                                         ่

เกิน 50-100 cm. โดยเปรียบเทียบคานที่มีช่วงยาวสุดกบชิ้นส่วนที่รับน้ าหนกสูงสุด เลือกมาควบคุม
                                                 ั                 ํ ั

การออกแบบแลวใชขนาดเดียวกนท้ งหมดในแต่ละกลุ่ม
           ้ ้          ั ั

7. เสา: โดยแบ่งเป็ น เสาดัง เสาภายใน เสาต้นริ ม จัดให้อยูกลุ่มเดียวกันโดยเปรี ยบเทียบเสาที่สูงสุ ด
                          ่                              ่

กับเสาที่รับนํ้าหนักสู งสุ ด (มกใชกรณีน้ ี) เลือกมาควบคุมการออกแบบ แล้วใช้ขนาดเดียวกันทั้งหมดใน
                               ั ้

แต่ละกลุ่ม


อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

8. ฐานราก: โดยแบ่งเป็ น ฐานรากรับระเบียง ฐานรากภายใน ฐานรากตัวริ ม (หรื อชิดเขต) จัดให้อ ยู่




                                                                                                26
กลุ่มเดียวกน โดยเปรี ยบเทียบฐานรากที่รับนํ้าหนักสู งสุ ด (มักใช้กรณี น้ ี) เลือกมาควบคุมการออกแบบ
           ั

แลวใชขนาดเดียวกนท้งหมดในแต่ละกลุ่ม
  ้ ้          ั ั



9. ระบบหน่วยวด (Unit System)
             ั

    ในด้านการวิเคราะห์และคํานวณ-ออกแบบนั้น สิ่ งที่จาเป็ นและสําคัญเอามากๆก็คือ “ระบบหน่วย
                                                    ํ

วด” เท่าที่ผ่านมาระบบการเรี ยนการสอนในประเทศไทย ยังขาดความต่อเนื่องในการให้ความสําคัญ
 ั

ต่อระบบหน่วยวัด โดยเฉพาะอย่างยิงการเรี ยนการสอนในแขนงด้านวิชาช่างต่างๆ
                               ่
    ระบบหน่ วยวัดดังกล่าวมีอยู่ดวยกันมากมาย ซึ่ งในแต่ละประเทศอาจมีการสร้างระบบหน่ วยวัด
                                ้

                                                                                        ั
ข้ ึนมาใชเ้ ป็นของตนเอง แต่ในที่น้ ี จะกล่าวถึงเฉพาะระบบหน่วยวัด ที่เป็ นสากลและนิยมใช้กนอย่าง

แพร่หลายทวโลกดงน้ ีคือ
         ั่   ั

        1. ระบบอังกฤษ

        2. ระบบเมตริ ก

        3. ระบบนาๆชาติ SI.




อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

ตารางท่ี 3 แสดงหน่วยวดตามระบบหน่วยวดมาตรฐาน 3 ระบบหลัก
                     ั             ั




                                                                                                      27
    คุณสมบติพ้ืนฐาน
          ั                      ระบบองกฤษ
                                      ั                    ระบบเมตริก           ระบบนาๆชาติ ; SI.

                                     นิ้ว (in.) ,           มม. (mm.) ,             มม. (mm.) ,
       1. ความยาว
                                ฟุต (ft.) , หลา         ซม. (cm.) , ม. (m.)     ซม. (cm.) , ม. (m.)

                                ตร.นิ้ว (in.2 ) ,        ตร.มม. (mm.2 ) ,         ตร.มม. (mm.2 ) ,

                                 ตร.ฟุต (ft.2 ) ,         ตร.ซม. (cm.2 ) ,        ตร.ซม. (cm.2 ) ,
         2. พ้ืนท่ ี
                                      ตร.หลา                ตร.ม. (m.2 )            ตร.ม. (m.2 )

                                 ปอนด์ (lb.) ,                                      นิวตน (N.) ,
                                                                                        ั
          3. แรง                                        กก. (kg.f ) , ตน (T.)
                                                                       ั
                               กิโลปอนด์ (kip.)                                 กิโลนิวตน (KN.)
                                                                                        ั

                                                                                นิวตน/ตร.ม. (Pa) ,
                                                                                    ั
                                                    2
       4. หน่วยแรง          ปอนด/์ ตร.นิ้ว (lb./in. )   กก./ตร.ซม. (ksc.)
                                                                                       MPa

         5. เวลา                    วนาที (sec.)
                                     ิ                      วนาที (sec.)
                                                             ิ                      วนาที (sec.)
                                                                                     ิ

    หมายเหตุ

             Pa        = 1 N./m.2

             lb./in.2 = 6.894 KN./m.2

             lb./in.2 = 0.07030696 Kg./cm.2

             MPa = 10.19716 Kg./cm.2

             KN.       = 101.9716 kg.f



                                                                                    ่ ั
    สําหรับในประเทศไทยแล้วเท่าที่เห็นได้มีการใช้ท้ ง 3 ระบบดังกล่าว ทั้งนี้ ข้ ึนอยูกบสาขาวิชาชี พ
                                                   ั

ข้ ึนอยู่กบแต่ละหน่วยงาน ขึ้นอยู่กบความชํานาญและความถนัดของแต่ละบุคคล แต่ที่น่าแปลกคือ
          ั                       ั
อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

ข้ ึนอยกบรุ่นของคนดวย กล่าวคือคนรุ่นก่อนๆ(ที่ศึกษาจบรุ่ นแรกๆ)จะใช้ระบบหนึ่ ง ในขณะที่คนรุ่ น
       ู่ ั        ้




                                                                                                        28
หลงๆกลบมาใชในอีกระบบหน่ ึง อีกส่วนหน่ ึ งที่จะมองขามไม่ไดเ้ ลยก็คือ ประเทศที่แต่ละบุคคลไดไป
  ั   ั    ้                                      ้                                      ้

สํา เร็ จการศึกษากลับมา แต่ในที่น้ ี ระบบหน่ วยวัดต่างๆ ที่จะใช้ในบทต่อๆ ไป ผูเ้ ขียนจะเน้นลงไปที่

                                                          ่ ้
ระบบเมตริ กเป็ นหลัก ซึ่ งอาจมีระบบ SI. และระบบอังกฤษปนอยูบาง



10. คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานวิเคราะห์ และออกแบบงานโครงสร้ าง

    ในยุคปั จจุบนความเจริ ญก้าวหน้าทางด้านไมโครคอมพิวเตอร์ ก้าวลํ้าไปไกลมากประกอบกับราคา
                ั

ดาน Hardware กลบถูกลงหาซ้ื อได้ง่ายและพกพาได้สะดวก เช่น Notebook ทั้งนี้ ก็เนื่องมาจากการ
 ้             ั

แข่ ง ขัน กั น ทางเชิ ง ธุ รกิ จ มี สู ง และในขณะเดี ย วกั น ความรู ้ แ ละความต้ อ งการใช้ ง านด้ า น

ไมโครคอมพิวเตอร์ ก็มีความจําเป็ นมาก หากอุตสาหกรรมด้านงานก่อสร้างมีการแข่งขันกันสู ง หรื อ

แม้แต่เพื่อเป็ นการช่ วยเพิ่มความน่ าเชื่อถื อให้ก ับบริ ษท ใหญ่ ๆที่เกี่ย วข้องกับงานด้านนี้ ก็ตาม ส่ วน
                                                          ั

                                           ั
Software ด้านการวิเคราะห์และออกแบบนั้นก็มีกนมากมายไม่นอยหน้า มีท้ งประเภทที่แจกจ่ายให้ใช้
                                                      ้           ั

ฟรี ๆ ประเภท Shareware และ Demo ซึ่ งเราสามารถหามาใช้ได้โดยง่ายทั้งจากสถาบันที่กาลังศึกษาอยู่
                                                                                ํ

จากเครื อข่าย Internet จากบุคคลที่คุนเคยกันดี ตัว Softwaer ท่ีเราค่อนขางท่ีจะรู้จกกน Staad, Sap,
                                    ้                                 ้          ั ั

Prokon, Robot, Versual Steel Design, Multiframe, Xsteel, Etab, S-Frame, idCAD Structural, Risa3D ,

Ram, SpaceGase, Strap, Microstran, ลฯ ซึ่ ง Software เหล่านี้ถนนราคาค่อนข้างแพงจะมีใช้ก็แต่ใน

บริ ษทใหญ่ๆ หรื อหน่วยงานบางหน่วยงานของรัฐรวมไปถึงมหาวิทยาลัยบางแห่งเสี ยเป็ นส่ วนมาก ลฯ
     ั

ปัจจุบนมี Software บางตัวที่เราสามารถนํามาใช้ในการเขี ยนโปรแกรมการออกแบบได้เองโดยง่า ย
      ั

ประกอบกับงานด้านวิศวกรรมมักนิยมใช้งานในรู ปแบบของตารางคํานวณกันมาก (Spread Sheet) เช่น

MSExcel ดังนั้นหากใครเคยใช้หรื อใช้โปรแกรมเหล่านี้ได้ ก็สามารถที่จะนํามาเขียนเป็ นโปรแกรม


อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้

ออกแบบโครงสร้างเหล็กรู ปพรรณในรู ปของตารางคํานวณอย่างง่ายได้ เช่น โปรแกรมตระกูล NEO ท่ี




                                                                                      29
ผเู้ ขียนไดทาการพฒนาข้ ึนโดยใช้ MSExcel + vb.
           ้ ํ   ั




            รูปท่ี 9 แสดงหนาตาโปรแกรมออกแบบโครงสร้างไมและเหลก (ตระกล NEO)
                           ้                          ้     ็      ู




อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง
           ์                                             ้




                                                                                  30
          รูปท่ี 10 แสดงหนาตาโปรแกรมออกแบบโครงสร้าง คสล. และ คอร.(ตระกล NEO)
                          ้                                           ู




อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี
                                      ิ                       ิ ั      ั ุ
นําหนักบรรทุกเพือการออกแบบ
  ้             ่                                                                                          2
                                                                                  ่ ้
    ในสภาพความเป็ นจริ งหรื อโครงสร้างจริ งนั้น นํ้าหนักที่กระทําต่อโครงสร้างมีอยูดวยกันในหลาย

                                                ่ ั
รู ปแบบและหลายลักษณะ ทั้งนี้โดยภาพรวมแล้วขึ้นอยูกบลักษณะหรื อประเภทของโครงสร้าง สภาพ

การใช้งานของโครงสร้าง สภาพและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละท้องที่ ดังนั้นค่าของนํ้าหนักในเชิง

ตัวเลขที่กระทําต่อโครงสร้างก็จะแตกต่างกันออกไปมากบ้างน้อยบ้าง ตามมาตรฐานของแต่ละท้องที่ที่

ไดมีการบันทึก เก็บสถิติ หรื อจากการรวบรวมวิจยจากหลายๆหน่วยงาน และได้มีการยอมรับและใช้
  ้                                         ั

 ั ่ั
กนทวๆไป

    เพือไม่ให้เกิดความสับสน ดังนั้นในทีน้ ี ผเู้ ขียนจึงได้ทาการจําแนกนํ้าหนักที่กระทําต่อโครงสร้าง
       ่                                                    ํ

ออกเป็น 2 กลุ่มหลักๆ



1. ความหมายของนําหนักบรรทุก (Load) ทกระทาต่อโครงสร้าง
                ้                   ่ี  ํ

    ความหมายของคํา

        นําหนักบรรทุกตายตว (Dead Load; DL.)
          ้              ั

                                                 ่ ั
        “คือนํ้าหนักทีถูกยึด ฝัง หรื อตรึ งให้อยูกบที่ (โครงสร้าง) รวมถึงนํ้าหนักของตัวโครงสร้างเอง
                      ่

(Self Weight; SW.)”

        นําหนักบรรทุกจร (Live Load; LL.)
          ้

        “คื อนํ้า หนัก ที ่ไ ม่ ถู ก ยึ ด ฝั ง หรือ ตรึง ให้ อยู่ก ับ ท่ ี (โครงสร้ า ง) ซึ่ ง สามารถเคลื ่อ นย้า ยหรื อ

                                                                    ํ
เคลื่อนไหวได้โดยง่าย ทั้งที่เคลื่อนที่โดยธรรมชาติเองหรื อโดยการใส่ กาลังงานให้โดยมนุษย์”
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt
Structure analydesign yt

More Related Content

Viewers also liked

การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
ปวศ ตะวันตก
ปวศ ตะวันตกปวศ ตะวันตก
ปวศ ตะวันตกwicha 泰国瑞查
 
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคินสัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคินGood Living
 
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการสถาบันฝึกอบรม โยธาไทย
 
การสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นThammawat INTACHAKRA
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลินAniwat Suyata
 
กฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิกกฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิกThammawat INTACHAKRA
 
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมืองThammawat INTACHAKRA
 
THESIS-PINUP#03
THESIS-PINUP#03THESIS-PINUP#03
THESIS-PINUP#03Jainn JNz
 
เจ๊จู วัสดุก่อสร้าง - Digital Marketing in Construction Industry
เจ๊จู วัสดุก่อสร้าง - Digital Marketing in Construction Industryเจ๊จู วัสดุก่อสร้าง - Digital Marketing in Construction Industry
เจ๊จู วัสดุก่อสร้าง - Digital Marketing in Construction IndustryBuilk Thailand
 

Viewers also liked (20)

การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
ปวศ ตะวันตก
ปวศ ตะวันตกปวศ ตะวันตก
ปวศ ตะวันตก
 
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคินสัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
 
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
 
M P R6250 T M12 Prn
M P R6250 T M12 PrnM P R6250 T M12 Prn
M P R6250 T M12 Prn
 
M P R6250 T M12 Prn
M P R6250 T M12 PrnM P R6250 T M12 Prn
M P R6250 T M12 Prn
 
เอกสารพี่บุญทิพย์
เอกสารพี่บุญทิพย์เอกสารพี่บุญทิพย์
เอกสารพี่บุญทิพย์
 
ตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคาร
ตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคารตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคาร
ตัวอย่างการคำนวณ ค่า K อาคาร
 
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
 
worldcivil
worldcivilworldcivil
worldcivil
 
การสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การสัมมนา หน่วยงานวางแผนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน
 
Pre thesis 01-5205108
Pre thesis 01-5205108Pre thesis 01-5205108
Pre thesis 01-5205108
 
ระบบประปา
ระบบประปาระบบประปา
ระบบประปา
 
NUI-RC_th
NUI-RC_thNUI-RC_th
NUI-RC_th
 
กฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิกกฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิก
 
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
 
THESIS-PINUP#03
THESIS-PINUP#03THESIS-PINUP#03
THESIS-PINUP#03
 
thesis #4
thesis #4thesis #4
thesis #4
 
เจ๊จู วัสดุก่อสร้าง - Digital Marketing in Construction Industry
เจ๊จู วัสดุก่อสร้าง - Digital Marketing in Construction Industryเจ๊จู วัสดุก่อสร้าง - Digital Marketing in Construction Industry
เจ๊จู วัสดุก่อสร้าง - Digital Marketing in Construction Industry
 

Similar to Structure analydesign yt

ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
โครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอมโครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอมVisarut Keatnima
 
หลักการทำโครงงาน
หลักการทำโครงงานหลักการทำโครงงาน
หลักการทำโครงงานInam Chatsanova
 
แบบทดสอบหน่วย4
แบบทดสอบหน่วย4แบบทดสอบหน่วย4
แบบทดสอบหน่วย4Rattana Wongphu-nga
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบPum Pep
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบPum Pep
 
โครงงาน คอม เชต
โครงงาน   คอม    เชตโครงงาน   คอม    เชต
โครงงาน คอม เชตThanasak Inchai
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3suparada
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Rattana Wongphu-nga
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)etcenterrbru
 

Similar to Structure analydesign yt (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
เก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้ามเก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้าม
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
โครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอมโครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอม
 
654569
654569654569
654569
 
หลักการทำโครงงาน
หลักการทำโครงงานหลักการทำโครงงาน
หลักการทำโครงงาน
 
แบบทดสอบหน่วย4
แบบทดสอบหน่วย4แบบทดสอบหน่วย4
แบบทดสอบหน่วย4
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
โครงงาน คอม เชต
โครงงาน   คอม    เชตโครงงาน   คอม    เชต
โครงงาน คอม เชต
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)
 

Structure analydesign yt

  • 1.
  • 2. คํานํา คาว่า “หลักวิชาช่างที่ดี” มีมานาน ซึ่ งอยูเ่ คียงข้างกายของนายช่างคู่มากับเงินและเวลา การหา ํ จุดทีพอดีของทั้ง 3 ส่ วนเป็ นแบบ “Three In One” นั้นยากเหลือทน แถมมีเรื่ องคน (เจ้านาย) เข้ามาเสริ ม ่ ่ ทัพขยับปั ญหาขึ้นมาเป็ น “Four In One” นันคือความเป็ นจริ งที่ถูกทิ้งไว้ในเบื้องหลัง หากพังมาก็วากัน ่ ไปตามกรอบลวนบอบชํ้าไปตามๆกัน แต่ปัญหาที่วา...ทานป้องกนได!้ ...อย่างไรหล่ะ ้ ่ ่ ั ก็ดวยการเรี ยนรู ้ และเข้าใจในหลักการง่ายๆ เพือไต่ไปสู่ หลักการที่ยงยาก จากการฝึ กให้จาทํา ้ ่ ุ่ ํ ให้เข้าใจในหลักการต่างๆอย่างเป็ นขั้นตอน (ดังที่ได้เรี ยงลําดับไว้ให้) อันจะนําไปสู่ การไขข้อคับข้องใจ ให้คลายลงและตรงกับสายงานที่สานกันอยู่ ท้ายที่สุดทีผดขึ้นในมโนจิต คือคิดว่าจะทําอย่างไรเพือให้ผเู้ ข้าอบรม สมหวังดังที่ต้ งกันทุกคน ุ่ ่ ั แต่ก็จนด้วยเกล้า เฝ้ าแต่คิดแต่ก็ติดที่เงื่อนเวลา หาทางออกเพียงบอกว่า “อบรมคราวหน้า ฟ้ าคงเป็ นใจ ให้สมหวังดังที่ต้งกันทุกคน” ั (อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก) วศ.ม.(โยธา) 11 กรกฎาคม 2553
  • 3. ความรู้ เบืองต้ นก่ อนการออกแบบ ้ 1 ในบทนี้จะเป็ นการกล่าวถึงความรู ้พ้ืนฐาน (Basic) โดยรวมทัวๆไป ที่จะเกี่ยวข้องหรื อจําเป็ นต้อง ่ ทราบก่อนเป็ นเบื้ องต้น ก่อนที่จะเข้าสู่ เนื้ อหาของการวิเคราะห์ (Analysis) และออกแบบโครงสร้าง (Structure Design) เร่ิ ม ต้ งแต่คติป ระจํา ใจของผูที่จะทํา การคํานวณและออกแบบ มาตรฐานการ ั ้ ออกแบบ (Code) และ ทฤษฎี (Theory) ที่ใช้สําหรับการออกแบบ วิธี (Methode) หรื ออันดับในการ วิ เ คราะห์ ห าแรงในโครงสร้ า ง ระบบหน่ ว ยวัด (Unit) ที ่ใ ช้ รวมถึ ง ระบบซอฟท์แ วร์ (Engineer Software) ต่ า งๆที ่จ ะนํา มาช่ ว ยอํ านวยความสะดวก ทั้ง ในแง่ ข องการช่ ว ยแก้ปั ญ หาและช่ ว ยลด ระยะเวลาในการทางาน (หมายเหตุ: รายละเอียดที่ลึกซึ้ งมากกว่านี้ ให้อ่านในแผ่น CD ROM เร่ ื อง ํ หลักการพื้นฐานในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างเหล็ก)
  • 4. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 2 รูปท่ี 1 แสดงพื้นฐานการส่ งถ่ายแรงในโครงสร้าง อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 5. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 1. หลักประจําใจในการวิเคราะห์ และออกแบบโครงสร้ าง 3 1. ทําอย่ างไรจึงจะออกแบบได้ ทั้งในส่ วนของการออกแบบโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก โครงสร้ างคอนกรี ตอัดแรง และ ้ ํ โครงสร้างไม้และเหล็ก ผูที่กาลังเริ่ มต้นงานด้านการออกแบบโครงสร้าง มักมีในหลายสิ่ งที่ทุกคน ั ั กงวลเหมือนๆ กนคือ  ออกแบบไปแลวจะมนใจไดมากนอยแค่ใหน ้ ั่ ้ ้  จะเริ่มตนอยางไรหรือเรียนรู้อะไรก่อนหลง ้ ่ ั  กระบวนการออกแบบมีลาดับขั้นตอนอย่างไร ํ 2. ขั้นตอนหลักในการออกแบบ (ทั้งหมดต้ องอยู่ภายใต้ ข้อกําหนดหรือมาตรฐานการออกแบบ) 1) หาระบบแรงที่กระทําต่อโครงสร้าง (แรงภายนอก) 2) วิเคราะห์โครงสร้างเพื่อหาแรงภายใน (โดยรวมมักหมายถึงแรงภายในสู งสุ ด) 3) นําแรงภายในไปออกแบบขนาดชิ้นส่ วนของโครงสร้าง รวมถึงจุดต่อต่างๆ 4) เขียนรายละเอียดการออกแบบ (Detail) อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 6. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ ตารางท่ี 1 แสดงใหเ้ ห็นสิ่งตองเรียนรู้และข้นตอนการออกแบบ ้ ั 4 ต้ องการออกแบบ...ได้ ต้องมี การเริ่มต้ น จะเร่ิมต้นอย่างไร (ตองรู้ในสิ่งเหล่าน้ ี) ้ 1. คุณสมบัติของวัสดุทีใช้ในการวิเคราะห์และ ่ ออกแบบส่ วนต่างๆ ้ ํ 2. ทฤษฎีออกแบบ และขอกาหนดหรือ มาตรฐานการออกแบบ อาคารที่พกอาศัย, อาคารสํานักงาน ลฯ ั 3. อานแบบแปลนได้ (ช่วยในการวางผง ่ ั โครงสร้าง, รู ้ระบบการส่ งถ่ายแรง และแรงที่ กระทํา) มลาดบข้นตอนอย่างไร ีํ ั ั ่ ้ 1. อานแบบเพอ ตรวจแก-วางผังโครงสร้าง-หา ่ื อาคารหอประชุม, อาคารโรงงาน ลฯ ระบบแรงที่กระทําต่อโครงสร้าง 2. จําแนกแรงที่กระทําออกเป็ นกรณี ต่างๆ 3. วิเคราะห์หาแรงภายในของแต่ละกรณี 4. ออกแบบชิ้นส่วน (รวมถึงรอยต่อระหว่าง ชิ้นส่วน) โดยใชแรงภายในสูงสุด ้ โครงสร้างป้ าย, หอถังสู ง ลฯ 5. เขียนรายละเอียด อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 7. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 3. หลักพืนฐานในการออกแบบโครงสร้ าง ้ 5 ในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างนั้น พื้นฐานความรู้ความเข้าใจในทฤษฎี (รายวิชาที่เรี ยน) เป็ นสิ่ งสําคัญ หากเราได้เข้าใจในสิ่ งที่เรากําลังศึกษาว่ามีความสําคัญอย่างไร และจะนําไปใช้งานได้ จริ งหรื อไม่ในส่ วนใดของกระบวนการวิเคราะห์และออกแบบ ก็จะทําให้เราไม่อาจที่จะมองขามหรือ ้ ขาดความใส่ ใจน้อยลง (แต่ท้ งนี้ ท้ งนั้นขึ้นอยู่กบผูสอนด้วย) ั ั ั ้ ในการศึกษาวิชาต่างๆที่เรี ยนสามารถ แบ่งกลุ่มเพื่อหวังผลการใช้งานได้ง่ายๆ ดังนี้ 1. วิชา Drawing และการเขียนแบบต่างๆ: ทําให้เราอ่านแบบเป็ น (พ้ืนฐานเบ้ืองตน) ้ 2. วิชากําลังวัสดุ: ทําให้เรารู ้คุณสมบัติของวัสดุ รู้การเลือกใช้รูปร่ างหน้าตัด รู้การวางของหน้าตัด ซึ่ ง ทั้งหมดล้วนเกี่ยวข้องกับความแข็งแรงของโครงสร้าง 3. วิชากลศาสตร์ วิศวกรรม, วิชาทฤษฎีโครงสร้าง และวิชาการวิเคราะห์โครงสร้าง: ทําให้เรารู้จก ั วิธี การ (หรื อเครื่ องมือเพือใช้) ในการหาแรงปฏิกิริยา แรงภายในและการเสี ยรู ป เพือนําไปใช้ในการ ่ ่ ออกแบบและควบคุมการออกแบบ ตามลําดับ 4. วิชาปฐพีวิศวกรรม, วิชาฐานรากวิศวกรรม และวิชาชลศาสตร์ วิศวกรรม: ทําให้รู้พฤติกรรมของดิน กําลังความแข็งแรงของดิน ความเสี ยหายที่เกิดต่อโครงสร้างเมื่อมวลดินมีการเคลื่อนที่หรื อเปลี่ยนแปลง ปริ มาตร และการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของดินเมื่อมีน้ าและพลังงานภายนอกที่มากระทําต่อมวลดิน ลฯ ํ แต่ !..การที ่จะเริ่ ม ออกแบบได้ น้ ัน ลํา พังเพีย งวิช าที ่ไ ด้ ร่ ํา เรี ย นมาใช่ ว่า จะสามารถออกแบบได้ จาเป็นตองมีองคความรู้ในส่วนอ่ืน (ท่ีขาดหายหรือไม่มีในการเรียนการสอน) เข้ามาเสริ มด้วย กล่าวคือ ํ ้ ์  ต้องอ่านแบบเป็ นและเคลียร์ แบบได้  ต้องทราบเรื่ องข้อกําหนดและกฎหมายในส่ วนที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์และออกแบบ  ต้องทราบเรื ่ องเกี ่ย วกับ คุ ณสมบัติวส ดุ ที่จะใช้ออกแบบ (คอนกรี ต, เหล็ก , ไม้, ดินและ ั เสาเขม) ็ อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 8. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้  ต้องทราบเรื่ องนํ้าหนักของวัสดุ การหานํ้าหนักที่กระทําต่อโครงสร้าง และการส่ งถ่ายแรง 6  ต้องทราบเรื่ องการวางตัวของโครงสร้างที่จะทําให้เกิดความมันคงและแข็งแรง ่  ต้องทราบเรื่ องวิธีการวิเคราะห์โครงสร้าง และรู ้จกเลือกชิ้นส่ วนเพื่อทําการวิเคราะห์ ั  ต้องทราบเรื่ องการวางเหล็กเสริ ม (กรณี โครงสร้างคอนกรี ตเสริมเหล็ก) และการวางหรื อ ตอชิ้นส่วน (กรณี ของโครงสร้างเหล็กรู ปพรรณ) ่ 4. หลกประจําใจสําหรับ (วศวกร) ผู้ออกแบบโครงสร้ าง ั ิ ผูออกแบบ (วิศวกร) โครงสร้างที่ดีควรมีคติประจําใจในการออกแบบ ซึ่ งในเบื้องต้นนี้ ผมขอแบ่ง ้ ออกเป็น 4 หลักใหญ่ๆ ดังนี้ 1. โครงสร้ างต้องมีค วามม นคง (Stable) มาก่ อนเป็ นเบื้ องต้นเสมอ ซึ่ ง ขึ้ นอยู่กบการวางตัวของ ่ั ั ชิ้นส่ วนที่ประกอบเป็ นโครงสร้าง การยึดโยง (Bracing) การต่อยึดหรื อต่อเชื่อมของชิ้นส่ วน และการ ยดร้ ัง (จุดรองรับ) ึ 2. โครงสร้างต้องมีความแข็งแรง (Strength) สามารถรับแรงได้โดยไม่วบติ ิ ั 3. โครงสร้างต้องมีฟังก์ชนที่เหมาะสม และสวยงามตามสมัยนิยม (Beautiful and new-style) ั่ 4. โครงสร้างต้องประหยัดและปลอดภัย (Save and Safety) 2. การวิเคราะห์ โครงสร้ าง (Structure Analysis) 1. รูปแบบของการวิเคราะห์ โครงสร้ าง ในการวิเคราะห์โครงสร้างเหล็กรู ปพรรณเพื่อนําไปสู่ การออกแบบนั้น ในประเทศไทยนั้นแม้นว่า จะมีการอนุ โลมให้ใช้ผลจากการวิเคราะห์แค่เพียงอันดับหนึ่ ง (First Order Analysis) ่ แต่วาในทาง อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 9. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ ปฏิบติหรื อออกแบบเพื่อใช้งานจริ ง วิศวกรโครงสร้างจะต้องออกแบบโดยคํานึงถึงผลของ P-∆ Effect ั 7 (ทั้ งในระดับของชิ้นส่ วนเองและเมื่อพิจารณาทั้งโครงสร้าง) ด้วย ซึ่ งได้มีการเขียนเป็ นข้อกําหนดไว้ ในมาตรฐานของวิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทยด้วย (ว.ส.ท.; EIT.) แต่ถาหากว่าในการวิเคราะห์ ้ โครงสร้างกระทําโดยใช้การวิเคราะห์อนดับที่สอง (Second Order Analysis) เราสามารถนําผลที่ได้จาก ั การวิเคราะห์ไปทําการออกแบบได้โดยตรง โดยไม่ตองคํานึงถึงผลของแรงรอง (Secondary Moment) ้ หรือ P-∆ Effect ซึ่ งในการวิเคราะห์เพื่อหาแรงภายในเพื่อนําไปสู่ การออกแบบ อาจจะจําลองให้เป็ นโครงสร้าง ท่ ีเป็น Full Frame, Sub Frame, Partial Frame หรือ Continuous Beam ก็ได้ดงแสดงในรู ป โครงสร้างที่ ั ระบบของแรงกระทําอยูในระนาบเดียวกันกับการวางตัวขององค์อาคาร (ชิ้นส่วน) ในขั้นตอนของการ ่ วิเคราะห์และออกแบบ เราสามารถยุบโครงสร้างที่อยู่ในสภาพของ 3 มิติ (วิเคราะห์โครงสร้างใน รู ปแบบ 3 มิ ติ) ดงแสดงในรูป มาเหลื อเพีย งโครงสร้ างในระบบ 2 มิติไ ด้ (วิเคราะห์โครงสร้ า งใน ั รู ปแบบ 2 มิติ) ดงแสดงในรูปข้างล่าง ั โครงสร้าง 3 มิติ Complete Frame or Full Frame รู ปท่ี 2 แสดงแบบจําลองเพื่อการวิเคราะห์ของโครงสร้างในระบบ 2 มิติ อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 10. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 8 Sub Frame Partial Frame Continuous Beam รู ปท่ี 3 แสดงแบบจําลองเพื่อการวิเคราะห์ของโครงสร้างในระบบ 2 มิติ อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 11. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 9 รูปแสดงแบบจําลองเพื่อการวิเคราะห์ของโครงสร้างจาก 3D เป็น 2D รูปท่ี 4 แสดงแบบจําลองเพื่อการวิเคราะห์ของโครงสร้างจาก 3D เป็น 2D อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 12. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 10 รู ปท่ี 4 แสดงแบบจําลองเพื่อการวิเคราะห์ของโครงสร้างจาก 3D เป็น 2D (ต่อ) อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 13. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ ในท่ีน้ ี หมายถึ งการวิเคราะห์หาระบบแรงภายในและการเสี ยรู ปที่มกคุนเคย คือ การวิเคราะห์ใน ั ้ 11 ระดับที่เรี ยกเป็ นศัพท์ทางวิชาการว่า First Order Analysis จากระบบของนํ้าหนักดังที่กล่ าวมาทั้งหมด จะเห็ นว่ามีอยู่ในหลายรู ปแบบด้วยกัน ดังนั้นจึงมี ่ ความเป็ นไปได้วาในบางครั้งอาจมีน้ าหนักมากกว่าหนึ่ งรู ปแบบกระทําต่อโครงสร้างพร้อมๆกันหรื อใน ํ บางครั้งอาจมีเพียงรู ปแบบเดี่ยวๆกระทํา เมื่อเป็ นเช่นนี้ ดงนั้นในการวิเคราะห์โครงสร้าง เราจําเป็ น ั จะต้องแยกการวิเคราะห์ไปในหลายๆกรณี ตามลักษณะการกระทําของนํ้าหนักที่คาดว่าน่าจะเกิดขึ้น ท้ งน้ ีเพ่ ือให้ได้ค่าแรงภายใน (เช่ น โมเมนตดด-บิด , แรงเฉื อน , แรงตามแนว , แรงร่ วมอืนๆรวมไปถึง ั ์ ั ่ การเสี ย รู ป ทั้งเชิ ง เส้ น ∆ และ เชิ ง มุ ม θ) สู ง สุ ด จากนั้นจึ ง นํ าผลที ่ไ ด้จากการวิเคราะห์ ดั งกล่ า วไป ออกแบบต่อไป แต่ท้ งนี้ท้ งนั้นการที่จะทําให้เราทราบค่าสู งสุ ดของระบบแรงภายในดังกล่าวได้ ไม่ได้ ั ั ่ ั ขึ้นอยูกบกรณี การกระทําของนํ้าหนักแต่อย่างเดียว แต่ยงรวมถึงลักษณะของการจัดวางตัวของนํ้าหนัก ั ในแต่ละกรณีดวย ้ โดยทัวไปแล้วกรณี ของนํ้าหนักที่กระทําต่อโครงสร้าง มักจะประกอบด้วย 3 กรณีหลกๆ โดยกรณี ่ ั ที่ให้ค่านํ้าหนักบรรทุกสู งสุ ดจะถูกเลือกไปเป็ นนํ้าหนักบรรทุกเพื่อการวิเคราะห์ต่อไป - น้ าหนกบรรทุกกรณีท่ี 1: น้ าหนกตายตว (DL) ํ ั ํ ั ั - น้ าหนกบรรทุกกรณีท่ี 1: น้ าหนกตายตว (DL) + น้ าหนกจร (LL) ํ ั ํ ั ั ํ ั - น้ าหนกบรรทุกกรณีที่ 1: 0.75[นํ้ าหนักตายตัว (DL) + น้ าหนกจร (LL) + แรงลม (WL) + แรง ํ ั ํ ั ่ แผนดินไหว (EQ)] ข้อทีน่าสังเกตคือ ในกรณีที่ 3 เนื่องจากแรงลมหรื อแรงเนื่องจากแผ่ นดิ นไหว เป็ นแรงที่เกิ ดขึ น ่ ้ เพียงบางครั้ งคราวเท่ านันตลอดช่ วงอายุของการใช้ งานตัวอาคาร ดังนันจริ งสามารถลดค่ านําหนักรวม ้ ้ ้ ในกรณี ดังกล่ าวลงได้ อีก 25% (ก็คือคูณลดด้ วย 0.75) แต่ ถ้าไม่ ลดค่ านําหนักดังกล่ าวลง ก็อาจจะใช้ ้ วิธีการเพิ่มหน่ วยแรงขึนจากเดิมได้ อีก 1/3 เท่ าก็ได้ และ ข้ อที่ น่าพิจารณาอี กจุดหนึ่งสําหรั บในกรณี ที่ 3 ้ อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 14. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ คื อ การกระทําพร้ อมๆกันของ นําหนักจร กับแรงลมหรื อแรงเนื่องจากแผ่ นดิ นไหว แทบจะไม่ เกิดขึ น ้ ้ 12 เลยเสี ยด้ วยซํ้าสําหรั บในบางกรณี ยกตัวอย่ างเช่ น ในกรณี ของโครงหลังคาขณะเกิดพายุพัดกันโชกหรื อ ฝนฟ้าคะนอง คงไม่มีใครปีนขึนไปเดินเล่นแน่นอน ้ หมายเหตุ: ที่ ถูกต้ องแล้ วนําหนักบรรทุกท้ัง 3 กรณี ดังกล่ าวข้ างต้ น ในการวิเคราะห์ โครงสร้ างเรา ้ จะต้ องทําการวิ เคราะห์ แยกเป็ นรายกรณี ไป หลังจากนันจึ งนําผลที่ได้ (แรงภายในต่ างๆ เช่ น Shear, ้ Axial Forces, Bending Moment, Torsion Moment) มาทํา Envelope Force (ซึ่ งแท้ จริ งแล้ วก็คือเส้ น แสดงกรอบบนสุ ดและล่ างสุ ดของแรงภายใน ที่ ระยะ x ใดๆตามความยาวของชิ ้นส่ วนที่เราพิ จารณา) จากนั้นจึ งนําผลที่ได้ จากการกระทําดังกล่ าวมาพิจารณาเพื่อการออกแบบต่ อไป อีกสิ่ งหนึ่งที่ผมอยากจะฝากก็คือ ในการวิเคราะห์โครงสร้างที่มีแรงลมเข้ามาเกี่ยวข้อง การพิจารณา ทิศทางของแรงลมที่กระทํา อย่างน้อยควรพิจารณาใน 2 ทิศทาง เช่ น นํ้าหนักทีกระทําในกรณี ที่ 3 ่ (Load Case 3) ควรจะเป็ นในลักษณะนี้ ํ ั ั ํ ั ่ - 0.75[น้ าหนกตายตว + น้ าหนกจร + แรงลม (ตามแกน x) + แรงแผนดินไหว] ํ ั ั ํ ั ่ - 0.75[น้ าหนกตายตว + น้ าหนกจร + แรงลม (ตามแกน y) + แรงแผนดินไหว] 2. การวเิ คราะห์โครงสร้างโดยเอยด ี ที่ละเอียดและถูกต้องจะต้องเป็ นการวิเคราะห์โครงสร้างในรู ปแบบ 3 มิติ ผลที่ได้จะมีความถูกต้อง ใกล้เคี ย งความเป็ นจริ ง มากกว่า การวิเคราะห์ โ ครงสร้ า งในรู ป แบบ 2 มิ ติ แต่ค่ อนข้ างยากและใช้ เวลานาน จึงมักนิ ยมใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยในการวิเคราะห์ ส่ วนการวิเคราะห์โครงสร้างใน รู ปแบบ 2 มิ ติ แม้ว่า จะง่ ายกว่า แต่ก็ใช่ ว่าจะสามารถวิเคราะห์ ได้โดยง่ ายโดยไม่ใ ช้เวลา ซึ่ งสามรถ วิเคราะห์ดวยมือได้โดยใช้วธีที่เป็ นที่ยอมรับ เช่น วิธีการกระจายโมเมนต์, วิธีความลาด-การแอ่นตัว, วิธี ้ ิ อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 15. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ Least Work, วิธีสมการสามโมเมนต์ ซึ่ งทั้งหมดที่กล่าวมาวิธีที่นิยมใช้คือ วิธีสมการสามโมเมนต์และ 13 วิธีการกระจายโมเมนต์ 3. การวเิ คราะห์โครงสร้างโดยประมาณ (ของคานอย่างง่าย) วิธีการวิเคราะห์โครงสร้ างแบบโดยประมาณนั้น (มักนิยมใช้ในกรณี ของคานช่ วงเดียวอย่างง่ายดัง แสดงในภาคผนวก ก) ซึ่ งนอกจากจะช่วยทําให้กระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างมีความง่ายข้ ึนแลว ้ ยัง ก่ อ ให้ เ กิ ด ความสะดวกและรวดเร็ ว โดยอาศั ย การใช้ สู ต รสํ า เร็ จผนวกกั บ หลั ก การรวมผล (Superposition) การวิเคราะห์ คานช่ วงเดียวอย่ างง่ าย การแอ่นตัวของคานหาได้จากสมการ (ค่า D อ่านจากตารางด้านล่าง) โมเมนต์ดดหาได้จากสมการ (ค่า C อ่านจากตารางด้านล่าง) ั หมายเหตุ: ในกรณี ของนํ้าหนักแผ่กระจาย ต้องแทนค่า P ดวย ωL ้ อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 16. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ ตารางท่ี 2 แสดงค่าสมประสิทธ์ ิสาหรับใชในสมการสาเร็จรูปเพอหาค่าโมเมนตดดและการแอ่นตว ั ํ ้ ํ ่ื ์ ั ั 14 รูปแบบของคานและการรับแรง C D ω 1/8 5/384 L P 1/4 1/48 L/2 L/2 P P 1/3 23/648 L/3 L/3 L/3 P P P 1/2 19/384 L/4 L/4 L/4 L/4 P a b ab/L2(9√3) (a/L)[1-(a2/L2)]3/2 L ω 1/2 1/8 L P 1 1/3 L อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 17. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 3. ค่ าการแอ่นตัวของโครงสร้ าง (คาน) 15 การแอ่นตัวของโครงสร้างที่ได้จากผลการวิเคราะห์โครงสร้างในเชิง 3 มิติ จะประกอบไปดวยค่า ้ การแอนตวเชิงมุมและค่าการแอ่นตวเชิงเส้น ซ่ ึงค่าการแอ่นตวท่ีจะกล่าวในท่ีน้ ีจะเป็นค่าการแอ่นตวใน ่ ั ั ั ั เชิงเส้นเท่าน้ น ั สําหรับป้ องกันการตกท้องช้างของคานช่วงสั้นและกลาง = L/150 สําหรับโครงหลังคาเมื่อคิดผลจากนํ้าหนักบรรทุกทั้งหมด = L/180 สาหรับโครงหลังคาเมื่อคิดผลจากนํ้าหนักบรรทุกจรเท่านั้น = L/240 ํ สําหรับโครงสร้างพื้นเมื่อคิดผลจากนํ้าหนักบรรทุกทั้งหมด = L/240 สําหรับโครงสร้างพื้นเมื่อคิดผลจากนํ้าหนักบรรทุกจรเท่านั้น = L/240 4. ระบบการส่ งถ่ ายแรง (Load Path) หากไม่มีอะไรเป็ นพิเศษ ลําดับของการส่ งถ่ายแรงจะเป็ นไปตามตัวอย่างแบบจําลองข้างล่างนี้ คือ จากชิ้นส่ วน (Member) ที่อยู่บนสุ ด (หรื อปกติคือชิ้นส่ วนที่ก่อสร้างหลังสุ ด) ไปยังชิ้นส่ วนที่รองรับ หรืออยล่างสุด (หรื อปกติคือชิ้นส่วนท่ีก่อสร้างแรกสุ ด) ดงแสดงในรูปด้านล่าง การส่ งถ่ายดังกล่าวเป็ น ู่ ั การส่ งถ่ายผ่านปลายขององค์อาคารที่ต่อเชื่อมกันในรู ปแบบของระบบแรงปฏิกิริยา ซึ่ งค่าที่ถูกต้องหา ได้โดยตรงจากผลการวิเคราะห์โครงสร้าง ตวอยางเช่น ั ่ 1. จากระบบแรงภายนอกต่างๆ 2. ถ่ายแรงท้ งหมดผานแปหรือระแนง ั ่ 3. แลวส่งตรงถึงจนทน ้ ั ั 4. ลงมายังตะเฆ่สนและราง-อกไก่-อเสหรือคานรัดหวเสา ั ั อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 18. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 5. เข้าสู่ ดงซึ่ งนังอยูบนขื่อแล้วมุ่งสู่ เสา ั่ ่ ่ 16 6. จากบนไดและแผนพ้ืนกระจายและถ่ายแรงเขาสู่ คาน ั ่ ้ 7. ผ่านมายังเสาแล้วเข้าสู่ ฐานราก อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 19. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 17 รูปท่ี 5 แสดงแบบจําลองการส่ งถ่ายแรงในองค์อาคารเมื่อมีแรงกระทําในแนวดิ่ง อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 20. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 18 รูปท่ี 5 แสดงแบบจําลองการส่ งถ่ายแรงในองค์อาคารเมื่อมีแรงกระทําในแนวดิ่ง (ต่อ) 5. ลาดบข้นตอนของการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้าง ํ ั ั ในเบื้องต้นให้ทาการวิเคราะห์และออกแบบโดยการไล่ตามลําดับของการส่ งถ่ายแรง จากบนสุ ดลง ํ สู่ ล่างสุ ด (ตรงกันข้ามกับลําดับของการก่อสร้าง) ยกตัวอย่างเช่น แปหรื อระแนง จันทัน ตะเฆ่สัน-ราง โครงข้อหมุ น-อกไก่-ข่ือ-อเส เสาดัง แผ่นพื้นชั้นดาดฟ้ า คานรัดหัวเสาโครงหลังคา ระบบแผ่นพื้น ่ ต่างๆ คานฝาก-คานซอย คานหลัก เสา เสาตอม่อ ฐานราก ตามลําดับ แต่ถาหากมีประสบการณ์ที่มากขึ้นและมีการเก็บตัวเลขสถิติ (Magic Number) ต่างๆ ไว้เพือใช้งาน ้ ่ ในอนาคต ก็อาจออกแบบชิ้ นส่ วนแบบลัดวงจรได้โดยไม่ตองทําดังที่ได้กล่าวมาแล้ว (แต่ท้ งน้ ี ท้ งน้ น ้ ั ั ั ควรมีการตรวจเช็คยอนกลบดวย) เช่น อาจออกแบบจันทันได้ก่อนออกแบบแป อาจออกแบบส่ วนของ ้ ั ้ ฐานรากได้ก่อนออกแบบเสา อาจออกแบบเสาได้ก่อนออกแบบคาน ยกตัวอย่างเช่น บ้านพักอาศัย คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ช้ น (ที่ช่วงคานปกติทวไป) นํ้าหนักถ่ายลงเสาแต่ละต้นต่อชั้นประมาณ 7 – 10 ั ่ั ตัน อาคารพานิชย์คอนกรี ตเสริ มเหล็ก 2-3 ช้ น (ที่ช่วงคานปกติทวไป) นํ้าหนักถ่ายลงเสาแต่ละต้นต่อ ั ั่ อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 21. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ ชั้นประมาณ 10 – 15 ตัน หรื อ ในกรณี ข องเสาเข็ม คอนกรี ตอัดแรงแบบสี ่ เหลี ่ย มตัน สามารถรั บ 19 นํ้าหนักบรรทุกปลอดภัยเนื่องจากคุณสมบัติของหน้าตัดได้ประมาณ 1.45b ตัน (เมื่อ b คือหน้ากว้างของ เสาเขมหน่วยเป็น ซม.) เหล่าน้ ีเป็นตน ็ ้ 6. การอ่านแบบและเคลยร์แบบ ี ่ การอ่านแบบเพื่อเคลียร์ แบบเป็ นสิ่ งแรกที่ผออกแบบทุกคนจะต้องกระทํา เริ่ มตั้งแต่ตรวจดูวาแบบ ู้ แปลน (ที่ ได้รับ) มีมาครบพอทีเ่ ราจะออกแบบได้จนจบหรื อไม่ มีขอมูลของสถานทีก่อสร้าง-เจ้าของ ้ ่ โครงการ-คุณลักษณะของวัสดุต่างๆ ที่ใช้ (ในส่ วนนี้หากสถาปนิกหรื อช่างเขียนแบบที่ละเอียดก็จะมีมา ครบ) ครบหรื อไม่ ระยะต่างๆทั้งในแนวราบ (อ่านจากแบบแปลนสถาปัตยและแบบแปลนโครงสร้าง) ์ และแนวดิ่ง (อ่านจากแบบแปลนรูปดาน, ภาพตัดขวาง และภาพขยาย) ครบหรื อไม่ต้ งแต่ระดับอ้างอิง ้ ั ั จนถึงหลังคา การวางตัวของโครงสร้างสัมพันธ์กบแบบแปลนสถาปั ตย์หรื อไม่ ตําแหน่งการวางของ ผนง-ประตู-หน้าต่าง-ราวระเบียงสัมพันธ์หรื อไม่ (อ่านจากแบบแปลนสถาปั ตย์, แบบแปลนรู ปด้าน, ั ภาพตัดขวาง) อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 22. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 20 รูปท่ี 6 แสดงการขัดแย้งกันของแบบแปลนโครงสร้างกับภาพตัดขยาย ่ จุดมุงหมายหลักของการอ่านแบบก็เพื่อ 1) หาระบบของนํ้าหนัก (แรงกระทําต่างๆ) ทีกระทําต่อโครงสร้าง เพือนําไปวิเคราะห์หาระบบแรง ่ ่ ปฏิ กิริยา (นําไปใช้ในการส่ งถ่ ายแรงระหว่างชิ้นส่ วน), ระบบแรงภายใน (นําไปใช้สําหรับออกแบบ ขนาดหรื อขนาดและเหล็กเสริ ม) และการเสี ยรู ป อาจจะเป็ นเฉพาะการเสี ยรู ปเชิงเส้นหรื อรวมการเสี ย รู ปเชิงมุมด้วยก็ได้สาหรับในบางกรณี เช่น กรณี มีการบิดตัวร่ วมกับการแอ่นตัว (นําไปใช้ในการควบคุม ํ การออกแบบ) 2) ความถูกต้องของการวางผังโครงสร้างหลักและโครงสร้างรองของอาคาร จะนํามาซึ่ งความมันคง ่ และความแข็งแรงรวมไปถึงระบบของการส่ งถ่ายแรงที่เป็ นเหตุเป็ นผล ผลพลอยได้ที่ตามมาหลักๆ คือ  ช่วยลดการขัดแย้งกันของแบบก่อสร้างได้ ทําให้ขณะก่อสร้างจริ งเกิดปั ญหาข้อถกเถียง น้อยที่สุด เช่น แบบสถาปั ตย์-แบบงานระบบต่าง-แบบโครงสร้างต้องไม่ขดแย้งกัน แบบ ั อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 23. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ แปลนช้ ันต่างๆ-แบบแปลนรู ปด้าน-แบบแปลนภาพตัดขวางต้องไม่ขดแย้งกัน (ท้ งแบบ ั ั 21 สถาปั ตย์, แบบงานระบบต่างๆ และแบบโครงสร้าง)  การก่อสร้างจึงเป็นไปดวยความสะดวกและรวดเร็ว ้  การถอดแบบประมาณราคาก็จะหลุดน้อยหรื อไม่มีเลย หมายเหตุ: ข้อควรระวังในการอ่านแบบและเคลียร์ แบบ คือ เรื่ องความชัดเจนของระดับต่างๆ เรื่ องการ วางซอนทบกนของชิ้นส่วน (ผลสื บเนื่องจากเรื่ องระดับ) เร่ ื องของการให้ระยะและมาตราส่ วน (ควรยึด ้ ั ั ตัวเลขที่ระบุเป็ นหลักไม่ควรยึดระยะทีวดโดยใช้มาตราส่ วน โดยเฉพาะแบบแปลนที่มีการย่อ-ขยายโดย ่ ั การถ่ายเอกสาร) 7. การวางผังโครงสร้ างอาคาร หลักพื้นฐานประจําใจ คือ วางผังโดยการยึดแบบทางสถาปั ตย์เป็ นหลัก (ในเบื้องต้น) และที่สําคญ ั โครงสร้างจะต้องมีท้งความมันคงและความแข็งแรง ทั้งโดยส่ วนตัวของชิ้นส่ วนเองและโดยรวมเมื่อนํา ั ่ แต่ละชิ้นส่ วนมาต่อเชื่อมขึ้นเป็ นโครงสร้างอาคาร ซึ่ งต้องเริ่ มตั้งแต่การวางตัวของแต่ละชิ้นส่ วนไป จนถึงการวางตัวโดยรวมของโครงสร้าง ทั้งนี้อาศัยหลักการพื้นฐานขององค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา ในวิชากําลังวัสดุ โดยเฉพาะในเรื่ องของโมเมนต์ที่สองของพื้นที่ (หนาตด) ดงแสดงในรูปด้านล่าง ้ ั ั อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 24. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 22 รูปท่ี 7 แสดงทิศทางการวางตัวของชิ้นส่ วนย่อยที่ประกอบเป็ นโครงสร้าง ข้อควรคํานึงและระวังในการวางผังโครงสร้าง 1. ควรคํานึ งถึ งทิศทางการกระทําหลักของแรงลมและแรงกระทําด้านข้าง เช่ น แรงแผ่นดิ นไหว (โดยเฉพาะอาคารขนาดใหญ่หรื อสู ง) อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 25. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 2. ไม่ควรใช้ระบบพื้นวางบนดิ นหากไม่มีการป้ องกันการเคลื่อนตัวของดิน (แม้ว่าจะมีการบดอัด 23 แลวก็ตาม) ้ 3. ไม่ควรใช้ระบบพื้นวางบนดินหรื อพื้นสําเร็ จรู ปในเขตพื้นที่ที่เสี่ ยงต่อภาวการณ์เกิดแผ่นดินไหว เพราะนอกจากจะไม่มีส่วนช่วยในการกระจายแรงในแนวราบ (Floor Diaphragm) แล้ว ยังอาจเกิ ด อนตรายต่อชีวตและทรัพยสินดวย ั ิ ์ ้ 4. กรณี พ้ืนวางบนดินที่ถมดินสู งโดยออกแบบคานคอดินเป็ นคานลึก (เพื่อใช้ก้ นดินไปในตัว) ไม่ ั ควรทําเป็ นอย่างยิง เพราะจะทําให้คานเกิดการแอ่นด้านข้าง (ซ่ ึงไม่ไดมีการออกแบบเผอไว)้ ่ ้ ่ื 5. ทิศทางการวางพื้นสําเร็ จรู ป (อาจรวมถึงบันไดด้วย) ควรวางในทิศทางขนานด้านสั้นของ โครงสร้างอาคาร (ไม่ใช่ขนานกับคานด้านสั้น) 6. ผนังกั้นห้องที่สูงและหนักควรมีคานรองรับเสมอ 7. คานคอดิน (มีไว้เพื่อช่วยยึดรั้งส่ วนของฐานรากไม่ให้เคลื่อนหรื อถ่างออก อันเนื่องมาจากการรับ แรงกดมหาศาลจากทุ ก ชั้น) จํา เป็ นต้องมี โดยเฉพาะในกรณี ข องฐานรากแผ่หรื อพื้ นที ่ที ่เ สี ่ ย งต่ อ ภาวะการเกิดแผนดินไหว ่ 8. ควรวางหน้าตัดคาน (ไม่วาจะเป็นหนาตดชนิดแบบเปิดหรือปิด) โดยให้น้ าหนักบรรทุกกระทําใน ่ ้ ั ํ ทิศทางที่ขนานกับความลึกของหน้าตัด 9. ควร (หากเป็ นไปได้) วางคานโดยให้น้ าหนักบรรทุกกระทําผ่านจุดศูนย์กลางแรงเฉื อน (Shear ํ Center) ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการบิดตัวของคาน (เพราะเวลาออกแบบมกไม่คิดเผอแรงบิดท่ีอาจจะเกิด) ั ่ื 10. ไม่ควรวางคานยืนออกจากเสาโดยไม่มีคานภายใน (ท่ีต่อเน่ือง) ช่วยยึดรั้งเสาและกระจายแรง ่ 11. คานยน (เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ) ไม่ควรยืนยาวมากครึ่ งหนึ่งของคานภายในที่ต่อเนื่อง ่ื ่ 12. ทิศทางการวางหน้าตัดเสา (โดยเฉพาะกรณี ของหน้าตัดรู ป 4 เหลี่ยมผืนผ้า) ควรวางให้หน้ากวาง ้ ่ ของเสา (หรื อความลึก) อยูในทิศทางขนานด้านสั้นของโครงสร้างอาคาร (ไม่ใช่ขนานกับคานด้านสั้น) อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 26. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 13.ทิศทางการวางหน้าตัดเสา (ที่เสริ มเหล็กแบบไม่สมมาตร) ควรวางหน้าตัดเสาด้านที่มีการวาง 24 ่ เหล็กแกนที่ทาให้เกิดโมเมนต์ที่สองของพื้นที่มากสุ ด อยูในทิศทางขนานด้านสั้นของโครงสร้างอาคาร ํ ่ 14. การวางฐานราก ควรวางด้านยาวอยูในทิศทางขนานด้านสั้นของโครงสร้าง 15. กรณี ฐานรากรู ปทรงสี่ เหลี่ยมจัตุรัส ควรวางในลักษณะที่เหล็กเสริ มล่าง (เหล็กหลัก) มีทิศทาง ขนานด้านสั้นของโครงสร้างอาคาร รู ปท่ี 8 แสดงการวางผังโครงสร้างที่สัมพันธ์กบแบบทางสถาปั ตย์ ั อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 27. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 8. การจดกล่มชิ้นส่วนเพอการออกแบบ ั ุ ่ื 25 1. แป-จนทน-ตะเฆ่สัน-ตะเฆ่ราง: เลื อกชิ้นส่ วนที่มีช่วงยาวที่สุดมาควบคุ มการออกแบบ แล้วใช้ ั ั ั ั ขนาดเดียวกนท้งหมด 2. ข่ือ-อเส-อกไก่: เปรี ยบเทียบชิ้นส่ วนที่มีช่วงยาวสุ ดกับชิ้ นส่ วนที่รับนํ้าหนักสู งสุ ด (มกใชกรณีน้ ี ) ั ้ เลือกมาควบคุมการออกแบบ แล้วใช้ขนาดเดียวกันทั้งหมด 3. เสาดง: เปรี ยบเทียบเสาทีสูงสุ ดกับเสาที่มีพ้ืนที่รับนํ้าหนักสู งสุ ด (มักใช้กรณี น้ ี) เลือกมาควบคุมการ ่ั ่ ั ั ออกแบบ แลวใชขนาดเดียวกนท้งหมด ้ ้ 4. แผนพ้ืน: ตรวจสอบอตราส่วน m = ดานส้ ัน(S) /ดานยาว (L) ่ ั ้ ้  กรณี แผ่นพื้นหล่อในที่จดให้อยูกลุ่มเดียวกันหากมีค่าอัตราส่ วน m ต่างกันอยู่ในช่ วง 10 - ั ่ 15 เปอร็เซ็นต์  กรณีแผนพ้ืนสาเร็จรูปจดใหอยกลุ่มเดียวกนหากมีความยาวต่างกนไม่เกิน 50 cm. (หรื ออาจ ่ ํ ั ้ ู่ ั ั ใช้ขนาดที่ยาวที่สุดเป็ นตัวควบคุมแล้วใช้ขนาดเดียวกันทั้งหมดก็ได้...ท้ งน้ ี ข้ ึนอยู่กบดุลย ั ั พนิจของผออกแบบ) ิ ู้ 5. บนได: จดใหอยกลุ่มเดียวกนหากมีความยาวต่างกนไม่เกิน 50 cm. ั ั ้ ู่ ั ั 6. คาน: โดยแบ่งเป็ น คานซอย คานภายใน คานตัวริ ม จัดให้อยูกลุ่มเดียวกันหากมีความยาวต่างกันไม่ ่ เกิน 50-100 cm. โดยเปรียบเทียบคานที่มีช่วงยาวสุดกบชิ้นส่วนที่รับน้ าหนกสูงสุด เลือกมาควบคุม ั ํ ั การออกแบบแลวใชขนาดเดียวกนท้ งหมดในแต่ละกลุ่ม ้ ้ ั ั 7. เสา: โดยแบ่งเป็ น เสาดัง เสาภายใน เสาต้นริ ม จัดให้อยูกลุ่มเดียวกันโดยเปรี ยบเทียบเสาที่สูงสุ ด ่ ่ กับเสาที่รับนํ้าหนักสู งสุ ด (มกใชกรณีน้ ี) เลือกมาควบคุมการออกแบบ แล้วใช้ขนาดเดียวกันทั้งหมดใน ั ้ แต่ละกลุ่ม อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 28. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 8. ฐานราก: โดยแบ่งเป็ น ฐานรากรับระเบียง ฐานรากภายใน ฐานรากตัวริ ม (หรื อชิดเขต) จัดให้อ ยู่ 26 กลุ่มเดียวกน โดยเปรี ยบเทียบฐานรากที่รับนํ้าหนักสู งสุ ด (มักใช้กรณี น้ ี) เลือกมาควบคุมการออกแบบ ั แลวใชขนาดเดียวกนท้งหมดในแต่ละกลุ่ม ้ ้ ั ั 9. ระบบหน่วยวด (Unit System) ั ในด้านการวิเคราะห์และคํานวณ-ออกแบบนั้น สิ่ งที่จาเป็ นและสําคัญเอามากๆก็คือ “ระบบหน่วย ํ วด” เท่าที่ผ่านมาระบบการเรี ยนการสอนในประเทศไทย ยังขาดความต่อเนื่องในการให้ความสําคัญ ั ต่อระบบหน่วยวัด โดยเฉพาะอย่างยิงการเรี ยนการสอนในแขนงด้านวิชาช่างต่างๆ ่ ระบบหน่ วยวัดดังกล่าวมีอยู่ดวยกันมากมาย ซึ่ งในแต่ละประเทศอาจมีการสร้างระบบหน่ วยวัด ้ ั ข้ ึนมาใชเ้ ป็นของตนเอง แต่ในที่น้ ี จะกล่าวถึงเฉพาะระบบหน่วยวัด ที่เป็ นสากลและนิยมใช้กนอย่าง แพร่หลายทวโลกดงน้ ีคือ ั่ ั 1. ระบบอังกฤษ 2. ระบบเมตริ ก 3. ระบบนาๆชาติ SI. อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 29. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ ตารางท่ี 3 แสดงหน่วยวดตามระบบหน่วยวดมาตรฐาน 3 ระบบหลัก ั ั 27 คุณสมบติพ้ืนฐาน ั ระบบองกฤษ ั ระบบเมตริก ระบบนาๆชาติ ; SI. นิ้ว (in.) , มม. (mm.) , มม. (mm.) , 1. ความยาว ฟุต (ft.) , หลา ซม. (cm.) , ม. (m.) ซม. (cm.) , ม. (m.) ตร.นิ้ว (in.2 ) , ตร.มม. (mm.2 ) , ตร.มม. (mm.2 ) , ตร.ฟุต (ft.2 ) , ตร.ซม. (cm.2 ) , ตร.ซม. (cm.2 ) , 2. พ้ืนท่ ี ตร.หลา ตร.ม. (m.2 ) ตร.ม. (m.2 ) ปอนด์ (lb.) , นิวตน (N.) , ั 3. แรง กก. (kg.f ) , ตน (T.) ั กิโลปอนด์ (kip.) กิโลนิวตน (KN.) ั นิวตน/ตร.ม. (Pa) , ั 2 4. หน่วยแรง ปอนด/์ ตร.นิ้ว (lb./in. ) กก./ตร.ซม. (ksc.) MPa 5. เวลา วนาที (sec.) ิ วนาที (sec.) ิ วนาที (sec.) ิ หมายเหตุ Pa = 1 N./m.2 lb./in.2 = 6.894 KN./m.2 lb./in.2 = 0.07030696 Kg./cm.2 MPa = 10.19716 Kg./cm.2 KN. = 101.9716 kg.f ่ ั สําหรับในประเทศไทยแล้วเท่าที่เห็นได้มีการใช้ท้ ง 3 ระบบดังกล่าว ทั้งนี้ ข้ ึนอยูกบสาขาวิชาชี พ ั ข้ ึนอยู่กบแต่ละหน่วยงาน ขึ้นอยู่กบความชํานาญและความถนัดของแต่ละบุคคล แต่ที่น่าแปลกคือ ั ั อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 30. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ ข้ ึนอยกบรุ่นของคนดวย กล่าวคือคนรุ่นก่อนๆ(ที่ศึกษาจบรุ่ นแรกๆ)จะใช้ระบบหนึ่ ง ในขณะที่คนรุ่ น ู่ ั ้ 28 หลงๆกลบมาใชในอีกระบบหน่ ึง อีกส่วนหน่ ึ งที่จะมองขามไม่ไดเ้ ลยก็คือ ประเทศที่แต่ละบุคคลไดไป ั ั ้ ้ ้ สํา เร็ จการศึกษากลับมา แต่ในที่น้ ี ระบบหน่ วยวัดต่างๆ ที่จะใช้ในบทต่อๆ ไป ผูเ้ ขียนจะเน้นลงไปที่ ่ ้ ระบบเมตริ กเป็ นหลัก ซึ่ งอาจมีระบบ SI. และระบบอังกฤษปนอยูบาง 10. คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานวิเคราะห์ และออกแบบงานโครงสร้ าง ในยุคปั จจุบนความเจริ ญก้าวหน้าทางด้านไมโครคอมพิวเตอร์ ก้าวลํ้าไปไกลมากประกอบกับราคา ั ดาน Hardware กลบถูกลงหาซ้ื อได้ง่ายและพกพาได้สะดวก เช่น Notebook ทั้งนี้ ก็เนื่องมาจากการ ้ ั แข่ ง ขัน กั น ทางเชิ ง ธุ รกิ จ มี สู ง และในขณะเดี ย วกั น ความรู ้ แ ละความต้ อ งการใช้ ง านด้ า น ไมโครคอมพิวเตอร์ ก็มีความจําเป็ นมาก หากอุตสาหกรรมด้านงานก่อสร้างมีการแข่งขันกันสู ง หรื อ แม้แต่เพื่อเป็ นการช่ วยเพิ่มความน่ าเชื่อถื อให้ก ับบริ ษท ใหญ่ ๆที่เกี่ย วข้องกับงานด้านนี้ ก็ตาม ส่ วน ั ั Software ด้านการวิเคราะห์และออกแบบนั้นก็มีกนมากมายไม่นอยหน้า มีท้ งประเภทที่แจกจ่ายให้ใช้ ้ ั ฟรี ๆ ประเภท Shareware และ Demo ซึ่ งเราสามารถหามาใช้ได้โดยง่ายทั้งจากสถาบันที่กาลังศึกษาอยู่ ํ จากเครื อข่าย Internet จากบุคคลที่คุนเคยกันดี ตัว Softwaer ท่ีเราค่อนขางท่ีจะรู้จกกน Staad, Sap, ้ ้ ั ั Prokon, Robot, Versual Steel Design, Multiframe, Xsteel, Etab, S-Frame, idCAD Structural, Risa3D , Ram, SpaceGase, Strap, Microstran, ลฯ ซึ่ ง Software เหล่านี้ถนนราคาค่อนข้างแพงจะมีใช้ก็แต่ใน บริ ษทใหญ่ๆ หรื อหน่วยงานบางหน่วยงานของรัฐรวมไปถึงมหาวิทยาลัยบางแห่งเสี ยเป็ นส่ วนมาก ลฯ ั ปัจจุบนมี Software บางตัวที่เราสามารถนํามาใช้ในการเขี ยนโปรแกรมการออกแบบได้เองโดยง่า ย ั ประกอบกับงานด้านวิศวกรรมมักนิยมใช้งานในรู ปแบบของตารางคํานวณกันมาก (Spread Sheet) เช่น MSExcel ดังนั้นหากใครเคยใช้หรื อใช้โปรแกรมเหล่านี้ได้ ก็สามารถที่จะนํามาเขียนเป็ นโปรแกรม อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 31. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ ออกแบบโครงสร้างเหล็กรู ปพรรณในรู ปของตารางคํานวณอย่างง่ายได้ เช่น โปรแกรมตระกูล NEO ท่ี 29 ผเู้ ขียนไดทาการพฒนาข้ ึนโดยใช้ MSExcel + vb. ้ ํ ั รูปท่ี 9 แสดงหนาตาโปรแกรมออกแบบโครงสร้างไมและเหลก (ตระกล NEO) ้ ้ ็ ู อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 32. บทที่ 1 องคความรู้พ้ืนฐานก่อนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงสราง ์ ้ 30 รูปท่ี 10 แสดงหนาตาโปรแกรมออกแบบโครงสร้าง คสล. และ คอร.(ตระกล NEO) ้ ู อ.เสริ มพันธ์ เอี่ยมจะบก (วศ.ม.) สาขาวชาเทคโนโลยีก่อสร้าง มหาวทยาลยราชภฎอดรธานี ิ ิ ั ั ุ
  • 33. นําหนักบรรทุกเพือการออกแบบ ้ ่ 2 ่ ้ ในสภาพความเป็ นจริ งหรื อโครงสร้างจริ งนั้น นํ้าหนักที่กระทําต่อโครงสร้างมีอยูดวยกันในหลาย ่ ั รู ปแบบและหลายลักษณะ ทั้งนี้โดยภาพรวมแล้วขึ้นอยูกบลักษณะหรื อประเภทของโครงสร้าง สภาพ การใช้งานของโครงสร้าง สภาพและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละท้องที่ ดังนั้นค่าของนํ้าหนักในเชิง ตัวเลขที่กระทําต่อโครงสร้างก็จะแตกต่างกันออกไปมากบ้างน้อยบ้าง ตามมาตรฐานของแต่ละท้องที่ที่ ไดมีการบันทึก เก็บสถิติ หรื อจากการรวบรวมวิจยจากหลายๆหน่วยงาน และได้มีการยอมรับและใช้ ้ ั ั ่ั กนทวๆไป เพือไม่ให้เกิดความสับสน ดังนั้นในทีน้ ี ผเู้ ขียนจึงได้ทาการจําแนกนํ้าหนักที่กระทําต่อโครงสร้าง ่ ํ ออกเป็น 2 กลุ่มหลักๆ 1. ความหมายของนําหนักบรรทุก (Load) ทกระทาต่อโครงสร้าง ้ ่ี ํ ความหมายของคํา นําหนักบรรทุกตายตว (Dead Load; DL.) ้ ั ่ ั “คือนํ้าหนักทีถูกยึด ฝัง หรื อตรึ งให้อยูกบที่ (โครงสร้าง) รวมถึงนํ้าหนักของตัวโครงสร้างเอง ่ (Self Weight; SW.)” นําหนักบรรทุกจร (Live Load; LL.) ้ “คื อนํ้า หนัก ที ่ไ ม่ ถู ก ยึ ด ฝั ง หรือ ตรึง ให้ อยู่ก ับ ท่ ี (โครงสร้ า ง) ซึ่ ง สามารถเคลื ่อ นย้า ยหรื อ ํ เคลื่อนไหวได้โดยง่าย ทั้งที่เคลื่อนที่โดยธรรมชาติเองหรื อโดยการใส่ กาลังงานให้โดยมนุษย์”