SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน เตือนภัยวันรุ่นรับมือโรคเครียด
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวสโรชา นาคแก้ว
เลขที่ 17 ชั้น 6/10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
นางสาวสโรชา นาคแก้ว เลขที่17
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
เตือนภัยวัยรุ่นรับมือโรคเครียด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Warning sign of chronic stress
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสโรชา นาคแก้ว
ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เด็กวัยรุ่นสมัยนี้มีความเครียดไม่น้อยเลย แม้จะมีหน้าที่เพียงศึกษาเล่าเรียนเท่านั้น แต่ด้วยสภาพแวดล้อม
ต่าง ๆ ของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป หากเด็ก ๆ ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเหมาะสม ก็ย่อมมีผลเสียตามมาปัจจุบัน
พบว่า มีข่าวเกี่ยวกับเด็กวัยรุ่นแก้ปัญหาความเครียดของตนเองด้วยวิธีผิด ๆ ตามหน้าหนังสือพิมพ์มากมาย เช่น
ทะเลาะทาร้ายร่างกายเพื่อน บางคนระบายความเครียดด้วยการหันไปสูบบุหรี่ ดื่มสุรา เสพสารเสพติด หรือหากไม่
สามารถแก้ปัญหาความเครียดของตนเองได้ ก็ลงท้ายด้วยการทาร้ายตนเอง และฆ่าตัวตาย นับเป็นเหตุการณ์ที่ไม่มี
ใครอยากให้เกิดขึ้นกับสมาชิกในครอบครัวของตนเป็นแน่วัยรุ่นเป็นวัยที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างทั้งร่างกาย
จิตใจและความสัมพันธ์กับครอบครัวรวมทั้งเพื่อนฝูง วัยรุ่นตอนต้น อายุราว 13 – 15 ปี เป็นวัยที่สนุกสนานร่าเริง
เปิดเผย ไม่ค่อยเก็บความรู้สึกไม่ว่าจะดีใจ เสียใจ ผิดหวัง ก็แสดงออกมาให้เห็นได้ชัด อารมณ์ต่างๆ มักเป็นไปชั่ว
ประเดี๋ยวประด๋าวเพราะเป็นวัยที่อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ทาให้วัยรุ่นไม่ค่อยมีความเครียดมากนัก ประกอบกับวัยรุ่น
ตอนต้นยังมีความรับผิดชอบในระยะสั้น เพราะผู้ใหญ่ไม่ค่อยไว้ใจปล่อยให้รับผิดชอบเต็มที่ แต่มักจะใช้วิธีสั่งให้ทาเป็น
เรื่องๆ ไปมากกว่า และความรับผิดชอบนี้เองเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้เกิดความเครียด ดังนั้น หากวัยรุ่นจะเกิด
ความเครียดก็เป็นความเครียดในระยะสั้นๆ ไม่รุนแรงและยาวนานเหมือนผู้ใหญ่ ซึ่งต้องรับผิดชอบตนเองเต็มที่
รวมทั้งความสนใจและความต้องการของวัยรุ่นเปลี่ยนแปลงง่ายจนไม่สามารถจะคาดเดาได้ เรื่องสาคัญและทาให้เขา
เครียดในขณะหนึ่งอาจเปลี่ยนเป็นเรื่องอื่นได้อย่างรวดเร็วดังนั้นดิฉันจึงมีความสนใจที่จะนาเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับโรค
เครียดให้ผู้อื่นได้รู้และปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม
3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อทราบช่วงใดของวัยรุ่นที่เกิดโรคเครียด
2.เพื่อทราบสาเหตุที่ทาให้เกิดโรคเครียด
3.เพื่อวิธีการจัดการกับความเครียด
ขอบเขตโครงงาน
วัยรุ่นจะจัดการกับความเครียดอย่างไร วัยรุ่นหญิงมักตึงเครียดจากสาเหตุความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
มากกว่าวัยรุ่นชาย ในเรื่องปัญหาการเรียนและปัญหาในโรงเรียน พบว่าวัยรุ่นตอนต้นมักตึงเครียดจากปัญหาการ
ปรับตัวในโรงเรียน ส่วนวัยรุ่นตอนกลางและตอนปลายตึงเครียดจากปัญหาการเรียนและการเลือกอาชีพมากกว่า
หลักการและทฤษฎี
Selye (1974 อ้างถึงใน ประณิตา ประสงค์จรรยา, 2542: 34) ได้กล่าวถึงทฤษฎีความเครียดของ selye
(Selye’Stress Theory) ว่า เมื่อร่างกายถูกสิ่งที่มาคุกคาม(Stressor) จะทาให้เกิดความเครียด ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่ดีและ
ไม่ดี จะทาให้ความสมดุลของร่างกายเปลี่ยนแปลงไป และจะเกิดการตอบสนองของบุคคลต่อตัวกระตุ้น (Stressor)
ซึ่งการตอบสนองนั้นจะแสดงออกไปในลักษณะของกลุ่มอาการที่ไม่เฉพาะเจาะจง (Nonspecific) ที่เรียกว่า กลุ่ม
อาการปรับตัวโดยทั่วไป (GAS : General Adaptation Syndrome) ซึ่งกลุ่มอาการนี้เกิดขึ้นเป็น 3 ระยะ คือ 1.
ระยะเตือน (Alarm Reaction) เป็นปฏิกิริยาตอบสนองของบุคคลต่อสิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้นที่ก่อให้เกิดภาวะเครียดใน
ระยะแรก ปฏิกิริยาในระยะนี้จะเกิดขึ้นเพียงระยะสั้นๆ ตั้งแต่เพียงไม่กี่นาที ถึง 48 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของ
ตัวกระตุ้น อาการแสดงนั้นเป็นผลเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเททิคและต่อมพิทูอิ
ทารี่ส่วนหน้า ระยะเตือนนี้สามารถแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ 1.1. ระยะช็อค (Shock Phase) เป็นระยะของการ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้า ซึ่งบุคคลที่ถูกรบกวน จะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงความสมดุลของร่างกาย ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นเป็น
อันดับแรกที่ สมองส่วนคอร์เทกซ์ แล้วจึงส่งคลื่นประสาทมากระตุ้นต่อมพิทูอิทารี่ส่วนหน้า ประสาทอัตโนมัติซิมพา
เททิค และต่อมหมวกไตตามลาดับ ทาให้มีการผลิตฮอร์โมนแคทีโคลมีนคอร์ติคอยด์ โคโทรฟิค และโกนาโดรโทรฟิค
เข้าสู่กระแสเลือดเพิ่มขึ้น ในระยะนี้จะพบว่ามีการสลายโปรตีนของกล้ามเนื้อ ตัวที่ก่อให้เกิดความเครียด การ
ตอบสนอง โรคที่เกี่ยวกับความผิดปกติของร่างกาย (Stressor) (Stress Response) (Stress – Related Dysfuction
Diseas) มีการหลั่งน้ําย่อยในกระเพาะอาหารเพิ่มขึ้น และเซลล์ตับมีการหลั่งฮีสตามีนเพิ่มขึ้น มีน้ําและเกลือโซเดียมคั่ง
ระหว่างเซลล์ ระดับโปตัสเซียมในเลือดสูงขึ้น ซึ่งโปตัสเซียมที่สูงขึ้นนี้ จะมีผลกดสมองส่วนกลาง ทาให้การดึงตัวของ
กล้ามเนื้อหัวใจลดลง หลอดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อขยายตัว ในขณะที่หลอดเลือดฝอยส่วนปลายตามผิวหนัง และช่อง
ท้องหดตัว ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นรุนแรงมาก ความดันโลหิตจะลดต่าลงอาจมีอาการช็อคหรือหัวใจหยุดเต้นได้ การ
เปลี่ยนแปลงในระยะนี้ร่างกายไม่พร้อมที่จะปรับตัว และถ้ายังดาเนินต่อไป ร่างกาย จะถูกใช้พลังงาน จนหมดภายใน
24-48 ชั่วโมง นอกจากนี้จะมีกลไกการป้องกันตัวเอง ซึ่งจะเข้าสู่ระยะต้านช็อค 1.2 ระยะต้านช็อค (Countershock
Phase) เป็นระยะถัดจากระยะช็อค ซึ่งร่างกายเริ่มปรับตัวกลับเข้าสูํํภาวะสมดุล โดยจะมีการดึงเอากลไกการต่อสู้ของ
ร่างกายออกมาช่วยเหลือระบบต่างๆ ของร่างกาย เริ่มประสานกันอย่างมีระเบียบ ต่อมพิทูอิทารี่จะขับฮอร์โมนคอร์ติ
โคโทฟิคเพิ่มขึ้น ส่วนต่อมหมวกไตจะหลั่งฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์เพิ่มขึ้น ทาให้อัตราการเผาผลาญของร่างกาย
สูงขึ้นร่วมกับการเร่งขอประสาทอัตโนมัติซิมพาเททิค อาการแสดงที่ตรวจพบ คือ อัตราการเต้นของหัวใจจะแรงและ
เร็ว ความดันโลหิตสูงขึ้น หายใจเร็ว มีอาการคลื่นไส้หรืออาเจียน ม่านตาขยาย และเหงื่อออกมากผิดปกติ 2. ระยะ
ต่อต้าน (Stage of Resistance) สิ่งมีชีวิตจะปรับตัวอย่างเต็มที่ต่อตัวกระตุ้นให้เกิดความเครียดและผลที่ตามมา คือ
อาการจะดีขึ้นหรือหายไป ลักษณะที่ปรากฏในระยะนี้จะแตกต่าง หรือมีลักษณะตรงกันข้ามกับระยะเตือน เช่น ใน
ระยะเตือนเซลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต ปล่อยฮอร์โมนเข้าสู๋กระแสเลือก เพราะฉะนั้น จะไม่มีฮอรGโมนคอรGติ
4
คอยดGเก็บสะสมไว' แต่ในระยะต่อต้านคอร์เทกซ์จะมีฮอร์โมนเก็บไว้มาก ในระยะเตือนเลือดจะเข้มข้นและคลอไรด์
ต่า จะมีการทาลายของเนื้อเยื่อมาก แต/ในระยะต/อต'านเลือดจะเจือจาง คลอไรด์สูงและเซลล์มีการซ่อมแซมทาให้
น้ําหนักกลับเข้าสู่ปกติ แต่ถ้าสิ่งมีชีวิตนั้นยังได้รับการกระตุ้นจากสิ่งที่ก่อให้เกิดความเครียดอยู่ สิ่งมีชีวิตนั้นจะสูญเสีย
การปรับตัวอีกและจะเข้าสู่ระยะที่ 3 คือ ระยะหมดกาลัง 3. ระยะหมดกาลัง (Stage of Exhausion) เนื่องจาก
ความสามารถในการปรับตัวของสิ่งมีชิวิตต้องมีจุดจบ ถ้าตัวกระตุ้นก่อให้เกิดความเครียดรุนแรงและไม่สามารถจะ
ขจัดออกไปได้สิ่งมีชีวิตจะเกิดการหมดกาลัง อาการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระยะเตือนก็จะกลับมาอีก และถ้าหากไม่ได้รับ
ความช่วยเหลือหรือประคับประคองจากภายนอกอย่างเพียงพอ กลไกในการปรับตัวจะล้มเหลว เกิดโรคและเสียชีวิต
ได้ในที่สุดทฤษฎีเกี่ยวกับความเครียดมี 3 กลุ่ม ดังนี้ (อ้างถึงใน พรพรรณ ศรีเทพ, 2550:17X18)
https://boonkit54.blogspot.com/2013/08/blog-post_6180.html

More Related Content

What's hot

ทำไม ? จึงเกิดปัญหารถชนบ่อย
ทำไม ? จึงเกิดปัญหารถชนบ่อยทำไม ? จึงเกิดปัญหารถชนบ่อย
ทำไม ? จึงเกิดปัญหารถชนบ่อยJiaranai Thano
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาmind jirapan
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichayathitichaya2442
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561NodChaa
 
งานชิ้นที่ 5
งานชิ้นที่ 5งานชิ้นที่ 5
งานชิ้นที่ 5chadapatpaenthai
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกselenagomezz
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมeyecosmomo
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Rachan Potaya
 

What's hot (19)

1
11
1
 
ทำไม ? จึงเกิดปัญหารถชนบ่อย
ทำไม ? จึงเกิดปัญหารถชนบ่อยทำไม ? จึงเกิดปัญหารถชนบ่อย
ทำไม ? จึงเกิดปัญหารถชนบ่อย
 
at1
at1at1
at1
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichaya
 
Project 1
Project 1Project 1
Project 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
 
608 23 projet
608 23 projet608 23 projet
608 23 projet
 
Project1607
Project1607Project1607
Project1607
 
Unemployment
UnemploymentUnemployment
Unemployment
 
Activity6 612 09
Activity6 612 09Activity6 612 09
Activity6 612 09
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
งานชิ้นที่ 5
งานชิ้นที่ 5งานชิ้นที่ 5
งานชิ้นที่ 5
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
Project com 47
Project com 47Project com 47
Project com 47
 
At1
At1At1
At1
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to 2560 project fewnew22

โครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาโครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาPinchanok Muangping
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Polly Rockheels
 
Project
ProjectProject
Projectparwaa
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรนotakublack1
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์benjawan punyawarin
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project jetaimej_
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1achirayaRchi
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียวNu Beer Yrc
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้Nattarika Pijan
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานkkkkkkamonnat
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์chadapatpaenthai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ yanee saechoeng
 

Similar to 2560 project fewnew22 (20)

โครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาโครงงานกัวซา
โครงงานกัวซา
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Project
ProjectProject
Project
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรน
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
หยก
หยกหยก
หยก
 
หยก
หยกหยก
หยก
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 

More from Aom Nachanok

The benefits of aloe vera
The benefits of aloe veraThe benefits of aloe vera
The benefits of aloe veraAom Nachanok
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Aom Nachanok
 
ขั้นตอนโครงงาน
ขั้นตอนโครงงานขั้นตอนโครงงาน
ขั้นตอนโครงงานAom Nachanok
 
ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Aom Nachanok
 
หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)Aom Nachanok
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Aom Nachanok
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Aom Nachanok
 
2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc docAom Nachanok
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่างAom Nachanok
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)Aom Nachanok
 
พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์Aom Nachanok
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Aom Nachanok
 

More from Aom Nachanok (16)

The benefits of aloe vera
The benefits of aloe veraThe benefits of aloe vera
The benefits of aloe vera
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขั้นตอนโครงงาน
ขั้นตอนโครงงานขั้นตอนโครงงาน
ขั้นตอนโครงงาน
 
ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
COMPUTER PROJECT
COMPUTER PROJECTCOMPUTER PROJECT
COMPUTER PROJECT
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
20170610112150
2017061011215020170610112150
20170610112150
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่าง
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
 
พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
Nachanok610
Nachanok610Nachanok610
Nachanok610
 

2560 project fewnew22

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน เตือนภัยวันรุ่นรับมือโรคเครียด ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวสโรชา นาคแก้ว เลขที่ 17 ชั้น 6/10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ นางสาวสโรชา นาคแก้ว เลขที่17 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) เตือนภัยวัยรุ่นรับมือโรคเครียด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Warning sign of chronic stress ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสโรชา นาคแก้ว ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เด็กวัยรุ่นสมัยนี้มีความเครียดไม่น้อยเลย แม้จะมีหน้าที่เพียงศึกษาเล่าเรียนเท่านั้น แต่ด้วยสภาพแวดล้อม ต่าง ๆ ของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป หากเด็ก ๆ ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเหมาะสม ก็ย่อมมีผลเสียตามมาปัจจุบัน พบว่า มีข่าวเกี่ยวกับเด็กวัยรุ่นแก้ปัญหาความเครียดของตนเองด้วยวิธีผิด ๆ ตามหน้าหนังสือพิมพ์มากมาย เช่น ทะเลาะทาร้ายร่างกายเพื่อน บางคนระบายความเครียดด้วยการหันไปสูบบุหรี่ ดื่มสุรา เสพสารเสพติด หรือหากไม่ สามารถแก้ปัญหาความเครียดของตนเองได้ ก็ลงท้ายด้วยการทาร้ายตนเอง และฆ่าตัวตาย นับเป็นเหตุการณ์ที่ไม่มี ใครอยากให้เกิดขึ้นกับสมาชิกในครอบครัวของตนเป็นแน่วัยรุ่นเป็นวัยที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างทั้งร่างกาย จิตใจและความสัมพันธ์กับครอบครัวรวมทั้งเพื่อนฝูง วัยรุ่นตอนต้น อายุราว 13 – 15 ปี เป็นวัยที่สนุกสนานร่าเริง เปิดเผย ไม่ค่อยเก็บความรู้สึกไม่ว่าจะดีใจ เสียใจ ผิดหวัง ก็แสดงออกมาให้เห็นได้ชัด อารมณ์ต่างๆ มักเป็นไปชั่ว ประเดี๋ยวประด๋าวเพราะเป็นวัยที่อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ทาให้วัยรุ่นไม่ค่อยมีความเครียดมากนัก ประกอบกับวัยรุ่น ตอนต้นยังมีความรับผิดชอบในระยะสั้น เพราะผู้ใหญ่ไม่ค่อยไว้ใจปล่อยให้รับผิดชอบเต็มที่ แต่มักจะใช้วิธีสั่งให้ทาเป็น เรื่องๆ ไปมากกว่า และความรับผิดชอบนี้เองเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้เกิดความเครียด ดังนั้น หากวัยรุ่นจะเกิด ความเครียดก็เป็นความเครียดในระยะสั้นๆ ไม่รุนแรงและยาวนานเหมือนผู้ใหญ่ ซึ่งต้องรับผิดชอบตนเองเต็มที่ รวมทั้งความสนใจและความต้องการของวัยรุ่นเปลี่ยนแปลงง่ายจนไม่สามารถจะคาดเดาได้ เรื่องสาคัญและทาให้เขา เครียดในขณะหนึ่งอาจเปลี่ยนเป็นเรื่องอื่นได้อย่างรวดเร็วดังนั้นดิฉันจึงมีความสนใจที่จะนาเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับโรค เครียดให้ผู้อื่นได้รู้และปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อทราบช่วงใดของวัยรุ่นที่เกิดโรคเครียด 2.เพื่อทราบสาเหตุที่ทาให้เกิดโรคเครียด 3.เพื่อวิธีการจัดการกับความเครียด ขอบเขตโครงงาน วัยรุ่นจะจัดการกับความเครียดอย่างไร วัยรุ่นหญิงมักตึงเครียดจากสาเหตุความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มากกว่าวัยรุ่นชาย ในเรื่องปัญหาการเรียนและปัญหาในโรงเรียน พบว่าวัยรุ่นตอนต้นมักตึงเครียดจากปัญหาการ ปรับตัวในโรงเรียน ส่วนวัยรุ่นตอนกลางและตอนปลายตึงเครียดจากปัญหาการเรียนและการเลือกอาชีพมากกว่า หลักการและทฤษฎี Selye (1974 อ้างถึงใน ประณิตา ประสงค์จรรยา, 2542: 34) ได้กล่าวถึงทฤษฎีความเครียดของ selye (Selye’Stress Theory) ว่า เมื่อร่างกายถูกสิ่งที่มาคุกคาม(Stressor) จะทาให้เกิดความเครียด ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่ดีและ ไม่ดี จะทาให้ความสมดุลของร่างกายเปลี่ยนแปลงไป และจะเกิดการตอบสนองของบุคคลต่อตัวกระตุ้น (Stressor) ซึ่งการตอบสนองนั้นจะแสดงออกไปในลักษณะของกลุ่มอาการที่ไม่เฉพาะเจาะจง (Nonspecific) ที่เรียกว่า กลุ่ม อาการปรับตัวโดยทั่วไป (GAS : General Adaptation Syndrome) ซึ่งกลุ่มอาการนี้เกิดขึ้นเป็น 3 ระยะ คือ 1. ระยะเตือน (Alarm Reaction) เป็นปฏิกิริยาตอบสนองของบุคคลต่อสิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้นที่ก่อให้เกิดภาวะเครียดใน ระยะแรก ปฏิกิริยาในระยะนี้จะเกิดขึ้นเพียงระยะสั้นๆ ตั้งแต่เพียงไม่กี่นาที ถึง 48 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของ ตัวกระตุ้น อาการแสดงนั้นเป็นผลเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเททิคและต่อมพิทูอิ ทารี่ส่วนหน้า ระยะเตือนนี้สามารถแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ 1.1. ระยะช็อค (Shock Phase) เป็นระยะของการ ตอบสนองต่อสิ่งเร้า ซึ่งบุคคลที่ถูกรบกวน จะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงความสมดุลของร่างกาย ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นเป็น อันดับแรกที่ สมองส่วนคอร์เทกซ์ แล้วจึงส่งคลื่นประสาทมากระตุ้นต่อมพิทูอิทารี่ส่วนหน้า ประสาทอัตโนมัติซิมพา เททิค และต่อมหมวกไตตามลาดับ ทาให้มีการผลิตฮอร์โมนแคทีโคลมีนคอร์ติคอยด์ โคโทรฟิค และโกนาโดรโทรฟิค เข้าสู่กระแสเลือดเพิ่มขึ้น ในระยะนี้จะพบว่ามีการสลายโปรตีนของกล้ามเนื้อ ตัวที่ก่อให้เกิดความเครียด การ ตอบสนอง โรคที่เกี่ยวกับความผิดปกติของร่างกาย (Stressor) (Stress Response) (Stress – Related Dysfuction Diseas) มีการหลั่งน้ําย่อยในกระเพาะอาหารเพิ่มขึ้น และเซลล์ตับมีการหลั่งฮีสตามีนเพิ่มขึ้น มีน้ําและเกลือโซเดียมคั่ง ระหว่างเซลล์ ระดับโปตัสเซียมในเลือดสูงขึ้น ซึ่งโปตัสเซียมที่สูงขึ้นนี้ จะมีผลกดสมองส่วนกลาง ทาให้การดึงตัวของ กล้ามเนื้อหัวใจลดลง หลอดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อขยายตัว ในขณะที่หลอดเลือดฝอยส่วนปลายตามผิวหนัง และช่อง ท้องหดตัว ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นรุนแรงมาก ความดันโลหิตจะลดต่าลงอาจมีอาการช็อคหรือหัวใจหยุดเต้นได้ การ เปลี่ยนแปลงในระยะนี้ร่างกายไม่พร้อมที่จะปรับตัว และถ้ายังดาเนินต่อไป ร่างกาย จะถูกใช้พลังงาน จนหมดภายใน 24-48 ชั่วโมง นอกจากนี้จะมีกลไกการป้องกันตัวเอง ซึ่งจะเข้าสู่ระยะต้านช็อค 1.2 ระยะต้านช็อค (Countershock Phase) เป็นระยะถัดจากระยะช็อค ซึ่งร่างกายเริ่มปรับตัวกลับเข้าสูํํภาวะสมดุล โดยจะมีการดึงเอากลไกการต่อสู้ของ ร่างกายออกมาช่วยเหลือระบบต่างๆ ของร่างกาย เริ่มประสานกันอย่างมีระเบียบ ต่อมพิทูอิทารี่จะขับฮอร์โมนคอร์ติ โคโทฟิคเพิ่มขึ้น ส่วนต่อมหมวกไตจะหลั่งฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์เพิ่มขึ้น ทาให้อัตราการเผาผลาญของร่างกาย สูงขึ้นร่วมกับการเร่งขอประสาทอัตโนมัติซิมพาเททิค อาการแสดงที่ตรวจพบ คือ อัตราการเต้นของหัวใจจะแรงและ เร็ว ความดันโลหิตสูงขึ้น หายใจเร็ว มีอาการคลื่นไส้หรืออาเจียน ม่านตาขยาย และเหงื่อออกมากผิดปกติ 2. ระยะ ต่อต้าน (Stage of Resistance) สิ่งมีชีวิตจะปรับตัวอย่างเต็มที่ต่อตัวกระตุ้นให้เกิดความเครียดและผลที่ตามมา คือ อาการจะดีขึ้นหรือหายไป ลักษณะที่ปรากฏในระยะนี้จะแตกต่าง หรือมีลักษณะตรงกันข้ามกับระยะเตือน เช่น ใน ระยะเตือนเซลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต ปล่อยฮอร์โมนเข้าสู๋กระแสเลือก เพราะฉะนั้น จะไม่มีฮอรGโมนคอรGติ
  • 4. 4 คอยดGเก็บสะสมไว' แต่ในระยะต่อต้านคอร์เทกซ์จะมีฮอร์โมนเก็บไว้มาก ในระยะเตือนเลือดจะเข้มข้นและคลอไรด์ ต่า จะมีการทาลายของเนื้อเยื่อมาก แต/ในระยะต/อต'านเลือดจะเจือจาง คลอไรด์สูงและเซลล์มีการซ่อมแซมทาให้ น้ําหนักกลับเข้าสู่ปกติ แต่ถ้าสิ่งมีชีวิตนั้นยังได้รับการกระตุ้นจากสิ่งที่ก่อให้เกิดความเครียดอยู่ สิ่งมีชีวิตนั้นจะสูญเสีย การปรับตัวอีกและจะเข้าสู่ระยะที่ 3 คือ ระยะหมดกาลัง 3. ระยะหมดกาลัง (Stage of Exhausion) เนื่องจาก ความสามารถในการปรับตัวของสิ่งมีชิวิตต้องมีจุดจบ ถ้าตัวกระตุ้นก่อให้เกิดความเครียดรุนแรงและไม่สามารถจะ ขจัดออกไปได้สิ่งมีชีวิตจะเกิดการหมดกาลัง อาการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระยะเตือนก็จะกลับมาอีก และถ้าหากไม่ได้รับ ความช่วยเหลือหรือประคับประคองจากภายนอกอย่างเพียงพอ กลไกในการปรับตัวจะล้มเหลว เกิดโรคและเสียชีวิต ได้ในที่สุดทฤษฎีเกี่ยวกับความเครียดมี 3 กลุ่ม ดังนี้ (อ้างถึงใน พรพรรณ ศรีเทพ, 2550:17X18) https://boonkit54.blogspot.com/2013/08/blog-post_6180.html