SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน
ว่านหางจระเข้มากประโยชน์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นาย ปุณยวีร์ สังวาลย์ เลขที่25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง10
2. นายนนท์ธณัฐ เจริญวุฒิสิทธิ์ เลขที่30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิก
1.นาย ปุณยวีร์ สังวาลย์ เลขที่ 25 2.นายนนท์ธณัฐ เจริญวุฒิสิทธิ์ เลขที่ 30
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ว่านหางจระเข้มากประโยชน์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
The benefits of Aloe Vera
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ปุณยวีร์ สังวาลย์ และ นายนนท์ธณัฐ เจริญวุฒิสิทธิ์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
หลายคนอาจจะทราบถึงประโยชน์ ของว่านหางจระเข้ อีกทั้งยังรู้ถึงการรักษาแผลหรือโรคต่างๆ ด้วย
สมุนไพรชนิดดังกล่าวเป็นอย่างดี แต่สาหรับใครที่กาลังมองหาประโยชน์และสรรพคุณเพิ่มเติมของว่านหาง
จระเข้ กลุ่มผู้จัดทาจึงได้นาข้อมูลในส่วนนั้นมาแบ่งปันเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านที่เลือกใช้วิธีธรรมชาติในการ
รักษาโรคมากขึ้น นอกจากนี้ในปัจจุบันว่านหางจระเข้ยังถูกนาดัดแปลงเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆอีกด้วย อย่างเช่น
ครีมทาผิวจากว่านหางจระเข้ ครีมอาบน้าจากว่านหางจระเข้ น้าดื่มว่านหางจระเข้ ทิปโก้น้าว่านหางจระเข้
ผสมน้าองุ่น ฯลฯ หลังจากที่กลุ่มผู้จัดทาได้เล็งเห็นประโยชน์มากมายจากในชีวิตประจาวันของทุกคน จึงได้นา
เรื่องราวของว่านหางจระเข้มาจัดทาเป็นโครงงานเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่อยากจะศึกษาเรื่องราวของมัน
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาประโยชน์ของว่านหางจระเข้อย่างแท้จริง
2.เพื่อเรียนรู้ส่วนผสมสาคัญในการนาไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและอื่นๆมากมาย
3.เพื่อศึกษาเรื่องการนาว่านหางจระเข้มาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์
4.เพื่อนาไปศึกษาและใช้ต่อในการเรียน ชีววิทยา และเรื่องราวของพืช
5.เพื่อศึกษาถึงองค์ประกอบของว่านหางจระเข้
ขอบเขตโครงงาน
1.ศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
2.ระยะที่ดาเนินการ
3.ศึกษาเรื่องราวของว่านหางจระเข้
หลักการและทฤษฎี
ลักษณะทั่วไปของว่านหางจระเข้
ว่านหางจระเข้จัดอยู่ในพืชตระกูลลีเลี่ยม (Lilium) ซึ่งมีแหล่งกาเนิดดั้งเดิมอยู่ที่ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์
เรเนียนและอยู่ที่บริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกา ในส่วนของสายพันธุ์ของว่านหางจระเข้นั้นมีอยู่หลากหลาย
ชนิด เพราะโดยรวมแล้วมีมากกว่า 300 ชนิดด้วยกัน โดยสายพันธุ์ของมันจะมีตั้งแต่สายพันธุ์ที่มีชนาดใหญ่ไป
จนถึงสายพันธุ์ที่มีขนาดเล็ก ลักษณะพิเศษของว่านหางจระเข้นั้นจะอยู่ที่ใบแหลมคล้ายกับเข็ม มีเนื้อที่หนา
และเนื้อข้างในจะมีน้าเมือกเหนียวอยู่
สมุนไพรชนิดนี้จะมีการผลิดอกในช่วงฤดูหนาว ซึ่งดอกของมันจะมีสีสันที่แตกต่างกัน เช่น สีขาว สีแดง และสี
เหลือง ซึ่งแต่ละสีของดอกจะขึ้นอยู่กับแต่ละสายพันธุ์ ว่านหางจระเข้จัดเป็นพืชชนิดที่อวบน้า มีขนาดลาต้นที่
สั้นและไม่สูงมาก ซึ่งขนาดความสูงของมันจะอยู่ประมาณ 60-100 เซนติเมตร ใบของมันจะมีความหนาอ้วน
และมีสีเขียวถึงเทาเขียว ในบางสายพันธุ์จะมีจุดสีขาวอยู่ในส่วบนและล่างของโคนใบ ขอบใบจะมีลักษณะเป็น
หยักและมีฟันหรือคล้ายหนามเล็กๆ สีขาว ดอกของมันจะมีลักษณะเป็นดอกที่ห้อยลงมา วงกลีบของดอกจะมี
สีเหลืองเป็นรูปหลอด มีขนาดความยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร ถ้าพูดถึงในอีกแง่มุมก็คือว่านหางจระเข้จะมี
ความเหมือนกับพืชชนิดอื่นๆ ที่อยู่ในสกุลที่สร้างอาร์บัวคูลาร์ไมคอร์ไรซาขึ้น ซึ่งเป็นดั่งสมชีพที่ทาให้พืช
สามารถดูดซึมสารอาหารและแร่ธาตุที่อยู่ในดินได้ดี
ส่วนที่ใช้เป็นยาและสรรพคุณ
- วุ้นจากใบ ใช้รักษาแผลน้าร้อนลวก ผิวหนังอักเสบ บวม แมลงกัดต่อย เริม และฝี
- ยางจากใบและต้น ใช้รักษาอาการท้องผูก
สารสาคัญที่เป็นสารออกฤทธิ์
สารสาคัญในการออกฤทธิ์สมานแผลคือ aloctin A และ aloctin B สารสาคัญในการออกฤทธิ์ลดการ
อักเสบ คือ aloctin A, veracylglucan B และ C และ bradykininase ส่วน traumatic acid ออกฤทธิ์
รักษาแผลในกระเพาะอาหาร สารกลุ่ม anthraquinones ออกฤทธิ์เพิ่มการบีบตัวของลาไส้ ลดอาการท้องผูก
5.1 ฤทธิ์รักษาแผลในกระเพาะอาหาร
จากการทดลองในผู้ป่วยที่มีแผลในกระเพาะอาหาร 12 ราย โดยนาน้าวุ้นว่านหางจระเข้มา
เตรียมให้อยู่ในรูป emulsion แล้วให้ผู้ป่วยรับประทานครั้งละ 2 - 2.5 ออนซ์ (1 fluid ounce เท่ากับ 30
มิลลิลิตร) พบว่าผู้ป่วยทุกรายหาย เชื่อว่าสารออกฤทธิ์ที่สาคัญคือ traumatic acid ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่พบใน
พืช ปะปนอยู่กับวุ้นในใบ (มิวซิเลจ) ต่างๆ ออกฤทธิ์โดยลดการหลั่งกรดและน้าย่อยในกระเพาะอาหาร และ
สารประกอบในวุ้นในใบได้แก่ manuronic และ glucuronic acid ช่วยป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
ในปัจจุบันมีการจดสิทธิบัตรตารับยาที่มีผงว่านหางจระเข้เป็นส่วนประกอบ มีสรรพคุณในการรักษา
โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร เช่น แผลในกระเพาะอาหาร แผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น (duodenal ulcer)
กระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง การหลั่งกรดในกระเพาะอาหารมากเกินไป ปวดแสบปวดร้อนในกระเพาะอาหาร
กระเพาะอาหารมีการหดเกร็งและการย่อยอาหารไม่ดี นอกจากนี้ยังมีการนาสารโพลีแซคคาไรด์ในว่านหาง
จระเข้ มาทาเป็นยารักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารเรื้อรังและแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้นเรื้อรัง
การศึกษาฤทธิ์รักษาแผลในกระเพาะอาหารในหนูแรทของวุ้นว่านหางจระเข้มีหลายแห่ง ซึ่งพบ
การศึกษาทั้งที่ไม่ให้ผลการรักษา และให้ผลการรักษาดี โดยพบว่าสารออกฤทธิ์คือ aloctin A, aloctin B และ
polysaccharide
นอกจากการศึกษาโดยใช้ส่วนของวุ้นแล้วยังมีการศึกษากับสารสกัดว่านหางจระเข้ พบว่าได้ผลในการป้องกัน
การเกิดแผลและรักษาแผลในกระเพาะอาหารเช่นกัน แต่กลไกการออกฤทธิ์ไม่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์
prostaglandin ชนิดที่มีผลป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร หรือลดการหลั่งน้าย่อยและกรด อย่างไรก็
ตามมีบางการศึกษากลับพบว่าสารสกัดว่านหางจระเข้มีฤทธิ์ทาให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร และกระตุ้นการ
หลั่งกรด
5.2 ฤทธิ์ในการสมานแผล
การนาขี้ผึ้งซึ่งมีว่านหางจระเข้ร้อยละ 50 ไปใช้รักษาแผลถลอก พบว่ามีอัตราการหายของแผลดี
และได้ผลดีกับแผลถลอก และแผลไม่ติดเชื้อ มีผู้นาขี้ผึ้งว่านหางจระเข้ไปใช้กับแผลเรื้อรัง และสิว นอกจากนี้
มีการนามาใช้รักษาแผลภายนอกได้ผลโดยใช้ร่วมกับ Vitamin E และยังมีรายงานผลดีของว่านหางจระเข้
ต่อมาอีกหลายฉบับ ซึ่งสันนิษฐานว่าการที่แผลหายเร็วขึ้นเนื่องจากว่านหางจระเข้ช่วยเร่งให้เซลล์ผิวหนัง
แบ่งตัวเพื่อซ่อมแซมผิว การใช้ว่านหางจระเข้ในผู้ป่วยผ่าตัดจมูก พบว่าทาให้แผลหายเร็วขึ้น และมีการนาไปใช้
รักษาแผลที่เกิดจากการรักษาสิวด้วยวิธีดูดหัวสิว สารสกัดด้วยน้าเมื่อนาไปใช้หลังการผ่าตัดฟัน พบว่าช่วยให้
แผลสมานเร็วขึ้น การทดลองในผู้ป่วย 31 คนซึ่งเป็นแผลในปาก พบว่าผู้ป่วยร้อยละ 77 มีความรู้สึกปวด
น้อยลง ในขณะที่ผู้ป่วยร้อยละ 80 มีแผลดีขึ้น และการนาว่านหางจระเข้ไปรักษาแผลที่เกิดจากการถอนฟัน
พบว่าลดการเกิดกระดูกเบ้าฟันอักเสบ (alveolar osteitis) ได้มากกว่ากลุ่มที่ได้รับยา clindamycin มีการนา
วุ้นว่านหางจระเข้มารักษาแผล โดยศึกษาในผู้ป่วย 60 คน ที่มีบาดแผลจากอุบัติเหตุ พบว่าช่วยทาให้แผลหาย
สมบูรณ์ได้รวดเร็วกว่าการใช้ยาโพวิโดน ไอโอดีน นอกจากนี้ยังมีการนาวุ้นว่านหางจระเข้สด (เตรียมและใช้
ภายใน 6 ชั่วโมง) มาทดสอบในผู้ป่วยจิตเวช 4 คน พบว่าช่วยลดขนาดของแผลลง
อย่างไรก็ตามมีผู้รายงานถึงการนาว่านหางจระเข้มาใช้รักษาแผลแล้วไม่ได้ผลอยู่บ้าง เช่น การ
ทดลองในหญิง 21 คน พบว่าแผลหายช้า การนาว่านหางจระเข้ผสม silicon dioxide และ allantoin ไป
รักษาแผลในปากพบว่าไม่ได้ผล การนาสาร acemannan จากว่านหางจระเข้ไปใช้รักษาแผลกดทับในผู้ป่วย
30 ราย พบว่าได้ผลไม่ดีไปกว่าน้าเกลือ
ด้วยฤทธิ์สมานแผล จึงมีผู้นาว่านหางจระเข้ไปใช้รักษาแผลอักเสบต่างๆ ได้แก่ แผลที่เกิดจากการแพ้
sodium lauryl sulfate ในผงซักฟอก พบว่าได้ผลดี หรือใช้ผสมในน้ายาทาความสะอาดผิวหนังโดยใช้สาร
สกัดว่านหางจระเข้ผสมน้ายาล้างแผล และน้ายารักษาแผลในปาก เป็นต้น
5.3 ฤทธิ์รักษาแผลไหม้จากการฉายรังสี
มีผู้นาว่านหางจระเข้มาใช้รักษาอาการผิวหนังอักเสบจากการได้รับรังสี พบว่าอาการดีขึ้น โดยใช้
ในรูปของวุ้นว่านหางจระเข้ ใบสดทั้งใบ ขี้ผึ้ง และอีมัลชั่น ซึ่งพบว่าใบสดให้ผลดีกว่าขี้ผึ้ง ในการศึกษาถึง
กระบวนการออกฤทธิ์พบว่าเกี่ยวข้องกับการจับอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นหลังฉายแสง แล้วมีผลทาให้เกิดการ
ทาลายเนื้อเยื่อลดลง อย่างไรก็ตาม มีการศึกษาบางอันให้ผลขัดแย้ง เช่น การศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมซึ่ง
รักษาด้วยการฉายรังสี 225 คน พบว่ากลุ่มที่ใช้วุ้นว่านหางจระเข้ ความเข้มข้นร้อยละ 95 ไม่ได้ผล ผู้ป่วยยังมี
อาการคันและปวดแสบปวดร้อน ซึ่งตรงกับผลการทดสอบในผู้ป่วยมะเร็ง 108 คนในอีกการศึกษาหนึ่ง
นอกจากผลในการรักษาแผลอักเสบที่เกิดจากรังสีแล้ว ได้มีผู้สนใจศึกษาผลในการป้องกันการทาลาย
ผิวหนังจากแสง UV มีผู้ทดลองในผู้ป่วย 12 ราย ว่าช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น มีการพัฒนาตารับวุ้นว่านหางจระเข้
ซึ่งใช้ป้องกันผิวหนังถูกแผดเผาจากแสงแดด พบว่าได้ผลดี และทาให้ผิวมีความชุ่มชื้น จึงได้มีการจดสิทธิบัตร
อีมัลชั่นที่มีส่วนผสมของน้าว่านหางจระเข้ที่ไม่มี aloin (ในสัดส่วนร้อยละ 60-70) พบว่าสามารถรักษาอาการ
ผิวหนังอักเสบจากแสงแดดได้ แต่มีบางรายงานแสดงให้เห็นว่าการใช้เจลว่านหางจระเข้ในการรักษาและ
ป้องกันอาการอักเสบแดงเนื่องจาก UVB นั้นไม่ได้ผล
5.4 ฤทธิ์รักษาแผลไหม้จากความร้อน
มีการศึกษาในผู้ป่วย 38 ราย โดยใช้วุ้นสด พบว่าได้ผลร้อยละ 95 เมื่อเปรียบเทียบกับยาทาแผล
ป้องกันการติดเชื้อ silver sulfadiazine ซึ่งได้ผลเพียงร้อยละ 83 โดยที่มีอาการไม่พึงประสงค์บ้างเล็กน้อย
คือ รู้สึกระคายเคือง มีการศึกษาผลของครีมว่านหางจระเข้ในผู้ป่วยนอกที่เป็นแผลไหม้ระดับ 2 พบว่าเมื่อ
เปรียบเทียบกับ silver sulfadiazine แล้วกลุ่มที่ได้รับว่านหางจระเข้มีแผลหายเร็วกว่ากลุ่มที่ใช้ silver
sulfadiazine โดยแผลหายในเวลา 13 ± 2.41 วัน และ 16.15 ± 1.98 วัน ตามลาดับ จากรายงาน
ผลการรักษาในคนไข้ 27 ราย เปรียบเทียบกับ vaseline พบว่าหายในเวลา 11.89 วัน และ 18.19 วัน
ตามลาดับ แม้ว่าก่อนหน้านี้จะมีผู้เชื่อว่า แผลที่หายอาจเป็นผลเนื่องจากส่วนผสมที่เป็นน้ามันในครีมทาให้แผล
ไม่แห้งจึงหายเร็วก็ตาม แต่ผลการทดลองข้างต้นก็น่าจะยืนยันประสิทธิภาพของครีมวุ้นว่านหางจระเข้ได้
นอกจากวุ้นว่านหางจระเข้แล้ว ยังมีผู้พัฒนาตารับขี้ผึ้งว่านหางจระเข้ใช้สาหรับรักษาแผลไหม้เนื่องจากน้าร้อน
ลวกอีกด้วย
5.5 ฤทธิ์ลดการอักเสบ
มีการนาว่านหางจระเข้ไปใช้ประโยชน์เพื่อลดการอักเสบในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ครีมทารักษาโรค
ผิวหนังและแผลอักเสบ ผสมกับ lidocaine (ยาชา) และ diphenhydramine (ยาแก้แพ้) ใช้รักษาการอักเสบ
ของผิวหนังและเนื้อเยื่ออ่อน ผสมกับ glycyrrhetinic acid รักษาการอักเสบ และตารับยาผสมกับสมุนไพร
อื่น การทาเป็นโลชั่นโดยมีส่วนประกอบของวุ้นว่านหางจระเข้ วิตามินซี วิตามินอี และไฮโดรคอร์ติโซน อะซิ
เตรต ใช้ทาผิวหนังหลังโกนขนหรือผม พบว่าสามารถลดการอักเสบและการระคายเคืองต่อผิวหนังได้ มีการนา
ว่านหางจระเข้ไปรักษาสิว รักษาอาการอักเสบของระบบทางเดินหายใจ รักษาอาการไอโดยฉีดสารสกัดว่าน
หางจระเข้เข้าหลอดลมเป็นเวลา 10 วัน พบว่าได้ผลดี และมีผู้เตรียมตารับยาหยดแก้ไอจากโพลีแซคคาไรค์
รักษาอาการอักเสบเนื่องจากหิมะกัด รักษาอาการโรคปอดอักเสบเรื้อรัง รักษาเหงือกอักเสบ รักษาอาการ
บาดเจ็บของนักกรีฑา นอกจากนี้ยังมีการศึกษาในผู้ป่วยลาไส้ใหญ่อักเสบจานวน 42 คน โดยให้ผู้ป่วย 30 คน
รับประทานน้าว่านหางจระเข้ 100 มิลลิลิตร วันละ 2 ครั้ง นาน 4 สัปดาห์ และผู้ป่วยอีก 14 คน ให้
รับประทานยาหลอก พบว่าผู้ป่วยที่ได้รับน้าว่านหางจระเข้ จะมีลาไส้ใหญ่อักเสบลดลงโดยแผลดูดีขึ้นและมี
ขนาดเล็กลง เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้ยาหลอก แสดงว่าน้าว่านหางจระเข้ช่วยลดการอักเสบของลาไส้ใหญ่
ได้
ในปัจจุบันมีการจดสิทธิบัตรยาแคปซูลที่มีส่วนประกอบของสารสกัดน้ามะละกอ น้าหม่อน น้า
ว่านหางจระเข้ ที่ทาให้แห้ง ขนาด 200, 100 และ 50 มิลลิกรัมตามลาดับ อาหารเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของ
ว่านหางจระเข้ร้อยละ 85-90 และ วิตามินซีร้อยละ 3-10 ใช้ต้านการอักเสบ และตารับยาเม็ดที่มี
ส่วนประกอบของสาร b-sitosterol (ที่ได้จากวุ้นว่านหางจระเข้) ขนาด 10 มิลลิกรัม สาหรับรักษาโรคไขข้อ
อักเสบ
5.6 ฤทธิ์เป็นยาระบาย
มีการจดสิทธิบัตรยาที่มีส่วนผสมของสารสกัดมะขามแขก 30-40 ส่วน สารสกัดว่านหางจระเข้
30-40 ส่วน สารสกัดหมาก 20-30 ส่วน oryzanol 3-4 ส่วน และcalcium lactate 20-30 ส่วน ใช้ป้องกัน
และรักษาอาการท้องผูกโดยไม่มีผลข้างเคียง เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของสารสกัด chamomile ว่านหางจระเข้
และชะเอมเทศมีฤทธิ์เป็นยาระบาย ยาระบายชนิดแคปซูลที่มีส่วนประกอบของ catechin จากชาร้อยละ
0.5-7 aloin จากว่านหางจระเข้ร้อยละ 0.2-5 และไขมันจากม้า (horse fats) ร้อยละ 88-93 เพื่อใช้เป็นยา
ระบายโดยไม่มีอาการปวดท้องและท้องเสีย โดยสารที่พบจากยางที่เปลือก คือ anthraquinone, barbaloin,
และ aloin และ ตารับยาที่ประกอบด้วยสารสกัดจากว่านหางจระเข้ ได้แก่ สาร sennosides A และ B มี
ฤทธิ์เป็นยาระบาย
ข้อควรระวังในการใช้ว่านหางจระเข้
ว่านหางจระเข้ มีข้อควรระวังในการใช้ แม้จะเป็นพืชที่ไม่มีอันตราย ใช้นามารับประทาน หรือใช้เป็นยารักษา
แผลภายนอก รวมไปถึงการประทินผิว แต่กระนั้นก็ยังมีข้อห้ามและข้อควรระมัดระวังที่ผู้ใช้ควรรู้เพื่อความ
ปลอดภัยของตัวเองด้วย โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยดังต่อไปนี้
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ระวังการดื่มน้าว่านหางจระเข้ที่นาเอาส่วนของวุ้นมาปั่น การดื่มจะไปกระตุ้นตับอ่อนให้มี
การสร้างสารอินซูลินเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ผู้ป่วยยังมีการใช้ยารักษาที่เป็นอินซูลินตามแพทย์สั่งอยู่ด้วยแล้ว การดื่ม
น้าว่านหางจระเข้เพิ่มเข้าไป เปรียบเสมือนกับเติมอินซูลินในร่างกายให้เพิ่มมากขึ้น ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ
ช็อกตามมาได้ ทางที่ดีควรปรึกษาแพทย์เพื่อความมั่นใจเสียก่อน
ผู้ป่วยโรคลาไส้อักเสบและโรคกระเพาะ กรณีที่ผู้ป่วยเป็นโรคเหล่านี้มาก่อนแล้ว การกินวุ้นของว่านหางจระเข้
ที่มีความสด จาเป็นจะต้องพิถีพิถันในการทาความสะอาด เพื่อกาจัดเอายางสีเหลืองออกให้หมด ซึ่งวุ้นที่ล้างทา
ความสะอาดเป็นอย่างดีแล้ว จะไม่มีรสขมของยาง การล้างทาความสะอาดไม่ดี รับประทานเอายางเข้าไปด้วย
จะไปกระตุ้นให้การอักเสบรุนแรงขึ้น ซึ่งบางรายมีอาการอาเจียนและท้องเสียอย่างหนัก
ผู้ป่วยที่มีเป็นโรคริดสีดวง หญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร จะต้องระมัดระวังไม่นาเอายางที่สกัดได้จากยางของ
ว่านหางจระเข้มารับประทาน แม้จะมีสรรพคุณเป็นยา แต่เป็นข้อห้ามอย่างเด็ดขาดในกลุ่มผู้ป่วยเหล่านี้ ซึ่งยัง
รวมไปถึงหญิงตั้งครรภ์ หญิงที่อยู่ในช่วงให้นมบุตร เพราะจะทาให้อาการรุนแรงขึ้น การตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการ
แท้งลูก และอาจทาให้ลูกน้อยที่ดื่มนมแม่เกิดภาวะท้องเสียได้
ประโยชน์และสรรพคุณทางยาของว่านหางจระเข้นั้นถือได้ว่ามีมากมายจนน่าเหลือเชื่อ ดังนั้นจึงไม่ต้องแปลก
ใจกันเลยว่าทาไมปัจจุบันนี้จึงได้มีการนาเอาส่วนต่างๆ ของว่านหางจระเข้มาเป็นส่วนผสมของเครื่องสาอาง
และยารักษาโรคกันอย่างแพร่หลาย อีกทั้งแต่ละผลิตภัณฑ์ที่ใช้ว่านหางจระเข้เป็นส่วนผสมก็มักได้รับความนิยม
และยังเป็นที่น่าเชื่อถือของผู้บริโภคไม่น้อย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง และรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ
2. วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงการที่จะพัฒนา
3. ออกแบบการพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และ ตัวแปลภาษา
โปรแกรม และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้
4. กาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลงมือทาโครงงานและสรุปรายงาน
โครงงาน โดยกาหนดช่วงเวลาอย่างกว้างๆ
5. การพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทาการพัฒนาส่วนย่อย ๆ
บางส่วนตามที่ได้ออกแบบ ไว้แล้ว นาผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบ
ไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาและปรับปรุง
แก้ไข เพื่อให้ การวางแผนและดาเนินการ ท าโครงงานเป็นไปอย่างเหมาะสมเป็นขั้นตอน ตั้งแต่
เริ่มต้นจนสิ้นสุด
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1) เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2) เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น www.google.com
3) โปรแกรมที่ใช้ในการนาเสนอ Microsoft Office Power Point
งบประมาณ
1.ค่าแผ่นซีดี 10 บาท
2.ค่ากล่องซีดี 30 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน ปุณยวีร์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล นนทณัฐ
3 จัดทาโครงร่างงาน นนทณัฐ
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปุณยวีร์
5 ปรับปรุงทดสอบ ปุณยวีร์
6 การทาเอกสารรายงาน นนทณัฐ
7 ประเมินผลงาน นนทณัฐ
8 นาเสนอโครงงาน ปุณยวีร์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เพื่อให้ทุกคนได้รับรู้ประโยชน์ของว่านหางจระเข้และนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ที่ถูกต้อง หรือในกรณี
ฉุกเฉินก็อาจจะนาความรู้ที่ได้จากการจัดทาโครงงานนี้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์อย่างสูงสุด บางทีอาจจะทาไป
ศึกษาต่อในแลปทาให้เกิดรายได้จากการศึกษาข้อมูล ส่วนประกอบของว่านหางจระเข้และนาไปสร้างเป็น
ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพใหม่ๆ เพื่อนามาใช้งานได้จริงและสร้างรายได้
สถานที่ดาเนินการ
ห้องสมุดกลาง โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
- กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง
“ว่านหางจระเข้ ” . 2558. [ ระบบออนไลน์] .แหล่งที่มา
http://medplant.mahidol.ac.th/pubhealth/alovera.html .( 10 กุมภาพันธ์ 2561)
“ว่านหางจระเข้ กับประโยชน์และสรรพคุณทางยา” . 2558. [ ระบบออนไลน์] .แหล่งที่มา
https://www.honestdocs.co/aloe-vera-benefits .( 28 มกราคม 2561)

More Related Content

Similar to The benefits of aloe vera

งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
OporfunJubJub
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
OporfunJubJub
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
OporfunJubJub
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
OporfunJubJub
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
waralee29
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
OporfunJubJub
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
OporfunJubJub
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
porpia
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
porpia
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
porpia
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
Chonlakan Kuntakalang
 

Similar to The benefits of aloe vera (20)

งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
 
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
 
2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 

More from Aom Nachanok

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Aom Nachanok
 
ขั้นตอนโครงงาน
ขั้นตอนโครงงานขั้นตอนโครงงาน
ขั้นตอนโครงงาน
Aom Nachanok
 
หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)
Aom Nachanok
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
Aom Nachanok
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
Aom Nachanok
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
Aom Nachanok
 

More from Aom Nachanok (16)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขั้นตอนโครงงาน
ขั้นตอนโครงงานขั้นตอนโครงงาน
ขั้นตอนโครงงาน
 
ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
COMPUTER PROJECT
COMPUTER PROJECTCOMPUTER PROJECT
COMPUTER PROJECT
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
20170610112150
2017061011215020170610112150
20170610112150
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่าง
 
2560 project fewnew22
2560 project fewnew222560 project fewnew22
2560 project fewnew22
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
 
พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
Nachanok610
Nachanok610Nachanok610
Nachanok610
 

The benefits of aloe vera

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ว่านหางจระเข้มากประโยชน์ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นาย ปุณยวีร์ สังวาลย์ เลขที่25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง10 2. นายนนท์ธณัฐ เจริญวุฒิสิทธิ์ เลขที่30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิก 1.นาย ปุณยวีร์ สังวาลย์ เลขที่ 25 2.นายนนท์ธณัฐ เจริญวุฒิสิทธิ์ เลขที่ 30 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ว่านหางจระเข้มากประโยชน์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) The benefits of Aloe Vera ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ปุณยวีร์ สังวาลย์ และ นายนนท์ธณัฐ เจริญวุฒิสิทธิ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน หลายคนอาจจะทราบถึงประโยชน์ ของว่านหางจระเข้ อีกทั้งยังรู้ถึงการรักษาแผลหรือโรคต่างๆ ด้วย สมุนไพรชนิดดังกล่าวเป็นอย่างดี แต่สาหรับใครที่กาลังมองหาประโยชน์และสรรพคุณเพิ่มเติมของว่านหาง จระเข้ กลุ่มผู้จัดทาจึงได้นาข้อมูลในส่วนนั้นมาแบ่งปันเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านที่เลือกใช้วิธีธรรมชาติในการ รักษาโรคมากขึ้น นอกจากนี้ในปัจจุบันว่านหางจระเข้ยังถูกนาดัดแปลงเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆอีกด้วย อย่างเช่น ครีมทาผิวจากว่านหางจระเข้ ครีมอาบน้าจากว่านหางจระเข้ น้าดื่มว่านหางจระเข้ ทิปโก้น้าว่านหางจระเข้ ผสมน้าองุ่น ฯลฯ หลังจากที่กลุ่มผู้จัดทาได้เล็งเห็นประโยชน์มากมายจากในชีวิตประจาวันของทุกคน จึงได้นา เรื่องราวของว่านหางจระเข้มาจัดทาเป็นโครงงานเพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่อยากจะศึกษาเรื่องราวของมัน วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาประโยชน์ของว่านหางจระเข้อย่างแท้จริง 2.เพื่อเรียนรู้ส่วนผสมสาคัญในการนาไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและอื่นๆมากมาย 3.เพื่อศึกษาเรื่องการนาว่านหางจระเข้มาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ 4.เพื่อนาไปศึกษาและใช้ต่อในการเรียน ชีววิทยา และเรื่องราวของพืช 5.เพื่อศึกษาถึงองค์ประกอบของว่านหางจระเข้
  • 3. ขอบเขตโครงงาน 1.ศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต 2.ระยะที่ดาเนินการ 3.ศึกษาเรื่องราวของว่านหางจระเข้ หลักการและทฤษฎี ลักษณะทั่วไปของว่านหางจระเข้ ว่านหางจระเข้จัดอยู่ในพืชตระกูลลีเลี่ยม (Lilium) ซึ่งมีแหล่งกาเนิดดั้งเดิมอยู่ที่ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์ เรเนียนและอยู่ที่บริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกา ในส่วนของสายพันธุ์ของว่านหางจระเข้นั้นมีอยู่หลากหลาย ชนิด เพราะโดยรวมแล้วมีมากกว่า 300 ชนิดด้วยกัน โดยสายพันธุ์ของมันจะมีตั้งแต่สายพันธุ์ที่มีชนาดใหญ่ไป จนถึงสายพันธุ์ที่มีขนาดเล็ก ลักษณะพิเศษของว่านหางจระเข้นั้นจะอยู่ที่ใบแหลมคล้ายกับเข็ม มีเนื้อที่หนา และเนื้อข้างในจะมีน้าเมือกเหนียวอยู่ สมุนไพรชนิดนี้จะมีการผลิดอกในช่วงฤดูหนาว ซึ่งดอกของมันจะมีสีสันที่แตกต่างกัน เช่น สีขาว สีแดง และสี เหลือง ซึ่งแต่ละสีของดอกจะขึ้นอยู่กับแต่ละสายพันธุ์ ว่านหางจระเข้จัดเป็นพืชชนิดที่อวบน้า มีขนาดลาต้นที่ สั้นและไม่สูงมาก ซึ่งขนาดความสูงของมันจะอยู่ประมาณ 60-100 เซนติเมตร ใบของมันจะมีความหนาอ้วน และมีสีเขียวถึงเทาเขียว ในบางสายพันธุ์จะมีจุดสีขาวอยู่ในส่วบนและล่างของโคนใบ ขอบใบจะมีลักษณะเป็น หยักและมีฟันหรือคล้ายหนามเล็กๆ สีขาว ดอกของมันจะมีลักษณะเป็นดอกที่ห้อยลงมา วงกลีบของดอกจะมี สีเหลืองเป็นรูปหลอด มีขนาดความยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร ถ้าพูดถึงในอีกแง่มุมก็คือว่านหางจระเข้จะมี ความเหมือนกับพืชชนิดอื่นๆ ที่อยู่ในสกุลที่สร้างอาร์บัวคูลาร์ไมคอร์ไรซาขึ้น ซึ่งเป็นดั่งสมชีพที่ทาให้พืช สามารถดูดซึมสารอาหารและแร่ธาตุที่อยู่ในดินได้ดี ส่วนที่ใช้เป็นยาและสรรพคุณ - วุ้นจากใบ ใช้รักษาแผลน้าร้อนลวก ผิวหนังอักเสบ บวม แมลงกัดต่อย เริม และฝี - ยางจากใบและต้น ใช้รักษาอาการท้องผูก สารสาคัญที่เป็นสารออกฤทธิ์ สารสาคัญในการออกฤทธิ์สมานแผลคือ aloctin A และ aloctin B สารสาคัญในการออกฤทธิ์ลดการ อักเสบ คือ aloctin A, veracylglucan B และ C และ bradykininase ส่วน traumatic acid ออกฤทธิ์ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร สารกลุ่ม anthraquinones ออกฤทธิ์เพิ่มการบีบตัวของลาไส้ ลดอาการท้องผูก 5.1 ฤทธิ์รักษาแผลในกระเพาะอาหาร จากการทดลองในผู้ป่วยที่มีแผลในกระเพาะอาหาร 12 ราย โดยนาน้าวุ้นว่านหางจระเข้มา เตรียมให้อยู่ในรูป emulsion แล้วให้ผู้ป่วยรับประทานครั้งละ 2 - 2.5 ออนซ์ (1 fluid ounce เท่ากับ 30 มิลลิลิตร) พบว่าผู้ป่วยทุกรายหาย เชื่อว่าสารออกฤทธิ์ที่สาคัญคือ traumatic acid ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่พบใน พืช ปะปนอยู่กับวุ้นในใบ (มิวซิเลจ) ต่างๆ ออกฤทธิ์โดยลดการหลั่งกรดและน้าย่อยในกระเพาะอาหาร และ สารประกอบในวุ้นในใบได้แก่ manuronic และ glucuronic acid ช่วยป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ในปัจจุบันมีการจดสิทธิบัตรตารับยาที่มีผงว่านหางจระเข้เป็นส่วนประกอบ มีสรรพคุณในการรักษา โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร เช่น แผลในกระเพาะอาหาร แผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น (duodenal ulcer) กระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง การหลั่งกรดในกระเพาะอาหารมากเกินไป ปวดแสบปวดร้อนในกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารมีการหดเกร็งและการย่อยอาหารไม่ดี นอกจากนี้ยังมีการนาสารโพลีแซคคาไรด์ในว่านหาง จระเข้ มาทาเป็นยารักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารเรื้อรังและแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้นเรื้อรัง
  • 4. การศึกษาฤทธิ์รักษาแผลในกระเพาะอาหารในหนูแรทของวุ้นว่านหางจระเข้มีหลายแห่ง ซึ่งพบ การศึกษาทั้งที่ไม่ให้ผลการรักษา และให้ผลการรักษาดี โดยพบว่าสารออกฤทธิ์คือ aloctin A, aloctin B และ polysaccharide นอกจากการศึกษาโดยใช้ส่วนของวุ้นแล้วยังมีการศึกษากับสารสกัดว่านหางจระเข้ พบว่าได้ผลในการป้องกัน การเกิดแผลและรักษาแผลในกระเพาะอาหารเช่นกัน แต่กลไกการออกฤทธิ์ไม่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ prostaglandin ชนิดที่มีผลป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร หรือลดการหลั่งน้าย่อยและกรด อย่างไรก็ ตามมีบางการศึกษากลับพบว่าสารสกัดว่านหางจระเข้มีฤทธิ์ทาให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร และกระตุ้นการ หลั่งกรด 5.2 ฤทธิ์ในการสมานแผล การนาขี้ผึ้งซึ่งมีว่านหางจระเข้ร้อยละ 50 ไปใช้รักษาแผลถลอก พบว่ามีอัตราการหายของแผลดี และได้ผลดีกับแผลถลอก และแผลไม่ติดเชื้อ มีผู้นาขี้ผึ้งว่านหางจระเข้ไปใช้กับแผลเรื้อรัง และสิว นอกจากนี้ มีการนามาใช้รักษาแผลภายนอกได้ผลโดยใช้ร่วมกับ Vitamin E และยังมีรายงานผลดีของว่านหางจระเข้ ต่อมาอีกหลายฉบับ ซึ่งสันนิษฐานว่าการที่แผลหายเร็วขึ้นเนื่องจากว่านหางจระเข้ช่วยเร่งให้เซลล์ผิวหนัง แบ่งตัวเพื่อซ่อมแซมผิว การใช้ว่านหางจระเข้ในผู้ป่วยผ่าตัดจมูก พบว่าทาให้แผลหายเร็วขึ้น และมีการนาไปใช้ รักษาแผลที่เกิดจากการรักษาสิวด้วยวิธีดูดหัวสิว สารสกัดด้วยน้าเมื่อนาไปใช้หลังการผ่าตัดฟัน พบว่าช่วยให้ แผลสมานเร็วขึ้น การทดลองในผู้ป่วย 31 คนซึ่งเป็นแผลในปาก พบว่าผู้ป่วยร้อยละ 77 มีความรู้สึกปวด น้อยลง ในขณะที่ผู้ป่วยร้อยละ 80 มีแผลดีขึ้น และการนาว่านหางจระเข้ไปรักษาแผลที่เกิดจากการถอนฟัน พบว่าลดการเกิดกระดูกเบ้าฟันอักเสบ (alveolar osteitis) ได้มากกว่ากลุ่มที่ได้รับยา clindamycin มีการนา วุ้นว่านหางจระเข้มารักษาแผล โดยศึกษาในผู้ป่วย 60 คน ที่มีบาดแผลจากอุบัติเหตุ พบว่าช่วยทาให้แผลหาย สมบูรณ์ได้รวดเร็วกว่าการใช้ยาโพวิโดน ไอโอดีน นอกจากนี้ยังมีการนาวุ้นว่านหางจระเข้สด (เตรียมและใช้ ภายใน 6 ชั่วโมง) มาทดสอบในผู้ป่วยจิตเวช 4 คน พบว่าช่วยลดขนาดของแผลลง อย่างไรก็ตามมีผู้รายงานถึงการนาว่านหางจระเข้มาใช้รักษาแผลแล้วไม่ได้ผลอยู่บ้าง เช่น การ ทดลองในหญิง 21 คน พบว่าแผลหายช้า การนาว่านหางจระเข้ผสม silicon dioxide และ allantoin ไป รักษาแผลในปากพบว่าไม่ได้ผล การนาสาร acemannan จากว่านหางจระเข้ไปใช้รักษาแผลกดทับในผู้ป่วย 30 ราย พบว่าได้ผลไม่ดีไปกว่าน้าเกลือ ด้วยฤทธิ์สมานแผล จึงมีผู้นาว่านหางจระเข้ไปใช้รักษาแผลอักเสบต่างๆ ได้แก่ แผลที่เกิดจากการแพ้ sodium lauryl sulfate ในผงซักฟอก พบว่าได้ผลดี หรือใช้ผสมในน้ายาทาความสะอาดผิวหนังโดยใช้สาร สกัดว่านหางจระเข้ผสมน้ายาล้างแผล และน้ายารักษาแผลในปาก เป็นต้น 5.3 ฤทธิ์รักษาแผลไหม้จากการฉายรังสี มีผู้นาว่านหางจระเข้มาใช้รักษาอาการผิวหนังอักเสบจากการได้รับรังสี พบว่าอาการดีขึ้น โดยใช้ ในรูปของวุ้นว่านหางจระเข้ ใบสดทั้งใบ ขี้ผึ้ง และอีมัลชั่น ซึ่งพบว่าใบสดให้ผลดีกว่าขี้ผึ้ง ในการศึกษาถึง กระบวนการออกฤทธิ์พบว่าเกี่ยวข้องกับการจับอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นหลังฉายแสง แล้วมีผลทาให้เกิดการ ทาลายเนื้อเยื่อลดลง อย่างไรก็ตาม มีการศึกษาบางอันให้ผลขัดแย้ง เช่น การศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมซึ่ง รักษาด้วยการฉายรังสี 225 คน พบว่ากลุ่มที่ใช้วุ้นว่านหางจระเข้ ความเข้มข้นร้อยละ 95 ไม่ได้ผล ผู้ป่วยยังมี อาการคันและปวดแสบปวดร้อน ซึ่งตรงกับผลการทดสอบในผู้ป่วยมะเร็ง 108 คนในอีกการศึกษาหนึ่ง นอกจากผลในการรักษาแผลอักเสบที่เกิดจากรังสีแล้ว ได้มีผู้สนใจศึกษาผลในการป้องกันการทาลาย ผิวหนังจากแสง UV มีผู้ทดลองในผู้ป่วย 12 ราย ว่าช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น มีการพัฒนาตารับวุ้นว่านหางจระเข้ ซึ่งใช้ป้องกันผิวหนังถูกแผดเผาจากแสงแดด พบว่าได้ผลดี และทาให้ผิวมีความชุ่มชื้น จึงได้มีการจดสิทธิบัตร
  • 5. อีมัลชั่นที่มีส่วนผสมของน้าว่านหางจระเข้ที่ไม่มี aloin (ในสัดส่วนร้อยละ 60-70) พบว่าสามารถรักษาอาการ ผิวหนังอักเสบจากแสงแดดได้ แต่มีบางรายงานแสดงให้เห็นว่าการใช้เจลว่านหางจระเข้ในการรักษาและ ป้องกันอาการอักเสบแดงเนื่องจาก UVB นั้นไม่ได้ผล 5.4 ฤทธิ์รักษาแผลไหม้จากความร้อน มีการศึกษาในผู้ป่วย 38 ราย โดยใช้วุ้นสด พบว่าได้ผลร้อยละ 95 เมื่อเปรียบเทียบกับยาทาแผล ป้องกันการติดเชื้อ silver sulfadiazine ซึ่งได้ผลเพียงร้อยละ 83 โดยที่มีอาการไม่พึงประสงค์บ้างเล็กน้อย คือ รู้สึกระคายเคือง มีการศึกษาผลของครีมว่านหางจระเข้ในผู้ป่วยนอกที่เป็นแผลไหม้ระดับ 2 พบว่าเมื่อ เปรียบเทียบกับ silver sulfadiazine แล้วกลุ่มที่ได้รับว่านหางจระเข้มีแผลหายเร็วกว่ากลุ่มที่ใช้ silver sulfadiazine โดยแผลหายในเวลา 13 ± 2.41 วัน และ 16.15 ± 1.98 วัน ตามลาดับ จากรายงาน ผลการรักษาในคนไข้ 27 ราย เปรียบเทียบกับ vaseline พบว่าหายในเวลา 11.89 วัน และ 18.19 วัน ตามลาดับ แม้ว่าก่อนหน้านี้จะมีผู้เชื่อว่า แผลที่หายอาจเป็นผลเนื่องจากส่วนผสมที่เป็นน้ามันในครีมทาให้แผล ไม่แห้งจึงหายเร็วก็ตาม แต่ผลการทดลองข้างต้นก็น่าจะยืนยันประสิทธิภาพของครีมวุ้นว่านหางจระเข้ได้ นอกจากวุ้นว่านหางจระเข้แล้ว ยังมีผู้พัฒนาตารับขี้ผึ้งว่านหางจระเข้ใช้สาหรับรักษาแผลไหม้เนื่องจากน้าร้อน ลวกอีกด้วย 5.5 ฤทธิ์ลดการอักเสบ มีการนาว่านหางจระเข้ไปใช้ประโยชน์เพื่อลดการอักเสบในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ครีมทารักษาโรค ผิวหนังและแผลอักเสบ ผสมกับ lidocaine (ยาชา) และ diphenhydramine (ยาแก้แพ้) ใช้รักษาการอักเสบ ของผิวหนังและเนื้อเยื่ออ่อน ผสมกับ glycyrrhetinic acid รักษาการอักเสบ และตารับยาผสมกับสมุนไพร อื่น การทาเป็นโลชั่นโดยมีส่วนประกอบของวุ้นว่านหางจระเข้ วิตามินซี วิตามินอี และไฮโดรคอร์ติโซน อะซิ เตรต ใช้ทาผิวหนังหลังโกนขนหรือผม พบว่าสามารถลดการอักเสบและการระคายเคืองต่อผิวหนังได้ มีการนา ว่านหางจระเข้ไปรักษาสิว รักษาอาการอักเสบของระบบทางเดินหายใจ รักษาอาการไอโดยฉีดสารสกัดว่าน หางจระเข้เข้าหลอดลมเป็นเวลา 10 วัน พบว่าได้ผลดี และมีผู้เตรียมตารับยาหยดแก้ไอจากโพลีแซคคาไรค์ รักษาอาการอักเสบเนื่องจากหิมะกัด รักษาอาการโรคปอดอักเสบเรื้อรัง รักษาเหงือกอักเสบ รักษาอาการ บาดเจ็บของนักกรีฑา นอกจากนี้ยังมีการศึกษาในผู้ป่วยลาไส้ใหญ่อักเสบจานวน 42 คน โดยให้ผู้ป่วย 30 คน รับประทานน้าว่านหางจระเข้ 100 มิลลิลิตร วันละ 2 ครั้ง นาน 4 สัปดาห์ และผู้ป่วยอีก 14 คน ให้ รับประทานยาหลอก พบว่าผู้ป่วยที่ได้รับน้าว่านหางจระเข้ จะมีลาไส้ใหญ่อักเสบลดลงโดยแผลดูดีขึ้นและมี ขนาดเล็กลง เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้ยาหลอก แสดงว่าน้าว่านหางจระเข้ช่วยลดการอักเสบของลาไส้ใหญ่ ได้ ในปัจจุบันมีการจดสิทธิบัตรยาแคปซูลที่มีส่วนประกอบของสารสกัดน้ามะละกอ น้าหม่อน น้า ว่านหางจระเข้ ที่ทาให้แห้ง ขนาด 200, 100 และ 50 มิลลิกรัมตามลาดับ อาหารเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของ ว่านหางจระเข้ร้อยละ 85-90 และ วิตามินซีร้อยละ 3-10 ใช้ต้านการอักเสบ และตารับยาเม็ดที่มี ส่วนประกอบของสาร b-sitosterol (ที่ได้จากวุ้นว่านหางจระเข้) ขนาด 10 มิลลิกรัม สาหรับรักษาโรคไขข้อ อักเสบ 5.6 ฤทธิ์เป็นยาระบาย มีการจดสิทธิบัตรยาที่มีส่วนผสมของสารสกัดมะขามแขก 30-40 ส่วน สารสกัดว่านหางจระเข้ 30-40 ส่วน สารสกัดหมาก 20-30 ส่วน oryzanol 3-4 ส่วน และcalcium lactate 20-30 ส่วน ใช้ป้องกัน
  • 6. และรักษาอาการท้องผูกโดยไม่มีผลข้างเคียง เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของสารสกัด chamomile ว่านหางจระเข้ และชะเอมเทศมีฤทธิ์เป็นยาระบาย ยาระบายชนิดแคปซูลที่มีส่วนประกอบของ catechin จากชาร้อยละ 0.5-7 aloin จากว่านหางจระเข้ร้อยละ 0.2-5 และไขมันจากม้า (horse fats) ร้อยละ 88-93 เพื่อใช้เป็นยา ระบายโดยไม่มีอาการปวดท้องและท้องเสีย โดยสารที่พบจากยางที่เปลือก คือ anthraquinone, barbaloin, และ aloin และ ตารับยาที่ประกอบด้วยสารสกัดจากว่านหางจระเข้ ได้แก่ สาร sennosides A และ B มี ฤทธิ์เป็นยาระบาย ข้อควรระวังในการใช้ว่านหางจระเข้ ว่านหางจระเข้ มีข้อควรระวังในการใช้ แม้จะเป็นพืชที่ไม่มีอันตราย ใช้นามารับประทาน หรือใช้เป็นยารักษา แผลภายนอก รวมไปถึงการประทินผิว แต่กระนั้นก็ยังมีข้อห้ามและข้อควรระมัดระวังที่ผู้ใช้ควรรู้เพื่อความ ปลอดภัยของตัวเองด้วย โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยดังต่อไปนี้ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ระวังการดื่มน้าว่านหางจระเข้ที่นาเอาส่วนของวุ้นมาปั่น การดื่มจะไปกระตุ้นตับอ่อนให้มี การสร้างสารอินซูลินเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ผู้ป่วยยังมีการใช้ยารักษาที่เป็นอินซูลินตามแพทย์สั่งอยู่ด้วยแล้ว การดื่ม น้าว่านหางจระเข้เพิ่มเข้าไป เปรียบเสมือนกับเติมอินซูลินในร่างกายให้เพิ่มมากขึ้น ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ ช็อกตามมาได้ ทางที่ดีควรปรึกษาแพทย์เพื่อความมั่นใจเสียก่อน ผู้ป่วยโรคลาไส้อักเสบและโรคกระเพาะ กรณีที่ผู้ป่วยเป็นโรคเหล่านี้มาก่อนแล้ว การกินวุ้นของว่านหางจระเข้ ที่มีความสด จาเป็นจะต้องพิถีพิถันในการทาความสะอาด เพื่อกาจัดเอายางสีเหลืองออกให้หมด ซึ่งวุ้นที่ล้างทา ความสะอาดเป็นอย่างดีแล้ว จะไม่มีรสขมของยาง การล้างทาความสะอาดไม่ดี รับประทานเอายางเข้าไปด้วย จะไปกระตุ้นให้การอักเสบรุนแรงขึ้น ซึ่งบางรายมีอาการอาเจียนและท้องเสียอย่างหนัก ผู้ป่วยที่มีเป็นโรคริดสีดวง หญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร จะต้องระมัดระวังไม่นาเอายางที่สกัดได้จากยางของ ว่านหางจระเข้มารับประทาน แม้จะมีสรรพคุณเป็นยา แต่เป็นข้อห้ามอย่างเด็ดขาดในกลุ่มผู้ป่วยเหล่านี้ ซึ่งยัง รวมไปถึงหญิงตั้งครรภ์ หญิงที่อยู่ในช่วงให้นมบุตร เพราะจะทาให้อาการรุนแรงขึ้น การตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการ แท้งลูก และอาจทาให้ลูกน้อยที่ดื่มนมแม่เกิดภาวะท้องเสียได้ ประโยชน์และสรรพคุณทางยาของว่านหางจระเข้นั้นถือได้ว่ามีมากมายจนน่าเหลือเชื่อ ดังนั้นจึงไม่ต้องแปลก ใจกันเลยว่าทาไมปัจจุบันนี้จึงได้มีการนาเอาส่วนต่างๆ ของว่านหางจระเข้มาเป็นส่วนผสมของเครื่องสาอาง และยารักษาโรคกันอย่างแพร่หลาย อีกทั้งแต่ละผลิตภัณฑ์ที่ใช้ว่านหางจระเข้เป็นส่วนผสมก็มักได้รับความนิยม และยังเป็นที่น่าเชื่อถือของผู้บริโภคไม่น้อย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง และรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ 2. วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงการที่จะพัฒนา 3. ออกแบบการพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และ ตัวแปลภาษา โปรแกรม และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้ 4. กาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลงมือทาโครงงานและสรุปรายงาน โครงงาน โดยกาหนดช่วงเวลาอย่างกว้างๆ 5. การพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทาการพัฒนาส่วนย่อย ๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบ ไว้แล้ว นาผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบ ไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
  • 7. เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาและปรับปรุง แก้ไข เพื่อให้ การวางแผนและดาเนินการ ท าโครงงานเป็นไปอย่างเหมาะสมเป็นขั้นตอน ตั้งแต่ เริ่มต้นจนสิ้นสุด เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1) เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2) เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น www.google.com 3) โปรแกรมที่ใช้ในการนาเสนอ Microsoft Office Power Point งบประมาณ 1.ค่าแผ่นซีดี 10 บาท 2.ค่ากล่องซีดี 30 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน ปุณยวีร์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล นนทณัฐ 3 จัดทาโครงร่างงาน นนทณัฐ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปุณยวีร์ 5 ปรับปรุงทดสอบ ปุณยวีร์ 6 การทาเอกสารรายงาน นนทณัฐ 7 ประเมินผลงาน นนทณัฐ 8 นาเสนอโครงงาน ปุณยวีร์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ เพื่อให้ทุกคนได้รับรู้ประโยชน์ของว่านหางจระเข้และนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ที่ถูกต้อง หรือในกรณี ฉุกเฉินก็อาจจะนาความรู้ที่ได้จากการจัดทาโครงงานนี้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์อย่างสูงสุด บางทีอาจจะทาไป ศึกษาต่อในแลปทาให้เกิดรายได้จากการศึกษาข้อมูล ส่วนประกอบของว่านหางจระเข้และนาไปสร้างเป็น ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพใหม่ๆ เพื่อนามาใช้งานได้จริงและสร้างรายได้ สถานที่ดาเนินการ ห้องสมุดกลาง โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ - กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
  • 8. แหล่งอ้างอิง “ว่านหางจระเข้ ” . 2558. [ ระบบออนไลน์] .แหล่งที่มา http://medplant.mahidol.ac.th/pubhealth/alovera.html .( 10 กุมภาพันธ์ 2561) “ว่านหางจระเข้ กับประโยชน์และสรรพคุณทางยา” . 2558. [ ระบบออนไลน์] .แหล่งที่มา https://www.honestdocs.co/aloe-vera-benefits .( 28 มกราคม 2561)