SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ผลกระทบสุดแย่ ที่เกิดเพราะแค่คุณเครียด
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว โชติกา แก้วหล้า เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ผู้ทาโครงงาน
นางสาว โชติกา แก้วหล้า เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 2
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ผลกระทบสุดแย่ ที่เกิดเพราะแค่คุณเครียด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
The effects of stress will affect what we do.
ประเภทโครงงานโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวโชติกา แก้วหล้า ชั้น ม.6/2 เลขที่ 15
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงานภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ความเครียดเป็นเรื่องปกติตามธรรมชาติ เป็นตัวกระตุ้นให้ประสิทธิภาพการทางานหรือการเรียนดีขึ้นแต่เมื่อ
เครียดมากเกินไปและเครียดเรื้อรังจะกลายเป็นโรคเครียด (Chronic stress) จะส่งผลให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพจิตและ
เกิดโรคทางร่างกายตามมาได้อีกด้วย เพราะเมื่อมีความเครียดสูง สมองจะสั่งให้ต่อมหมวกไตหลั่งฮอร์โมนในกลุ่ม
ที่เรียกว่า ฮอร์โมนความเครียด (Stress hormones) เช่น แอดรีนาลิน (Adrenalin)และ คอร์ติซอล (Cortisol) ซึ่งนา
ไปสู่การเกร็งตัวของกล้ามเนื้อต่างๆ หัวใจเต้นเร็วขึ้นและเพิ่มความดันโลหิตให้สูงขึ้น จึงเป็นสาเหตุของโรคปวด
กล้ามเนื้อ ปวดคอ ปวดหลังเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจดังนั้นความเครียดและความวิตกกังวลเป็น
สิ่งที่ส่งผลเสียต่อร่างกายไม่ว่าจะในระยะสั้นหรือระยะยาว และสิ่งที่ควรจะทาคือการลดภาวะความเครียดขอตนเอง
ด้วยวิธีต่างๆ เช่น การยิ้ม การออกกาลังกาย การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การดมกลิ่นของน้ามันหอมระเหย
เป็นต้น ซึ่งวิธีเหล่านี้เป็นวิธีที่ดีต่อสุขภาพ เพราะถ้าหากเราใช้วิธีผิดๆ อย่างเช่นการพึ่งแอลกอฮอล์ ยาเสพติด หรือ
การรับประทานอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ ก็อาจจะทาให้สุขภาพของเรายิ่งแย่กว่าเดิม อาจจะทาให้ล้มหมอนนอนเสื่อ
กันได้ง่ายๆ
3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้อ่านทราบถึงผลกระทบที่เราจะได้รับหลังเกิดการความเครียด
2.เพื่อให้ทราบว่าความเครียดเกิดจากอะไร
ขอบเขตโครงงาน
ความเครียดเกิดขึ้นได้อย่างไร จะส่งผลกระทบอะไรกับผู้ที่เกิดความเครียดบ้าง และวิธีการคลายจาก
ความเครียด
หลักการและทฤษฎี
ความเครียด เป็นภาวะของอารมณ์หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ และทาให้รู้สึก
ถูกกดดัน ไม่สบายใจ วุ่นวายใจ กลัว วิตกกังวล ตลอดจนถูกบีบคั้น เมื่อบุคคลรับรู้หรือประเมินว่าปัญหาเหล่านั้น
เป็นสิ่งที่คุกคามจิตใจ หรืออาจจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย จะส่งผลให้สภาวะสมดุลของร่างกายและจิตใจเสีย
ไป
ผลกระทบที่เกิดจากความเครียด
คอแห้ง
หลายคนคงเคยรู้สึกว่าทาไมเวลาที่เครียดถึงรู้สึกว่าคอแห้งเหลือเกิน เวลาจะพูดคุยกับใครก็รู้สึกว่าเสียงตัวเอง
แหบแห้ง ที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะเมื่อร่างกายของเราเกิดความเครียด กล้ามเนื้อบริเวณลาคอของเราจะเกิดการหดตัว
และน้าบริเวณนี้จะโยกย้ายไปอยู่ที่ส่วนอื่นของร่างกาย ทาให้คอของเราแห้งและกลืนอาหารหรือน้าได้ลาบาก
นั่นเอง
ปฏิกิริยาต่อตับ
เมื่อเกิดความเครียด ตับของเราก็จะทางานผิดปกติทาให้ต่อมหมวกไตผลิตฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol)
หรือที่เรียกว่าฮอร์โมนความเครียด โดยเจ้าฮอร์โมนชนิดนี้เป็นต้นเหตุทาให้ตับผลิตน้าตาลกลูโคสมากขึ้น ซึ่ง
น้าตาลชนิดนี้ให้พลังงานสูง แม้ว่าจะสามารถดูดซึมกลับได้โดยไม่เกิดความเสียหายใด ๆ ในร่างกาย แต่มันก็เพิ่ม
ความเสี่ยงโรคเบาหวานที่จะเกิดภาวะน้าตาลในเลือดสูงเช่นเดียวกันค่ะ
ปฏิกิริยาต่อผิวหนัง
ความเครียดทาให้เราเหงื่อออกได้แม้จะอยู่ในอากาศที่เย็นก็ตาม นอกจากนี้ยังส่งผลให้แก้มของเราแดงระเรื่อ
อีกด้วย เพราะฉะนั้นอย่าเพิ่งคิดว่าคนที่หน้าแดงนั้นเป็นเพราะเขาเขินนะคะ แต่อาจจะเป็นเพราะเขากาลังเครียดอยู่ก็
ได้ซึ่งอาการเหล่านี้เกิดจากระบบไหลเวียนของเลือดที่เปลี่ยนแปลงไป ทาให้เลือดถูกผลักดันไปที่กล้ามเนื้อมาก
จนเกินไป และถ้าหากเกิดความเครียดเรื้อรังก็จะส่งผลทาให้ผิวพรรณหมองคล้าและแก่ก่อนวัยได้นอกจากนี้
4
การศึกษาของศูนย์การแพทย์แห่งมหาวิทยาลัยแมรีแลนด์ยังพบอีกว่า ความเครียดและความวิตกกังวลอาจนามาสู่
โรคผิวหนังอักเสบได้อีกด้วย
ม้ามทางานอย่างหนัก
ความวิตกกังวลไม่ได้แค่เพียงส่งผลต่อสมองและหัวใจเท่านั้น แต่มันยังส่งผลเสียต่อการทางานของม้ามและ
เซลล์เม็ดเลือดของเรา ซึ่งความเครียดจะส่งผลให้ม้ามหลั่งเซลล์เม็ดเลือดแดงและเซลล์เม็ดเลือดขาวออกมาใน
จานวนมหาศาล และทาให้ระบบไหลเวียนของเลือดเพิ่มขึ้นถึง 300 - 400%
กล้ามเนื้อตึง
เมื่อเราเริ่มรู้สึกวิตกกังวล กล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจะเริ่มตึงเครียดด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะกลุ่ม
กล้ามเนื้อที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งถ้าหากเกิดความเครียดเรื้อรังก็อาจส่งผลทาให้เกิดอาการปวดหัว ไหล่แข็งและปวดคอ
หรือแม้แต่อาการปวดไมเกรน นอกจากนี้ผู้ที่มีความเครียดเรื้อรังก็มีความเสี่ยงที่จะเกิดความผิดปกติอย่างเรื้อรังของ
กล้ามเนื้อได้
นอกจากนี้ความเครียดและความวิตกกังวลถ้าหากเกิดขึ้นเรื้อรัง ก็สามารถทาให้เกิดปัญหาสุขภาพที่อันตราย
มากขึ้นได้โดยส่งผลต่อร่างกายดังนี้
ต่อหัวใจ
ความเครียดหรือความวิตกกังวลที่เรื้อรังส่งผลให้เกิดความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดมากขึ้น อัน
เนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของอัตราการเต้นของหัวใจ รวมถึงโรคความดันโลหิตและระดับฮอร์โมน
ความเครียดที่มีมากเกินไป โดยสมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศสหรัฐอเมริกาได้เปิดเผยอีกว่า ความเครียดในระยะยาว
เป็นสาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นผิดจังหวะ และความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของโรคหัวใจวายและโรคหลอด
เลือดได้
ต่อปอด
การศึกษาจากมหาวิทยาลัยเซาเปาโลแสดงให้เห็นว่ามีความเชื่อมโยงระหว่างความเครียดและวิตกกังวลกับ
โรคหอบหืด และผู้ที่เป็นโรคหอบหืดก็มีแนวโน้มที่จะพบกับอาการหวาดผวาได้อีกด้วย ซึ่งในการศึกษาพบว่าความ
เชื่อมโยงของความเครียดที่เรื้อรังและโรคหอบหืดมีผลกระทบอยู่ในอัตราส่วนที่สมดุลกัน นอกจากนี้ยังทาให้การ
ทางานของระบบทางเดินหายใจอ่อนแอลงด้วยค่ะ
ต่อสมอง
สมองเป็นอวัยวะที่จะได้รับผลกระทบจากความเครียดเรื้อรังมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านจิตใจหรือ
กายภาพ ซึ่งความเครียดเรื้อรังสามารถส่งผลต่อความจาไม่ว่าจะเป็นระยะสั้นหรือระยะยาว รวมทั้งการผลิตสารเคมี
ในสมอง นอกจากนี้ความเครียดระยะยาวยังทาให้ระบบประสาททางานหนักขึ้น จนร่างกายเกิดความเมื่อยล้าและ
อาการปวดต่าง ๆ ได้และความเครียดที่เรื้อรังยังกระทบต่อการนอนหลับทาให้ร่างกายได้รับการพักผ่อนไม่เพียงพอ
ต่อระบบภูมิคุ้มกัน
ความเครียดไม่เพียงส่งผลต่ออวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย แต่ยังส่งผลกระทบต่อระบบภูมิคุ้มกันด้วยเช่นกัน โดย
การศึกษาพบว่าเมื่อคนเราเครียด ก็มีแนวโน้มว่าจะเป็นไข้หวัดได้ง่ายขึ้น และเสี่ยงต่อการติดเชื้อและการอักเสบได้
มากขึ้น
5
ต่อระบบย่อยอาหาร
อาการท้องผูก อาหารไม่ย่อย หรือภาวะเครียดลงกระเพาะ อาการเหล่านี้เป็นผลกระทบมาจากความเครียด ซึ่ง
อาจส่งผลร้ายแรงในระยะยาวต่อระบบลาไส้ได้ทาให้การดูดซึมและการย่อยอาหารไม่ดีเท่าที่ควร และเป็นสาเหตุ
ภาวะลาไส้แปรปรวนได้
วิธีการคายเครียด
-การผ่อนคลายทางร่างกาย เช่น การหายใจลึกๆ การออกกาลังกาย การนวด การพักผ่อน การรับประทานอาหาร
การอาบน้าอุ่น
-การลดความตึงเครียดทางจิตใจ เช่น การสร้างอารมณ์ขัน การคิดในทางบวกการดูภาพยนตร์ การฟังเพลง การ
หัวเราะ การหายใจลึกๆ การทาสมาธิ การใช้เทคนิคความเงียบ เพื่อหยุดความคิดของตัวเอง ในเรื่องที่ทาให้เครียด
สาหรับการฝึกคลายเครียดนั้น เมื่อเริ่มรู้สึกว่ามีอาการเครียดในระดับน้อยๆควรฝึกบ่อยๆ วันละ 2-3 ครั้ง และควร
ฝึกทุกวัน ต่อเมื่อฝึกจนชานาญแล้วจึงลดลงเหลือเพียงวันละ 1 ครั้งก็พอ หรืออาจฝึกเฉพาะเมื่อรู้สึกเครียดเท่านั้นก็
ได้แต่อยากแนะนาให้ฝึกทุกวัน โดยเฉพาะก่อนนอนจะช่วยให้จิตใจสงบ และนอนหลับสบายขึ้น

More Related Content

What's hot

โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม Krookhuean Moonwan
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์benjawan punyawarin
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาmind jirapan
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1Nuttida Meepo
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมeyecosmomo
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Panpreeya Kawturn
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project thunniti
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07 PPhumin
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2bank2808
 
2561 project 9999
2561 project    99992561 project    9999
2561 project 9999dalika
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project THXB
 

What's hot (20)

โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Suwadee22
Suwadee22Suwadee22
Suwadee22
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Sasawat
SasawatSasawat
Sasawat
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
608 23 projet
608 23 projet608 23 projet
608 23 projet
 
Project com 47
Project com 47Project com 47
Project com 47
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07
 
Work1 polram 32
Work1 polram 32Work1 polram 32
Work1 polram 32
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Project1607
Project1607Project1607
Project1607
 
At1
At1At1
At1
 
2561 project 9999
2561 project    99992561 project    9999
2561 project 9999
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

Similar to 2560 project

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานyhrtdf hdhtht
 
โครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาโครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาPinchanok Muangping
 
มหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมามหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมาmind jirapan
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียวNu Beer Yrc
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 projectMayureept
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)rungthiwa_
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1achirayaRchi
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน mintra_duangsamorn
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์KridsadaAonkam
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานManop Amphonyothin
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 

Similar to 2560 project (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาโครงงานกัวซา
โครงงานกัวซา
 
มหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมามหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมา
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(ภาษาวิบัติ)
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Alopecia
AlopeciaAlopecia
Alopecia
 
2560 project -3
2560 project -32560 project -3
2560 project -3
 
Titirat 43
Titirat  43Titirat  43
Titirat 43
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2560 project -
2560 project -2560 project -
2560 project -
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ผลกระทบสุดแย่ ที่เกิดเพราะแค่คุณเครียด ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว โชติกา แก้วหล้า เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ผู้ทาโครงงาน นางสาว โชติกา แก้วหล้า เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 2 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ผลกระทบสุดแย่ ที่เกิดเพราะแค่คุณเครียด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) The effects of stress will affect what we do. ประเภทโครงงานโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวโชติกา แก้วหล้า ชั้น ม.6/2 เลขที่ 15 ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงานภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ความเครียดเป็นเรื่องปกติตามธรรมชาติ เป็นตัวกระตุ้นให้ประสิทธิภาพการทางานหรือการเรียนดีขึ้นแต่เมื่อ เครียดมากเกินไปและเครียดเรื้อรังจะกลายเป็นโรคเครียด (Chronic stress) จะส่งผลให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพจิตและ เกิดโรคทางร่างกายตามมาได้อีกด้วย เพราะเมื่อมีความเครียดสูง สมองจะสั่งให้ต่อมหมวกไตหลั่งฮอร์โมนในกลุ่ม ที่เรียกว่า ฮอร์โมนความเครียด (Stress hormones) เช่น แอดรีนาลิน (Adrenalin)และ คอร์ติซอล (Cortisol) ซึ่งนา ไปสู่การเกร็งตัวของกล้ามเนื้อต่างๆ หัวใจเต้นเร็วขึ้นและเพิ่มความดันโลหิตให้สูงขึ้น จึงเป็นสาเหตุของโรคปวด กล้ามเนื้อ ปวดคอ ปวดหลังเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจดังนั้นความเครียดและความวิตกกังวลเป็น สิ่งที่ส่งผลเสียต่อร่างกายไม่ว่าจะในระยะสั้นหรือระยะยาว และสิ่งที่ควรจะทาคือการลดภาวะความเครียดขอตนเอง ด้วยวิธีต่างๆ เช่น การยิ้ม การออกกาลังกาย การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การดมกลิ่นของน้ามันหอมระเหย เป็นต้น ซึ่งวิธีเหล่านี้เป็นวิธีที่ดีต่อสุขภาพ เพราะถ้าหากเราใช้วิธีผิดๆ อย่างเช่นการพึ่งแอลกอฮอล์ ยาเสพติด หรือ การรับประทานอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ ก็อาจจะทาให้สุขภาพของเรายิ่งแย่กว่าเดิม อาจจะทาให้ล้มหมอนนอนเสื่อ กันได้ง่ายๆ
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้อ่านทราบถึงผลกระทบที่เราจะได้รับหลังเกิดการความเครียด 2.เพื่อให้ทราบว่าความเครียดเกิดจากอะไร ขอบเขตโครงงาน ความเครียดเกิดขึ้นได้อย่างไร จะส่งผลกระทบอะไรกับผู้ที่เกิดความเครียดบ้าง และวิธีการคลายจาก ความเครียด หลักการและทฤษฎี ความเครียด เป็นภาวะของอารมณ์หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ และทาให้รู้สึก ถูกกดดัน ไม่สบายใจ วุ่นวายใจ กลัว วิตกกังวล ตลอดจนถูกบีบคั้น เมื่อบุคคลรับรู้หรือประเมินว่าปัญหาเหล่านั้น เป็นสิ่งที่คุกคามจิตใจ หรืออาจจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย จะส่งผลให้สภาวะสมดุลของร่างกายและจิตใจเสีย ไป ผลกระทบที่เกิดจากความเครียด คอแห้ง หลายคนคงเคยรู้สึกว่าทาไมเวลาที่เครียดถึงรู้สึกว่าคอแห้งเหลือเกิน เวลาจะพูดคุยกับใครก็รู้สึกว่าเสียงตัวเอง แหบแห้ง ที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะเมื่อร่างกายของเราเกิดความเครียด กล้ามเนื้อบริเวณลาคอของเราจะเกิดการหดตัว และน้าบริเวณนี้จะโยกย้ายไปอยู่ที่ส่วนอื่นของร่างกาย ทาให้คอของเราแห้งและกลืนอาหารหรือน้าได้ลาบาก นั่นเอง ปฏิกิริยาต่อตับ เมื่อเกิดความเครียด ตับของเราก็จะทางานผิดปกติทาให้ต่อมหมวกไตผลิตฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol) หรือที่เรียกว่าฮอร์โมนความเครียด โดยเจ้าฮอร์โมนชนิดนี้เป็นต้นเหตุทาให้ตับผลิตน้าตาลกลูโคสมากขึ้น ซึ่ง น้าตาลชนิดนี้ให้พลังงานสูง แม้ว่าจะสามารถดูดซึมกลับได้โดยไม่เกิดความเสียหายใด ๆ ในร่างกาย แต่มันก็เพิ่ม ความเสี่ยงโรคเบาหวานที่จะเกิดภาวะน้าตาลในเลือดสูงเช่นเดียวกันค่ะ ปฏิกิริยาต่อผิวหนัง ความเครียดทาให้เราเหงื่อออกได้แม้จะอยู่ในอากาศที่เย็นก็ตาม นอกจากนี้ยังส่งผลให้แก้มของเราแดงระเรื่อ อีกด้วย เพราะฉะนั้นอย่าเพิ่งคิดว่าคนที่หน้าแดงนั้นเป็นเพราะเขาเขินนะคะ แต่อาจจะเป็นเพราะเขากาลังเครียดอยู่ก็ ได้ซึ่งอาการเหล่านี้เกิดจากระบบไหลเวียนของเลือดที่เปลี่ยนแปลงไป ทาให้เลือดถูกผลักดันไปที่กล้ามเนื้อมาก จนเกินไป และถ้าหากเกิดความเครียดเรื้อรังก็จะส่งผลทาให้ผิวพรรณหมองคล้าและแก่ก่อนวัยได้นอกจากนี้
  • 4. 4 การศึกษาของศูนย์การแพทย์แห่งมหาวิทยาลัยแมรีแลนด์ยังพบอีกว่า ความเครียดและความวิตกกังวลอาจนามาสู่ โรคผิวหนังอักเสบได้อีกด้วย ม้ามทางานอย่างหนัก ความวิตกกังวลไม่ได้แค่เพียงส่งผลต่อสมองและหัวใจเท่านั้น แต่มันยังส่งผลเสียต่อการทางานของม้ามและ เซลล์เม็ดเลือดของเรา ซึ่งความเครียดจะส่งผลให้ม้ามหลั่งเซลล์เม็ดเลือดแดงและเซลล์เม็ดเลือดขาวออกมาใน จานวนมหาศาล และทาให้ระบบไหลเวียนของเลือดเพิ่มขึ้นถึง 300 - 400% กล้ามเนื้อตึง เมื่อเราเริ่มรู้สึกวิตกกังวล กล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจะเริ่มตึงเครียดด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะกลุ่ม กล้ามเนื้อที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งถ้าหากเกิดความเครียดเรื้อรังก็อาจส่งผลทาให้เกิดอาการปวดหัว ไหล่แข็งและปวดคอ หรือแม้แต่อาการปวดไมเกรน นอกจากนี้ผู้ที่มีความเครียดเรื้อรังก็มีความเสี่ยงที่จะเกิดความผิดปกติอย่างเรื้อรังของ กล้ามเนื้อได้ นอกจากนี้ความเครียดและความวิตกกังวลถ้าหากเกิดขึ้นเรื้อรัง ก็สามารถทาให้เกิดปัญหาสุขภาพที่อันตราย มากขึ้นได้โดยส่งผลต่อร่างกายดังนี้ ต่อหัวใจ ความเครียดหรือความวิตกกังวลที่เรื้อรังส่งผลให้เกิดความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดมากขึ้น อัน เนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของอัตราการเต้นของหัวใจ รวมถึงโรคความดันโลหิตและระดับฮอร์โมน ความเครียดที่มีมากเกินไป โดยสมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศสหรัฐอเมริกาได้เปิดเผยอีกว่า ความเครียดในระยะยาว เป็นสาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นผิดจังหวะ และความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของโรคหัวใจวายและโรคหลอด เลือดได้ ต่อปอด การศึกษาจากมหาวิทยาลัยเซาเปาโลแสดงให้เห็นว่ามีความเชื่อมโยงระหว่างความเครียดและวิตกกังวลกับ โรคหอบหืด และผู้ที่เป็นโรคหอบหืดก็มีแนวโน้มที่จะพบกับอาการหวาดผวาได้อีกด้วย ซึ่งในการศึกษาพบว่าความ เชื่อมโยงของความเครียดที่เรื้อรังและโรคหอบหืดมีผลกระทบอยู่ในอัตราส่วนที่สมดุลกัน นอกจากนี้ยังทาให้การ ทางานของระบบทางเดินหายใจอ่อนแอลงด้วยค่ะ ต่อสมอง สมองเป็นอวัยวะที่จะได้รับผลกระทบจากความเครียดเรื้อรังมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านจิตใจหรือ กายภาพ ซึ่งความเครียดเรื้อรังสามารถส่งผลต่อความจาไม่ว่าจะเป็นระยะสั้นหรือระยะยาว รวมทั้งการผลิตสารเคมี ในสมอง นอกจากนี้ความเครียดระยะยาวยังทาให้ระบบประสาททางานหนักขึ้น จนร่างกายเกิดความเมื่อยล้าและ อาการปวดต่าง ๆ ได้และความเครียดที่เรื้อรังยังกระทบต่อการนอนหลับทาให้ร่างกายได้รับการพักผ่อนไม่เพียงพอ ต่อระบบภูมิคุ้มกัน ความเครียดไม่เพียงส่งผลต่ออวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย แต่ยังส่งผลกระทบต่อระบบภูมิคุ้มกันด้วยเช่นกัน โดย การศึกษาพบว่าเมื่อคนเราเครียด ก็มีแนวโน้มว่าจะเป็นไข้หวัดได้ง่ายขึ้น และเสี่ยงต่อการติดเชื้อและการอักเสบได้ มากขึ้น
  • 5. 5 ต่อระบบย่อยอาหาร อาการท้องผูก อาหารไม่ย่อย หรือภาวะเครียดลงกระเพาะ อาการเหล่านี้เป็นผลกระทบมาจากความเครียด ซึ่ง อาจส่งผลร้ายแรงในระยะยาวต่อระบบลาไส้ได้ทาให้การดูดซึมและการย่อยอาหารไม่ดีเท่าที่ควร และเป็นสาเหตุ ภาวะลาไส้แปรปรวนได้ วิธีการคายเครียด -การผ่อนคลายทางร่างกาย เช่น การหายใจลึกๆ การออกกาลังกาย การนวด การพักผ่อน การรับประทานอาหาร การอาบน้าอุ่น -การลดความตึงเครียดทางจิตใจ เช่น การสร้างอารมณ์ขัน การคิดในทางบวกการดูภาพยนตร์ การฟังเพลง การ หัวเราะ การหายใจลึกๆ การทาสมาธิ การใช้เทคนิคความเงียบ เพื่อหยุดความคิดของตัวเอง ในเรื่องที่ทาให้เครียด สาหรับการฝึกคลายเครียดนั้น เมื่อเริ่มรู้สึกว่ามีอาการเครียดในระดับน้อยๆควรฝึกบ่อยๆ วันละ 2-3 ครั้ง และควร ฝึกทุกวัน ต่อเมื่อฝึกจนชานาญแล้วจึงลดลงเหลือเพียงวันละ 1 ครั้งก็พอ หรืออาจฝึกเฉพาะเมื่อรู้สึกเครียดเท่านั้นก็ ได้แต่อยากแนะนาให้ฝึกทุกวัน โดยเฉพาะก่อนนอนจะช่วยให้จิตใจสงบ และนอนหลับสบายขึ้น