SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
รายงานถอดความ จากเวที อุดมธรรม พลังปัญญา
ภายใต้ โครงการสร้างนักปราชญ์จากนักวิชาการ
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี
ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
นักสร้างแบรนด์ ผู้อำนวยการโครงการ พอแล้วดี The Creator
จัดโดย
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี
ผู้นำเสนอ
ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
นักสร้างแบรนด์ ผู้อำนวยการโครงการ พอแล้วดี The Creator
รายงานถอดความ จากเวที อุดมธรรม พลังปัญญา โครงการสร้างนักปราชญ์จากนักวิชาการ
ผู้ถอดความ: ญาณิศา ยางงาม
บรรณาธิการ: ยุวดี คาดการณ์ไกล
ทีมบรรณาธิการ: ณัฐธิดา เย็นบำรุง กฤตภัค พรหมมานุวัติ
อำนวยการผลิตโดย: สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
สนับสนุนโดย: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ปีที่เผยแพร่: เมษายน 2565
www.klangpanya.in.th
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
220/104 เลควิวคอนโด อาคารสุพีเรียร์ เมืองทองธานี ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 โทร. 084-112-0632
1
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี1
ดร.ศิริกุล เลากัยกุล
หนุ่ยเป็นคนที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับแบรนด์ แต่ว่าหนุ่ยไม่ทำ Product Branding ทำแต่ Cooperate
Branding แล้วก็ชอบงาน Cooperate Branding มาก จนกระทั่งไปเรียนปริญญาเอกเกี่ยวกับ HR ในด้าน
Competency เพราะเชื่อว่าในการสร้างแบรนด์ขององค์กร “คน” สำคัญที่สุด พอทำ Cooperate Branding สัก
พักก็มาเจอว่าการที่จะทำให้องค์กรมีอนาคตไม่มีอะไรสำคัญมากกว่าการที่องค์กรนั้นต้องช่วยเข้ามาสร้างความ
ยั่งยืนให้กับสังคม ทำให้ปรับตัวเองเข้ามาเรียนรู้ในเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตัวเองมีจุดพลิกชีวิตตอนที่
สมัยเป็น MD ให้กับบริษัทฝรั่ง เพิ่มแต่ตัวเลขกำไรสูงขึ้นทุกปี แต่ไม่เคยเพิ่มคนหรืออะไรทั้งสิ้นเลย เราทำเยอะมาก
จนรู้สึกว่าไม่ไหว รู้สึกว่ามีคนที่ Suffer กับเราด้วย คือครอบครัว คนที่อยู่บ้าน กลับมาสามี กับลูก เราก็อาละวาดใส่
ทุกคน สักพักรู้สึกว่าไม่ยุติธรรมกับใครเลย คิดว่าจะต้องเปลี่ยนชีวิตตัวเอง แต่คนที่เป็นลูกจ้างมา 20 ปี พอจะ
เปลี่ยนชีวิตมันต้องหาอะไรเป็นแกนในการสร้างความกล้า เราก็ไปเจอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทำให้รู้สึกว่า ถ้า
เรากล้าที่พูดคำว่าพอ สิ่งที่เราได้มาคืออิสรภาพ ทำให้เรา Move on เลยลุกขึ้นมาศึกษาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ซึ่งก็ต้องบอกว่าศึกษาในมุมของเราเอง ในบริบทของตนเอง พอทำงานมาถึงจุดหนึ่งเราก็น่าจะมาชวนกับน้อง ๆ ทำ
“โครงการพอแล้วดี”
เราเบื่อที่พูดถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทุกคนจะสนใจเกษตรกรรม ไปที่ชาวนา ชาวไร่ซึ่งไม่จริง ทุกคน
ใช้ได้หมด เลยมาทำโครงการพอแล้วดี เจาะจงกลุ่มเป้าหมายไปที่นักธุรกิจที่เป็นพวก Lifestyle อย่างเดียว เช่น
พวก Fashion Designer เจ้าของโฮสเทล พวกที่คนรุ่นใหม่ คนไม่นึกว่าความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ความ
พอดี มาประยุกต์ใช้ในธุรกิจได้อย่างไร เพราะฉะนั้น โครงการพอแล้วดี เป็นโครงกากรพัฒนานักธุรกิจรุ่นใหม่ อยู่
บนหลักการ 2 เรื่อง คือ Sufficiency Economy และ Creative Economy เพราะว่า Sufficiency อย่างเดียวโดย
ที่ไม่มี Creative ทำธุรกิจไปก็จะไม่มีมูลค่าเพิ่ม โครงการนี้ทำมาปีที่ 7 แล้ว ต้องบอกว่าแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงมันไม่ใช่แค่ให้ปัญญากับนักธุรกิจ แต่ให้ “สติ” กับนักธุรกิจ ปัญญาทุกคนมีมากแล้ว แต่ปัญญาที่ไม่มีสติคือ
ปัญญาที่ทำลายสังคมและสิ่งแวดล้อม
1 ถอดความจากงาน “อุดมธรรม พลังปัญญา” ระดมความคิด ยกระดับการเรียนรู้ของนักวิชาการเพื่อพัฒนาชีวิตและปัญญา จัดโดยกระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ร่วมกับสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะ
(สสส.) ในวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2565 ณ ห้องแถลงข่าวชั้น 1 อาคารพระจอมเกล้า กระทรวง อว.
2
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ต้องแบ่งเป็น 2 คำ คือ คำแรก คือ เศรษฐกิจพอเพียง เพราะว่าในหลวงไม่ได้
ต้องการให้เราลืมว่าปลายทางคือเรื่องเศรษฐกิจ ท่านไม่ได้ให้เราพึ่งแต่ตนเอง จนไม่พึ่งพาใคร ปลายทางคือ
ขบวนการชุดความคิดที่จะนำพาทุกคนไปสู่เศรษฐกิจที่ความพอมี พอกิน แต่ว่าความพอเพียงไม่เท่ากัน เพราะว่า
ความพอเพียงของแต่ละคนก็ขึ้นอยู่กับสถานะของแต่ละคน เศรษฐกิจที่ดีคือทำให้ทุกคนมีพอตามสถานะของตัวเอง
เรากำลังพูดเรื่องธุรกิจ กำลังพูดเรื่องเศรษฐกิจอยู่ ท่านบอกว่า คำนี้เป็นคำใหม่ไม่มีในตำราฝรั่ง พระองค์ท่านคิด
ขึ้นมา เพราะฉะนั้น ไม่ต้องแสวงหาว่าฝรั่งพูดอย่างไร เพราะเราเอาชอบของใครเป็นเทียบกับฝรั่ง ไม่ต้องเทียบฝรั่ง
พระราชดำรัสอันนี้ทำให้เรากล้าจะหยิบมาใช้ เวลาเห็นอะไรของในหลวงเราไม่ค่อยกล้าแตะ แต่ท่านบอกเองเลยว่า
ใครสนใจเอาไปใช้ และเอาไปขยายผลต่อได้เลย เพราะเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญา ไม่ใช่ทฤษฎี ไม่ใช่สมการ นี่
เป็นจุดเริ่มต้นของการนำเอาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
คำว่า Sufficiency Economy ไม่ใช่ Self Sufficiency ไม่ได้บอกว่าทุกคนต้องพึ่งตัวเองให้ได้ และไม่ได้
ต้องพึ่งใคร ถ้าเมื่อไรเราไม่ต้องพึ่งใคร ไม่มีใครในระบบความคิด สังคมมันเกิดขึ้นไม่ได้ การพึ่งพาตัวเองก่อนเป็นแค่
จุดเริ่มต้น พอหลังจากที่ดูแลตัวคุณได้ คุณก็จะดูแลคนอื่นได้ สิ่งที่พระองค์ท่านไม่ได้ให้เราเจียมตัว ต้องกลับลงสู่ดิน
อยู่กับอะไรง่าย ๆ ไม่ใช่แนวคิดแบบนั้น ตอนที่พระองค์ท่านคิดขึ้นมา สมัยนั้นมีคำว่า NICs ทุกคนต้องลุกมาเป็น
เสือของเอเชีย ท่านบอกว่าจะเป็นเสือไม่สำคัญหรอก สำคัญที่พสกนิกรของเรามีกินมีใช้หรือไม่ จะเป็นเสือคนที่
ผงาดมามีกี่ชีวิต หน้าที่ของพระองค์ท่านไม่ได้มีหน้าที่ทำให้เป็นเสือ แต่มีหน้าที่ทำให้ทุกคนสามารถที่จะอยู่ได้อย่าง
พอเพียง พอสมควร
ปรัชญาในการที่เราจะถึงจุดนั้นต้องทำอย่างไรบ้าง ทุกคนต้องท่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ คือ 3 + 2
เงื่อนไข ห่วงแรก คือ การรู้จักตน ประมาณตน ยากที่สุดเลย คนที่รู้จักคนอื่นเราถือว่าเป็นคนมี Wisdom มาก แต่
เมื่อไรที่เรารู้จักตนเอง นี่คือ Beyond Wisdom มันคือ Enlightenment เราจะรู้เลยว่าชีวิตเราต้องดำรงอยู่อย่างไร
ห่วงแรกคือการการรู้จักตน ประมาณตน ทำไมต้องการรู้จักตนก่อน เพราะจะได้ประมาณตนได้ถูก พูดง่าย ๆ ถ้าเรา
เป็นนักมวย อย่าชกข้ามรุ่น เดิมพันสูงแต่อาจตายหรือพิการได้ เราสู้ในวงที่เราเหมาะ อาจไปได้ไกลกว่า อันนี้คือ
การรู้จักตน ประมาณตน
ห่วงที่สอง คือ การมีเหตุมีผล การมีเหตุมีผลมีความหมายมากกว่ามีเหตุผล การมีเหตุมีผล คือเรื่องที่เรา
ต้องรู้ว่าถ้าเราอยากได้ผลแบบนี้ ต้องทำด้วยเหตุแบบไหน การมีเหตุมีผลเป็นเรื่องที่สำคัญ ไม่ใช่แค่มีเหตุผลอย่าง
เดียว คนทะเลาะกันเพราะทุกคนก็มีเหตุผล แต่ถ้ามาคุยกันว่าเหตุแบบนี้จะทำให้เกิดผลแบบไหน จะทำให้นำพาเรา
ไปได้ไกลกว่า พวก OKR หรือ Objective Key Result ก็เป็นเรื่องของมีเหตุมีผลทั้งสิ้น อยากได้ Result แบบนี้ก็
ต้องไปตั้ง Key Activity แบบไหน
3
ห่วงที่สาม คือ การมีภูมิคุ้มกัน มีความสำคัญมากในยุคนี้ ไม่ว่าเราจะแข็งแรงขนาดไหนการมีภูมิคุ้มกัน มี
ความสำคัญ คำว่า ภูมิคุ้มกัน คำนี้ก็บอกในตัวอยู่แล้วว่าเวลาเราทำอะไรก็ตามต่อให้เรารู้จักตน ต่อให้เรามีเหตุมีผล
เราก็ต้องมีการทำนายอนาคตเหมือนกันว่ามันจะเกิดอะไรขึ้น เพราะฉะนั้น มันจะมีแค่ แผน A ไม่มี แผน B มัน
เป็นไปไม่ได้ ต่อให้กลยุทธ์ดีขนาดไหน ก็ต้องมีแผนรองรับ พระองค์ท่านไม่ให้ห้ามว่าอย่าไปกู้เงินแบงค์แต่ต้อง
สำคัญคือ ต้องมั่นใจว่าผ่อนได้ อย่าทำอะไรไม่คิดหน้าคิดหลัง
สามเรื่องนี้เป็นเรื่อง Micro เพราะขึ้นอยู่กับตัวเรา แต่พระองค์ท่านมองเห็นไกล จะมองเห็นแต่ตัวเราโดย
ไม่เข้าใจเงื่อนไขความรู้ไม่ได้ ถ้ามาใน เรื่องเงื่อนไขความรอบรู้ ทุกคนต้องยอมรับว่าเป็นปัจจัยสำคัญ ความรู้ก็
เหมือนคำขวัญของทุกโรงเรียน มหาวิทยาลัย “ความรู้คืออำนาจ” ความรู้เป็นอำนาจของคนที่ไม่มีคำว่าคุณธรรม
มันทำลายได้หมด เวลาเราเห็นธุรกิจที่ทำนู้นนี่ เพราะเขาทำได้ เขามองว่ายุติธรรม ไม่ได้กดขี่ใคร หลายเรื่อง
คุณธรรมต่อให้คุณทำได้ แต่ความเข้าใจใน Humanity มันจะเป็นสติให้กับนักธุรกิจว่าต่อให้ทำได้ก็ไม่ควรทำ
ยกตัวอย่าง เจ๊จงหมูทอดชอบมาปรึกษาว่ามีคนมาชวนไปเปิดร้านข้าวแกงในย่านพัฒน์พงษ์เพราะคนทำงานเยอะ
ถ้าไปนี่ต้องจะขายดีมากแน่เลย เพราะใคร ๆ ก็อยากกินหมูทอดเจ๊จง ตอนนั้นเราตอบไปว่า ดีเลยถ้าไปเปิด แต่ถ้า
เราคิดถึงพ่อค้าแม่ค้าเดิมที่เขาอยู่แล้วเค้าจะทำไงกับชีวิต ถ้าเจ๊จงไม่ได้ไป เจ๊จงก็ไม่ได้เดือดร้อน แค่มีช่องทางรวย
มากขึ้นแค่นั้น แต่ถ้าเราไปเปิดที่อื่นที่ไม่มีคู่แข่ง ไม่มีใครทำอยู่แล้ว อาจจะไม่รวยเท่าที่ไปเปิดที่พัฒน์พงษ์ แต่มันจะ
ไม่ทำลายโอกาสของคนอื่น ไม่ทำลายชีวิตใคร เจ๊จงเห็นด้วย และในความเป็นแม่ค้าของเขาไม่ต้องมีปริญญาก็มี
สามัญสำนึกได้ เจ๊จงเลยไม่ไป ในเรื่องคุณธรรมสมัยนี้ สิ่งที่ AI ไม่มีคือคุณธรรม ศีลธรรมของกลุ่มทุน (Moral
Capital) เป็นอะไรที่หายากสุด มหาวิทยาลัยก็ไม่ค่อยสอน เราก็จะสอนภายใต้ Paradigm ของ Insert for
Excellent ทำอย่างไรจึงจะดีที่สุด นำโดยแนวคิดของ Harvard จนวันนี้ Harvard ยังต้องบอกเลยว่าแนวคิดนี้ได้
สร้างนักธุรกิจที่เกือบจะเป็นอสูรกาย ลุกขึ้นมากอบโกยอย่างเดียวเลย เพราะไม่ได้เห็นอะไรนอกจากไปสูงสุด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : ทางสายกลาง
ถ้ากลับมาในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนุ่ยว่าความดีงามของชุดความคิดอันนี้อยู่ที่ทางสายกลาง แปลว่า
รู้จักตนเองก็ให้พอประมาณ รู้จักตนเองแบบที่ไม่มีทางสายกลางก็จะนำพาไปสู่การหลงตัวเอง สุดโต่ง คำว่าทางสาย
กลางคือ wisdom ของโลกในซีกของเรา เพราะทางสายกลางนี่คือพุทธ
จริง ๆ แล้วปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Underline Concept คือเรื่องของทางสายกลาง เรื่องพวกนี้ไม่ใช่
เรื่องง่าย การจะนำพาตนเองไปสู่จุดพอเพียง พอประมาณได้ ต้องมีความเพียร ถึงได้มีเรื่องพระมหาชนกที่สอนให้
ได้เรียนรู้ หนุ่ยคิดว่าความเพียรเป็นชุดความคิดที่มหัศจรรย์ เพราะว่าเวลาเอาไปใช้ทำให้เราเจอความสมดุลของ
การพัฒนา แปลว่าธุรกิจก็โต สังคมก็โต ในวันนี้สังคมไม่โตคุณก็อยู่ไม่ได้ โควิดสอนเลยว่าต่อให้ใหญ่โตขนาดไหน
4
ลูกค้าไม่มีเงินจ่ายก็คือไม่มี ถ้าคุณไม่ช่วยให้เข้าหลุดจากหล่มตรงนี้ได้ คุณตั้งใจจะขายของอย่างเดียว ไม่ตั้งใจช่วย
ให้เขาดีขึ้น จะขายอาหารเขาโดยไม่สนใจสุขภาพให้เรามีแรง มีรายได้ ปลายทางคุณก็ไม่รอด ภาษาใหม่ ๆ เขา
เรียกว่า CSV (Creating Shared Value) ว่ามันไม่ใช่แค่เรา มันจะต้องมีคนรอบข้างด้วย
หนุ่ยชอบเรื่อง Moderation มาก คือทางสายกลาง มันเป็นคำว่าที่พูดง่าย เวลาคุยกับเด็ก ๆ ต้องถามว่า
สายกลางแปลว่าอะไร อย่าให้ตึงหรือหย่อนเกินไป เวลาเล่นดนตรีให้ออกมามีเสียงดี มันก็ต้องพอดีพอเหมาะนี่คือ
ความหมายของคำว่าพอประมาณหรือความพอดี ทีนี้เวลาพูดถึงทางสายกลาง เป็นแนวคิดที่เหมือนพูดง่าย ความ
สมดุลไม่ได้แปลว่าซ้ายต้องเท่ากับขวา ถ้าคิดแค่นั้นจะดำรงชีวิตอยู่บนความเปลี่ยนแปลงของโลกไม่ได้ ต้องเข้าใจว่า
คำว่าทางสายกลางมีมิติที่ลึกมาก ไม่ใช่แค่หาจุดตรงไหนและขีดเส้น ซ้ายเท่ากับขวา ลูกศิษย์หลวงพ่อชา สุภัทโท
วัดหนองป่าพง เวลามีพระเดินจงกลม บางครั้งท่าบอกว่าไปซ้ายหน่อยสิ บางวันบอกเขยิบมาขวา ทำไมไม่เท่ากัน
หลวงพ่อบอกว่าก็สองคนนั้นตัวมันเบี้ยวไม่เท่ากัน เพราะฉะนั้น เราต้องรู้มันไม่ได้เป็นอะไรที่เป็นสมการ ขนาด
ปราชญ์อย่างเพลโต ยังบอกเลยว่า Man of Moderation is a Man of Wisdom ใครก็ตามที่ดำรงชีวิตอยู่ที่รู้ว่า
ทางสายกลางคืออะไรคือคนที่เรียกว่าปราดเปรื่องที่สุดในจักรวาล คนรวยที่สั่งคาเวียร์ได้ จนกินเป็นถ้วยได้ ก็ต้อง
กลับมาถามตัวเองว่าโง่หรือฉลาด เพราะต่อให้มี The Best Thing In Life ก็ต้อง Take it Moderately เรา
อยากจะ Enjoy Life ไปเรื่อย ๆ เราต้องไม่กินอะไรตะกละ กินแค่ไหนถึงจะอิ่ม จะของดีไม่ดี เราต้องรู้ว่ากินแค่อิ่ม
น่าจะพอ เพราะฉะนั้นแนวคิด ของทางทางสายกลาง ถ้าเราไปดูตาม dictionary มันคือการทำอะไรที่ไม่มากไป
น้อยไป เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการสิ่งสำคัญที่เป็นปัจจัยของปัญหาของทุกวันคือ คือ ความโลภ
SDG 12 ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ Sustainable, Responsible, Consumption กับ Responsible
Production มาจากการผลิตที่ไร้สติมาก ไม่รับผิดชอบ กับการบริโภคที่ไม่รับผิดชอบ มันมาจากเรื่องพวกนี้ คำว่า
ทางสายกลาง เราจะต้องกลับไปสอนลูกศิษย์ว่าจุดพอดีตรงไหน ก็แสนจะยากแล้ว เวลาหนุ่ยพูดเรื่องนี้ที่เมืองนอก
ฝรั่งจะถามเลยว่าเท่าไหร่ถึงจะพอดี บอกไม่ได้หรอก ต้องคิดเอง เหมือนกับไม่สามารถบอกได้ว่ากินแค่ไหนถึงจะอิ่ม
มีสติเอง ตั้งใจคิดจะรู้ว่าจุดที่หยุดอยู่ตรงไหน เพราะเราคนละคนกัน
เรื่องนี้เอาไปใช้ได้ตั้งแต่ระดับบุคคล ชุมชน องค์กร สังคม ประเทศ เวลาเอาไปใช้กับตัวบุคคลทำให้เกิด
Self-Reliance คนต้องพึ่งพาตนเองให้ได้ก่อน จะเอาแต่ปลาแต่ไม่ยอมเรียนรู้การตกปลา อันนี้คือสิ่งที่ทำให้การ
พัฒนาประเทศเราไปได้ล่าช้า ระดับบุคล เราจะได้มีสติมากขึ้น สติมาปัญญาเกิด ไปคิดเองว่ากลยุทธ์ที่จะเอาใช้หรือ
ประยุกต์กับตัวเอง เวลาเอาคำว่าเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้กับคำว่าธุรกิจจะทำให้เกิดคำว่า Inclusiveness ไม่ทิ้งใคร
ไม่ข้างหลัง เวลาเอามาใช้กับสังคม ประเทศชาติทำให้เกิดคำว่า Sustainable Development คือการพัฒนาอย่าง
ยั่งยืน เพราะฉะนั้น หนุ่ยไม่ได้พูดเอง UN เป็นคนพูด UN บอกว่าถ้าอยากไปถึงการพัฒนาอย่างยั่งยืน ต้องมาเรียนรู้
เรื่อง Sufficiency ในซีกโลกตะวันออกของเรามี 2 ประเทศ UN ที่ได้รับการยอมรับคือ Sufficiency Economy
ของประเทศไทย กับเรื่อง GNH ของภูฏาน เพราะมันเป็น Index ในการวัด ไม่ใช่แค่วัด GDP อย่างเดียว เราควรจะ
ภาคภูมิใจ
5
เรื่องนี้ไม่ได้มีแต่ในประเทศไทย ในประเทศที่ก้าวหน้าสุด เช่น พวกแสกนดิเนเวีย แนวคิดความพอเพียง
พอประมาณ เขามีในชาติเขาทั้งนั้น เพราะฉะนั้นอย่าไปกลัวเรื่องนี้จะทำให้เราล้าหลังใคร ถ้าเราไปดู เมือง
โคเปนเฮเกน (Copenhagen) เขามี Eco Pass อะไรที่ Advance สุดของโลก แต่คนก็ยังรู้สึกว่าเขาก็ยังขี่จักรยาน
เขายังเคารพสิ่งแวดล้อม ไม่ได้บ้าไปเทคโนโลยี ความคิดเหล่านี้มีในหลายประเทศ เพราะฉะนั้น เราต้องช่วยกันทำ
ให้เรื่องนี้เกิดอย่างเป็นระบบ
ภาพที่ 1 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ที่มา: ศิริกุล เลากัยกุล (2565)
เศรษฐกิจพอเพียงกับธุรกิจ
แล้วเศรษฐกิจพอเพียงมันจะเกี่ยวอะไรกับธุรกิจ โครงการพอแล้วดี การรู้จักตนประมาณตน งานสร้าง
แบรนด์ที่ตนเองทำอยู่ การทำแบรนด์มันมีต้นน้ำ กลางน้ำ และก็ปลายน้ำ ต้นน้ำคือคนหา DNA ของแบรนด์ กลาง
น้ำ บริษัท HR เอา DNA มาทำเป็น Cooperate Culture ปลายน้ำ คือ พวกงานสื่อสารการประชาสัมพันธ์ หนุ่ย
เป็นคนทำแบรนด์ต้นน้ำ
การรู้จักตน คือการทำให้ลูกค้า ให้องค์กรรู้ว่า Core Value เขาอยู่ตรงไหน DNA เขาเป็นอย่างไร การรู้จัก
ตนคือการทำ SWOT ไม่เคยมีการทำ Planning ครั้งไหนที่ไม่เริ่มต้นด้วยการ SWOT คุณต้องรู้ว่า Strengths,
Weaknesses, Opportunities, and Threats อยู่ตรงไหน แล้วมาประกอบให้พอดีกับตัวเอง บางทีขนาดบริษัท
ใหญ่ทำ SWOT ทำเสร็จแล้วยังมีคำถามเลยว่ามีข้อไหนที่เอามาใช้จริงบ้าง ไม่เห็นจะผูกกันเป็นเรื่องราวเลย ดังนั้น
การรู้จักตน ประมาณตน แบบพื้นฐานสุด คือการทำ SWOT แบบยากสุด คือ การทำ Brand Model
6
การมีเหตุมีผล ไม่ว่าจะเป็น Strategic Planning ต่าง ๆ แต่ในสมัยนี้ที่เหนือกว่า Strategic Planning
คือ Impact Measurement เวลาที่เราบอกว่าต้องวัด Impact หากบอกว่าวัดการมีเหตุมีผล ทุกคนก็ไม่เข้าใจ แต่
ถ้าบอกว่ามันคือการวัด Footprint ทุกคนจะเข้าใจ ทุกอย่างที่ธุรกิจทำมันมี Footprint หมด เวลาไปพูดที่เมือง
นอกใช้คำว่า Karma Marketing คือ กรรม ฝรั่งจะได้รู้ว่ากรรม ทำแบบนี้ก็ต้องได้แบบนี้ ทำอย่างไรจึงได้ Market
shared สูงสุด วันนี้เมื่อเราได้ Market Shared สูงสุด ช่วยกลับมาพิจารณาด้วยว่า Stakeholder เป็นอย่างไร
สังคม พนักงาน ผู้บริโภค เป็นอย่างไร เพราะว่าเราอยู่ในสิ่งแวดล้อมเดียวกัน ทรัพยากรไม่เหลือแล้ว เพราะฉะนั้น
ทุกคนต้องตระหนักเรื่องของความยั่งยืน ทั้งหมดมันเกี่ยวกับ Impact Measurement
ภูมิคุ้มกัน เรื่องที่ง่ายสุดคือ Risk Management ทำ Planning แล้ว Risk อยู่ตรงไหน มีการบริการจัดการ
หรือไม่ โควิดที่เกิดขึ้นบริษัทที่ Suffer สุดคือบริษัทที่ไม่มี Risk Management SME ที่ Suffer ทำมาหากินแบบไม่
เคย Saving ลงทุนแบบเงินต่อเงินเลย โควิดสอนแล้วว่าการอยู่โดยไม่มีภูมิคุ้มกัน มันอยู่ไม่ได้ เวลาทำธุรกิจ
นอกจาก Risk Management ภูมิคุ้มกันที่สำคัญที่สุด คือ ความรักที่ Stakeholder ให้กับแบรนด์ เราชื่นชมองค์กร
รักองค์กรนี้ เช่น เวลาเรามีแบรนด์ที่ชื่อเสียงดีและคนรักจำนวนมาก เขาอยู่ในมาตราพุด เวลามีเรื่องอากาศเสีย ไม่
มีใครชี้ไปที่องค์กรนั้นเลย คนไม่คิดว่าบริษัทนี้ทำ เพราะเขามีสิ่งที่พิสูจน์ให้ stakeholder เห็นว่าเขาไม่ทำ การ
ป้องกันเขาดี ไม่อย่างนั้นจะไม่มี index ที่จะชี้วัดความยิ่งใหญ่ของแบรนด์ คือ แบรนด์ไหนที่คนรัก ชื่นชมที่สุด หาก
มองจากตัวเราเองคนที่มีเพื่อนเยอะภูมิคุ้มกันสูง และยิ่งถ้าเพื่อนรักมากนี่ยิ่งสามารถทำอะไรได้มากกว่าคนที่ไม่มี
ใคร เพราะฉะนั้นนี่คือสิ่งที่ตีความออกมาเวลาที่นำไปทำธุรกิจ
ความรอบรู้ ถ้าสมัยนี้ คือ Lifelong Learning ถ้าเป็นคำโบราณก็ Learning Organization เรื่องของ
ธรรมาภิบาล คำเหล่านี้อยู่ในตำราฝรั่งหมด แต่มีใครที่มาสร้างชุดความคิดเหล่านี้ดีเท่าในหลวงของเรา เพราะฉะนั้น
ตรงนี้เป็น Innovative Thinking ที่ทุกคนควรให้ค่า เพราะว่าจริง ๆ แล้ว ทั้งหมดคือ System Thinking เราคิดถึง
สิ่งที่เกิดรอบข้าง ทุกอย่างเชื่อมโยงกันหมด ไม่มีอะไรคิดเป็นจุด ๆ ได้ ไม่ถึงเราวันนี้ก็วันหน้า ขนาดโควิดวันนี้ยัง
มาถึงเราแล้ว เพราะไม่มีใครอยู่กับที่ ทุกอย่างเป็น Circular หมด เรื่อง Circular Economy นี่ประเทศไทยพูดมา
นานแล้ว แต่เราใช้คำว่า การเวียนว่ายตายเกิด และไปอยู่ในภพใหม่ที่ดีกว่า อันนี้คือความมหัศจรรย์ของปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
เวลาหนุ่ยทำเรื่องแบรนด์เนี่ย หนุ่ยให้ความสำคัญกับ “คน” ถามว่าทำไมต้องลุกขึ้นมาสร้างคน ถ้าเรา
คุ้นเคยกับแนวคิด 3P คือ Profit People Planet มันเป็น Sustainable Development การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
คือ การทำธุรกิจ สิ่งแรกที่จะต้องทำ คือหากำไร ถ้าไม่มีกำไรก็จะเป็นปัญหาสังคม แต่จะ Make Profit โดยไม่
คำนึงถึง People Planet ไม่ได้
Profit คือความสามารถในการแข่งขัน ประเทศชาติมียุคหนึ่งสนใจแต่เรื่องนี้ อาจารย์มหาวิทยาลัยมีหน้าที่
ไปเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน แล้วก็ค่อยมาเรื่องความยั่งยืน แนวคิดความสามารถในการแข่งขันมีทฤษฎีมากมาย
เพราะทุกคนอยากเป็นที่หนึ่งของโลก ในขณะที่เราพูดความยั่งยืน แนวคิดมีไม่กี่อย่าง มีเรื่อง CSR ,CSV Marketing
7
, Kama Marketing เราจะเปลี่ยนธุรกิจจาก Profit ไปที่ Planet มันต้องเปลี่ยนที่คน โดยเฉพาะผู้นำองค์กรให้
สนใจ Social Value ก่อน ถ้าเขาไม่สนใจ ไปพูดเรื่องนี้อย่างไร เคยถามบริษัทใหญ่ ๆ ที่บอกว่าองค์กรสนับสนุน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จริง ๆ แล้วแค่เปิดศูนย์เรียนรู้ ซึ่งไม่ใช่ ถ้าใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สิ่งนี้ต้องอยู่ใน
Business Planning การเปิดศูนย์เรียนรู้มันเป็น Accommodative มันไม่ใช่ CSR in process มันไม่เปลี่ยนแปลง
อะไรในองค์กร แค่สร้างภูมิคุ้มกันว่าคนจะไม่ด่าความใหญ่ของคุณว่าไม่ได้ทำอะไรเลย แต่คนในองค์กรก็ไม่ได้เรียนรู้
เพราะ CEO ไม่เอาด้วย ต้องให้ความสำคัญกับการสร้างคน ถ้าเราสร้างคนให้เข้าใจ Social Value คำว่า
Sufficiency Economy มันถึงจะเกิดขึ้นได้ เพราะทั้งหมดขึ้นอยู่กับคน
พระองค์ท่านบอกว่า ถ้าเราพอในความต้องการ มีความโลภน้อย เราก็จะเบียดเบียนคนอื่นน้อย ความโลภ
ไม่ได้แย่ โลภพอประมาณเป็นที่มาของการพัฒนา หลาย ๆ Innovation มาจากการอยากทำให้ดีขึ้น เร็วขึ้น มาก
ขึ้น แต่มันต้องมีจุดที่พอ ให้โอกาสคนอื่นหายใจ ให้โอกาสคนอื่นได้อยู่ได้บ้าง ถ้าเราไม่โลภมากเราอยู่ด้วยกันได้หมด
และก็เศรษฐกิจพอเพียงแบบที่พระองค์ท่านพูดเป็นทั้งเศรษฐกิจและความประพฤติ ถ้าเราเปลี่ยน Mindset เปลี่ยน
Approach ในการดำรงชีวิต ในการดำเนินธุรกิจ เราสามารถนำพาไปสู่เรื่องนี้ได้ทั้งสิ้น ท่านพุทธทาสบอกเลยว่าคน
ดีสำคัญกว่าทุกสิ่งและบอกด้วยว่าทุกคนคือคนเดียวกัน ท่านพูดมาก่อนที่เรารู้จักจาก ปีเตอร์เซงเก้ (Peter M.
Senge's) เราต้องเปลี่ยนแนวคิดในการสร้างคน เติมเต็ม อนาคตสังคม
จุดที่ทำให้หนุ่ยมาทำเรื่องนี้เป็นเรื่องราวเพราะลูกสาว เวลาพูดปัญหาขยะ ลูกหนุ่ยพูดว่าจะพูดทำไมเดี๋ยว
พ่อแม่ก็ตายแล้ว คนที่จะได้รับคือพวกเขา เพราะฉะนั้น เขาเริ่มเปลี่ยนแล้ว เมื่อไรรุ่นพ่อรุ่นแม่เมื่อไหร่จะแยกขยะ
ในวัยเราหกสิบกว่าก็อยู่อีกไม่นาน แต่ถ้าเราไม่เปลี่ยนแปลงสร้างคนตั้งแต่ตอนนี้ อนาคตก็จะอยู่ยาก เลยคิดว่า
น่าจะเป็นอะไรที่เอาปรับมาใช้
นอกจากเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยังนำเรื่อง 23 วิธีการทรงงานไปสอน (ภาพที่ 2) สามารถเอาไป
เขียนเป็นตำราเปิดมหาวิทยาลัยได้เลย ท่านบอกเราจะทำอะไรก็ตามจะต้องศึกษาอย่างเป็นระบบ ต้องระเบิดจาก
ข้างใน การแก้ปัญหาต้องแก้จากจุดเล็ก ๆ ก่อนและทำตามลำดับขั้นตอน พวกนี้เป็น System Thinking ทั้งนั้น จะ
แก้ปัญหาต้องเข้าใจสังคม ภูมิศาสตร์ เข้าใจบริบท ทำงานแบบองค์รวม คิดเป็น Holistic รู้ไว้เพื่อให้เร็วขึ้น ทำอย่าง
ประหยัด ทำให้ง่าย คนที่เก่งคือคนที่ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย การมีส่วนร่วม คือ มี Engagement ยึดประโยชน์
ส่วนรวม บริการจุดเดียว ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ ถ้าเราเรียนในยุคนี้คือ การเอาเรื่องการออกแบบที่เลียนแบบ
ธรรมชาติ อธรรมปราบอธรรม การปลูกป่าในใจคน ขาดทุนคือกำไร การพึ่งตนเอง พออยู่พอกิน เศรษฐกิจพอเพียง
ซื่อสัตย์สุจริต ทำงานอย่างมีความสุข ความเพียร และสุดท้ายคือรู้รักษาสามัคคี 23 วิธีการทรงงาน คือ สิ่งสำคัญที่
เราจะต้องใช้ในการพัฒนาคน นำมาเป็นตัวชี้วัดได้ว่า สิ่งที่ทำมาตอบโจทย์แค่ตัวเองหรือทำธุรกิจอย่างเกื้อกูล
8
ภาพที่ 2 แสดง 23 วิธีการทรงงานของรัชกาลที่ 9
ที่มา ศิริกุล เลากัยกุล
คำถาม – คำตอบ
คำถามที่ 1 แนวทางพอเพียงเป็นสิ่งที่ดี ที่นี้เราจะบอกคนที่ไม่รู้จักพอเพียงอย่างไร มีแนวทางอย่างไรให้คน
เหล่านั้นพอเพียง
คำตอบตอบ คนที่ไม่รู้จักพอ ไม่ควรเสียเวลาไปบอก เราควรจะบอกคนที่พร้อมจะเปลี่ยน คือเรามีเวลาไม่เยอะ
และไม่ได้เก่งกาจอะไร จะใช้เวลากับคนที่พร้อมจะเปลี่ยนมากกว่า แล้วหวังว่าพวกน้อง ๆ ที่ลุกขึ้นมาเป็นต้นแบบ
ให้คนที่ไม่รู้จักพอเข้าใจว่า ความสุข ความสมดุลคืออะไร หลาย ๆ คนต้องเรียนจากตัวอย่าง เวลาที่มันไม่พอดี มัน
ทุรนทุรายมันทุกข์ยากอย่างไร เวลาไปบอกใคร คนจะไม่ค่อยเชื่อ อย่าไปกินมาก เดี๋ยวจะปวดท้อง คนจะไม่ค่อย
9
เชื่อ ต้องให้เจอสักครั้งจะเข้าใจว่า การเลือกคิด เลือกกิน ไม่อิ่มเกินไป สำหรับตัวเองใช้เวลาช่วยคนที่พร้อมจะ
เปลี่ยนโดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำทางเขา เวลาเราไปพูดกับคนที่ Capitalist เยอะ ๆ ไม่ควรเสียเวลามานั่ง
ถกเถียง เพราะปรัชญาเป็นเรื่องของระบบความเชื่อ ถ้าไม่ได้เชื่อเรื่องเดียวกัน คงลำบาก ต้องเชื่อว่าชีวิตคนอื่นก็
สำคัญ ความพอเพียงทำให้ทุกครั้งที่เราจะทำอะไรมีคนอื่นอยู่ในความคิด หนุ่ยไม่ใช่คนที่ลุกขึ้นมาโปรโมทปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง โดยที่เรียกว่านึกไม่ออกว่าจะประยุกต์ใช้อย่างไร เวลาจะรับเด็กเข้ามาในโครงการไม่ได้ถามว่า
เขารู้จักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม่ แต่จะถามว่า ตั้งแต่ทำธุรกิจมาคิดว่าการแบ่งปันเกื้อกูลสำคัญขนาดไหน
ถ้าเขาบอกว่าสำคัญ ก็จะรู้แล้วว่าเขามีแนวคิดแบบนี้ และต้องการเครื่องมือ เราก็จะใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เป็นเสมือนเข็มทิศให้เขามากกว่า เพราะฉะนั้น ต้องเป็นคนที่มีปลายทางตรงกันก่อน
คำถามที่ 2 เรื่องความสัมพันธ์ของคนในการทำงาน อยากให้แนะนำเรื่องการบริหารคนในองค์กรและก็สามารถ
ไปปรับใช้กับอุดมศึกษาได้อย่างไร
คำตอบ ถ้าอาจารย์สนใจเรื่องการบริหารคนในองค์กร แนะนำให้ไปศึกษาทศพิธราชธรรม อันนั้นคือตำราของคน
เป็นผู้นำ แต่คิดง่าย ๆ แค่คิดว่าเขาก็เป็นคนเหมือนเรา และเลิกคิดว่าจะบริหารเขา คิดว่าจะบริการเขา อย่างไร
ดีกว่า ถ้าคิดว่าจะบริหารจะอยู่ในโหมดที่เรียกว่า ไม่มีใครอยากถูกบริหาร เขาก็เป็นคนเหมือนกัน อาจจะมีตำแหน่ง
สถานะที่แตกต่างกัน แต่เราต้องมี Empathy เข้าใจเขาว่าอะไรเป็นอย่างไร เราก็จะมีทางที่จะ Get Job Done โดย
ไม่ทำให้เขาเสีย Integrity ฉะนั้น คิดถึงความเป็นคนเยอะ ๆ มี Empathy เยอะ ๆ การบริหารคนก็จะใจถึงใจ
คำถามที่ 3 เมล็ดพันธุ์ในตัวคุณหนุ่ยที่มาถึงเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เรื่องพุทธธรรมก่อหวอดตั้งแต่เมื่อไร อายุ
ประมาณเท่าไร มีความเป็นมาอย่างไร
คำตอบ เกิดมาตอนไหนก็ตอบยากเหมือนกัน เพราะว่าไม่รู้ว่ามาตอนไหน แต่จุดที่ทำให้ศึกษาเรื่องนี้ส่วนหนึ่งเกิด
จากตอนเด็ก ๆ จำได้ว่า มีช่วงเวลาหนึ่งที่ทำให้รู้สึกว่าต้องมีเพื่อน คือเมื่อก่อน ตัวเองจะเป็นติดอันดับตลอด เป็น
เด็กโดดเด่น เป็นหัวหน้าห้อง และจำได้ว่าเราจะขยันเรียนมาก ไม่ค่อยยุ่งกับใครเอาแต่ตัวเอง จนวันหนึ่งเพื่อน ๆ
เล่นตี่จับ แต่เพื่อนไม่ให้เล่นด้วย เสียใจร้องไห้ ประมาณ ป.5 ป.6 คนอื่นเขาเดินกลับบ้านกับเพื่อน เรารู้สึกเลยว่า
การไม่มีใครมันทุกข์มาก หลังจากนั้นก็พยายามไปทำดี เล่น คลุกคลีกับเพื่อนมากขึ้น นี่ก็อาจจะเป็นจุดหนึ่งที่ทำให้
พูดได้ว่าภูมิคุ้มกันของชีวิตที่สำคัญคือการมีเพื่อน มีความรัก มีคนที่จะรู้สึกว่าเป็นพลังงานบวกรอบ ๆ เรา
คำถามที่ 4 ผมพยายามสื่อสารเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับเด็กรุ่นใหม่ กับลูก แต่เหมือนเขามีกำแพง
และด้วยสภาวะสังคมปัจจุบันเด็กจะอยู่กับเกม โลกส่วนตัว อย่างเรื่องภูมิคุ้มกันเป็นประเด็นใหญ่มาก คุณต้องมี
เพื่อน แต่ในทางกลับกัน เขาจะอยู่ในโลกของเกมและเขาก็รู้จักเพื่อนน้อยมาก จะทำอย่างไรให้เด็กเข้าใจ
10
คำตอบ เวลาเราจะสื่อสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง สิ่งแรกคือ ต้องไม่พูดคำว่า เศรษฐกิจพอเพียง ไม่พูดคำนี้เลย
โครงการของตัวเองถึงได้ชื่อ “พอแล้วดี” ถ้าชื่อโครงการพัฒนานักธุรกิจอย่างพอเพียง อาจจะไม่มีใครมา
เพราะฉะนั้น ต้องมีทางที่จะสื่อสาร และบางทีเวลาที่สอนลูกก็ต้องดูว่าอายุขนาดไหน มีกลเม็ดให้เขาได้คิด เช่น
บางทีมีลูกสองคนก็จะให้เขาเล่นกันว่าใครที่พูดว่าอิ่มก่อนคนนั้น Super Cool ไม่แข่งกันกินเยอะ การสอนลูก
สำคัญ เหตุผลที่หนุ่ยทำเรื่อง Cooperate Brand และไปต่อปริญญาเอกทางด้าน HR เพราะตอนแรกไปต่อปริญญา
เอกในด้าน Education เพราะรู้สึกว่าพอมีลูกและไปสร้าง Brand ให้คนทั้งโลก แต่สอนลูกไม่ได้ คงไม่ใช่ แต่ขอ
บอกว่าพวกอาจารย์ด้าน Education พูดตามตำราไม่หลุดกรอบ เรารู้สึกว่าไม่ไหวเลยเปลี่ยนมาด้าน
Competency แทน การสอนเด็กต้องมีเทคนิคการไปบอกลูกว่าอย่าเล่นเกมเยอะ แต่ไม่มีอะไรให้เขาทำ แล้วจะให้
เขาทำอะไร เราต้องค่อย ๆ อธิบาย ตอนวันเกิดลูกหนุ่ย ถามว่าอยากได้อะไร เขาบอกว่าอยากได้เกม เลยลองเล่าให้
เขาฟังว่า ถ้าเราซื้อเกมกับหนังสือนิทาน เราซื้อได้เกมเดียว เล่นคนเดียว แต่ถ้าซื้อหนังสือนิทาน แม่จะให้ 10 เล่ม
จะได้มาแข่งกันอ่าน พออ่านจบแล้วก็จะได้เอาไปแจกคนอื่น หนุ่ยว่าต้องมีกุศโลบายในการที่จะสอนเด็ก แต่เวลาที่
จะห้ามเขา แต่ไม่มี Solution ให้เขา หนุ่ยว่ามันไม่ช่วย เพราะฉะนั้นเวลา ห้ามเล่นเกมก็ชวนเขาไปเล่นฟุตบอล เรา
ก็ต้องชวนเขาไปแรก ๆ ก่อน พอเขาเริ่มมีเพื่อนก็เริ่มปล่อย เด็กติดเกมสมัยนี้มาจากพ่อแม่ที่ไม่มีเวลาให้ลูก ถ้าเรา
เองแบ่งเวลาให้พอเหมาะก็สามารถช่วยได้ ถ้าเลยเถิดไปแล้วจะแก้ยาก
คำถามที่ 5 จุดที่ตัดสินใจเปลี่ยนวิธีคิด เพราะว่าโดยธรรมชาติของนักธุรกิจคงยากที่จะเปลี่ยนจาก Profit มาสู่
เรื่องสังคม ที่ผ่านมาสังเกตเห็นคือใครที่หลงไปในอาณาจักรการพัฒนา Business ตัวเองก็มักจะตั้งเป้าให้
ได้มาก ซึ่งหลุดจากกับดักตรงนี้ยากมากเพราะธุรกิจต้องใช้เงินทำให้ใหญ่กว่าเดิม ด้วยแรงบีบจากกฎระเบียบ
ภาษี จะมาทำสิ่งที่ดูตอบแทนสังคมบ้าง โดยการทำ CSR แต่จริงสัมผัสในใจลึก ๆ การทุ่มงบกับการตอบแทน
สังคมมันไม่ได้เทียบกับจำนวน profit ที่รับมา อะไรที่เป็น Turning point ทางจิตวิญญาณว่าทำอย่างไรจึง
หลุดมาได้ พอหลุดมาก็สามารถ Sustain เรื่องที่เราจะทำในทิศทางใหม่ ให้อยู่ได้ต่อเนื่องจนปัจจุบัน ซึ่งนาน
พอสมควรซึ่งนานพอจะรักษาแนวทางใหม่
คำตอบ ในภาคธุรกิจจะเปลี่ยนแนวคิดจากพวกทุนนิยม (Capitalist) ไปสู่ Sufficiency ยาก ส่วนใหญ่จะเป็น
ลักษณะของ Volunteer เมื่อก่อนเราบอกว่า CSR นี่ต้อง Volunteer ไม่ได้บังคับ ใครอยากจะทำ และก็มีการทำดี
เอาหน้าก็มากมาย มีคำอยู่สองคำ คือ Social Contribution กับ Cooperate Social Responsibility
Social Contribution คือ การเอากำไรไปเจือจุนสังคม แต่บางทีกำไรไปเจือจุนอาจจะเป็นเงินที่สกปรก
ทั้งโลกเลยไม่เอาแบบนี้ ไม่ต้องมาล้างบาป ฉะนั้น กรุณารับผิดชอบตั้งแต่ต้นน้ำ คือการทำธุรกิจอย่างรับผิดชอบ
กำไรได้มาจะได้ไม่ต้องมาบริจาค ถึงได้มีคำว่า CSR ขึ้นมา เมื่อก่อนไม่ค่อยมีอะไรมาบังคับ เราโชคดีที่มีกลไกไม่ว่า
จะเป็น ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ แล้วทั้งโลกมันเปลี่ยน การให้ค่าของความสำเร็จในธุรกิจมันเปลี่ยน มันมีตัวชี้วัดที่
จะบอกว่าบริษัทที่รวยแต่เป็นภาระโลกมีใครบ้าง โลกสมัยนี้มันโปร่งใสขึ้น (Transparency) จะมาสร้างภาพกันคง
11
ยากแล้ว เพราะฉะนั้น องค์กรที่ไม่ทำเพื่อสังคม ไม่ทำเรื่องพวกนี้เกือบจะอยู่ไม่ได้แล้ว มันก็จะมี Step ของมัน เวลา
ที่เราจะเปลี่ยนธุรกิจไปสู่จุดที่เขาทำอย่างเต็มใจ Step แรก ต้องมีกฎบังคับว่าต้องทำ ถ้าไม่ทำไม่ให้ขายที่ประเทศ
เรา พวกนี้ก็มีการดูแลน่านน้ำ พอ EU บอกว่าต้องมี Sustainable Fishing ก็ลุกขึ้นมาเปลี่ยน ธรรมชาติของคน
อะไรที่ไม่เคยทำ พอถูกบังคับให้ทำ พอทำแล้วเริ่มชอบก็จะทำ Extra ขึ้นมา ให้ดูแลรักษาน้ำประมาณนี้แต่ทำ
มากกว่า พอคนเหล่านี้เริ่มทำ เห็นเลยว่า feedback คือชุมชนเขารักองค์กรมากขึ้น คราวนี้การเปลี่ยนแปลงที่
ระเบิดจากข้างในมาเองว่าไม่ต้องมีใครมาบังคับเขาก็ทำ พอเปลี่ยนแล้วมีแต่คนรัก ชาวบ้านรัก สื่อมวลชนรัก NGO
ก็อยากคุยด้วย เมื่อไรที่เขาเปลี่ยนจากข้างในมันก็จะถึง Step นั้น อันนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงในแง่ของธุรกิจ หนุ่ย
ต้องถามกลับว่าฟังหนุ่ยแล้วจะไปเปลี่ยนวิธีในการสอนเด็กหรือเปล่า เพราะว่าเราเหนื่อยมากกับการที่ต้องทำงาน
กับเด็กที่เรียกว่าไม่มีสาระกับความคิดแบบนี้ หนุ่ยคิดว่าทุก stakeholder ทุกส่วนต้องช่วยกัน

More Related Content

Similar to ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล

การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงามธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงามAmnuay Nantananont
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
Life longlearning620511
Life longlearning620511Life longlearning620511
Life longlearning620511Pattie Pattie
 
Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Black Coffee
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ppompuy pantham
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
SMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 

Similar to ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล (18)

การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงามธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
ธรรมะสั้นๆเพื่อวันที่ดีงาม
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
Life longlearning620511
Life longlearning620511Life longlearning620511
Life longlearning620511
 
Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
 
[5]life transformation
[5]life transformation[5]life transformation
[5]life transformation
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
SMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend: KM
SMEfriend: KM
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 

ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล

  • 1. รายงานถอดความ จากเวที อุดมธรรม พลังปัญญา ภายใต้ โครงการสร้างนักปราชญ์จากนักวิชาการ ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล นักสร้างแบรนด์ ผู้อำนวยการโครงการ พอแล้วดี The Creator จัดโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
  • 2. ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ผู้นำเสนอ ดร. ศิริกุล เลากัยกุล นักสร้างแบรนด์ ผู้อำนวยการโครงการ พอแล้วดี The Creator รายงานถอดความ จากเวที อุดมธรรม พลังปัญญา โครงการสร้างนักปราชญ์จากนักวิชาการ ผู้ถอดความ: ญาณิศา ยางงาม บรรณาธิการ: ยุวดี คาดการณ์ไกล ทีมบรรณาธิการ: ณัฐธิดา เย็นบำรุง กฤตภัค พรหมมานุวัติ อำนวยการผลิตโดย: สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ สนับสนุนโดย: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีที่เผยแพร่: เมษายน 2565 www.klangpanya.in.th ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 220/104 เลควิวคอนโด อาคารสุพีเรียร์ เมืองทองธานี ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 โทร. 084-112-0632
  • 3. 1 ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี1 ดร.ศิริกุล เลากัยกุล หนุ่ยเป็นคนที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับแบรนด์ แต่ว่าหนุ่ยไม่ทำ Product Branding ทำแต่ Cooperate Branding แล้วก็ชอบงาน Cooperate Branding มาก จนกระทั่งไปเรียนปริญญาเอกเกี่ยวกับ HR ในด้าน Competency เพราะเชื่อว่าในการสร้างแบรนด์ขององค์กร “คน” สำคัญที่สุด พอทำ Cooperate Branding สัก พักก็มาเจอว่าการที่จะทำให้องค์กรมีอนาคตไม่มีอะไรสำคัญมากกว่าการที่องค์กรนั้นต้องช่วยเข้ามาสร้างความ ยั่งยืนให้กับสังคม ทำให้ปรับตัวเองเข้ามาเรียนรู้ในเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตัวเองมีจุดพลิกชีวิตตอนที่ สมัยเป็น MD ให้กับบริษัทฝรั่ง เพิ่มแต่ตัวเลขกำไรสูงขึ้นทุกปี แต่ไม่เคยเพิ่มคนหรืออะไรทั้งสิ้นเลย เราทำเยอะมาก จนรู้สึกว่าไม่ไหว รู้สึกว่ามีคนที่ Suffer กับเราด้วย คือครอบครัว คนที่อยู่บ้าน กลับมาสามี กับลูก เราก็อาละวาดใส่ ทุกคน สักพักรู้สึกว่าไม่ยุติธรรมกับใครเลย คิดว่าจะต้องเปลี่ยนชีวิตตัวเอง แต่คนที่เป็นลูกจ้างมา 20 ปี พอจะ เปลี่ยนชีวิตมันต้องหาอะไรเป็นแกนในการสร้างความกล้า เราก็ไปเจอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทำให้รู้สึกว่า ถ้า เรากล้าที่พูดคำว่าพอ สิ่งที่เราได้มาคืออิสรภาพ ทำให้เรา Move on เลยลุกขึ้นมาศึกษาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งก็ต้องบอกว่าศึกษาในมุมของเราเอง ในบริบทของตนเอง พอทำงานมาถึงจุดหนึ่งเราก็น่าจะมาชวนกับน้อง ๆ ทำ “โครงการพอแล้วดี” เราเบื่อที่พูดถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทุกคนจะสนใจเกษตรกรรม ไปที่ชาวนา ชาวไร่ซึ่งไม่จริง ทุกคน ใช้ได้หมด เลยมาทำโครงการพอแล้วดี เจาะจงกลุ่มเป้าหมายไปที่นักธุรกิจที่เป็นพวก Lifestyle อย่างเดียว เช่น พวก Fashion Designer เจ้าของโฮสเทล พวกที่คนรุ่นใหม่ คนไม่นึกว่าความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ความ พอดี มาประยุกต์ใช้ในธุรกิจได้อย่างไร เพราะฉะนั้น โครงการพอแล้วดี เป็นโครงกากรพัฒนานักธุรกิจรุ่นใหม่ อยู่ บนหลักการ 2 เรื่อง คือ Sufficiency Economy และ Creative Economy เพราะว่า Sufficiency อย่างเดียวโดย ที่ไม่มี Creative ทำธุรกิจไปก็จะไม่มีมูลค่าเพิ่ม โครงการนี้ทำมาปีที่ 7 แล้ว ต้องบอกว่าแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมันไม่ใช่แค่ให้ปัญญากับนักธุรกิจ แต่ให้ “สติ” กับนักธุรกิจ ปัญญาทุกคนมีมากแล้ว แต่ปัญญาที่ไม่มีสติคือ ปัญญาที่ทำลายสังคมและสิ่งแวดล้อม 1 ถอดความจากงาน “อุดมธรรม พลังปัญญา” ระดมความคิด ยกระดับการเรียนรู้ของนักวิชาการเพื่อพัฒนาชีวิตและปัญญา จัดโดยกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ร่วมกับสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะ (สสส.) ในวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2565 ณ ห้องแถลงข่าวชั้น 1 อาคารพระจอมเกล้า กระทรวง อว.
  • 4. 2 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ต้องแบ่งเป็น 2 คำ คือ คำแรก คือ เศรษฐกิจพอเพียง เพราะว่าในหลวงไม่ได้ ต้องการให้เราลืมว่าปลายทางคือเรื่องเศรษฐกิจ ท่านไม่ได้ให้เราพึ่งแต่ตนเอง จนไม่พึ่งพาใคร ปลายทางคือ ขบวนการชุดความคิดที่จะนำพาทุกคนไปสู่เศรษฐกิจที่ความพอมี พอกิน แต่ว่าความพอเพียงไม่เท่ากัน เพราะว่า ความพอเพียงของแต่ละคนก็ขึ้นอยู่กับสถานะของแต่ละคน เศรษฐกิจที่ดีคือทำให้ทุกคนมีพอตามสถานะของตัวเอง เรากำลังพูดเรื่องธุรกิจ กำลังพูดเรื่องเศรษฐกิจอยู่ ท่านบอกว่า คำนี้เป็นคำใหม่ไม่มีในตำราฝรั่ง พระองค์ท่านคิด ขึ้นมา เพราะฉะนั้น ไม่ต้องแสวงหาว่าฝรั่งพูดอย่างไร เพราะเราเอาชอบของใครเป็นเทียบกับฝรั่ง ไม่ต้องเทียบฝรั่ง พระราชดำรัสอันนี้ทำให้เรากล้าจะหยิบมาใช้ เวลาเห็นอะไรของในหลวงเราไม่ค่อยกล้าแตะ แต่ท่านบอกเองเลยว่า ใครสนใจเอาไปใช้ และเอาไปขยายผลต่อได้เลย เพราะเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญา ไม่ใช่ทฤษฎี ไม่ใช่สมการ นี่ เป็นจุดเริ่มต้นของการนำเอาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ คำว่า Sufficiency Economy ไม่ใช่ Self Sufficiency ไม่ได้บอกว่าทุกคนต้องพึ่งตัวเองให้ได้ และไม่ได้ ต้องพึ่งใคร ถ้าเมื่อไรเราไม่ต้องพึ่งใคร ไม่มีใครในระบบความคิด สังคมมันเกิดขึ้นไม่ได้ การพึ่งพาตัวเองก่อนเป็นแค่ จุดเริ่มต้น พอหลังจากที่ดูแลตัวคุณได้ คุณก็จะดูแลคนอื่นได้ สิ่งที่พระองค์ท่านไม่ได้ให้เราเจียมตัว ต้องกลับลงสู่ดิน อยู่กับอะไรง่าย ๆ ไม่ใช่แนวคิดแบบนั้น ตอนที่พระองค์ท่านคิดขึ้นมา สมัยนั้นมีคำว่า NICs ทุกคนต้องลุกมาเป็น เสือของเอเชีย ท่านบอกว่าจะเป็นเสือไม่สำคัญหรอก สำคัญที่พสกนิกรของเรามีกินมีใช้หรือไม่ จะเป็นเสือคนที่ ผงาดมามีกี่ชีวิต หน้าที่ของพระองค์ท่านไม่ได้มีหน้าที่ทำให้เป็นเสือ แต่มีหน้าที่ทำให้ทุกคนสามารถที่จะอยู่ได้อย่าง พอเพียง พอสมควร ปรัชญาในการที่เราจะถึงจุดนั้นต้องทำอย่างไรบ้าง ทุกคนต้องท่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ คือ 3 + 2 เงื่อนไข ห่วงแรก คือ การรู้จักตน ประมาณตน ยากที่สุดเลย คนที่รู้จักคนอื่นเราถือว่าเป็นคนมี Wisdom มาก แต่ เมื่อไรที่เรารู้จักตนเอง นี่คือ Beyond Wisdom มันคือ Enlightenment เราจะรู้เลยว่าชีวิตเราต้องดำรงอยู่อย่างไร ห่วงแรกคือการการรู้จักตน ประมาณตน ทำไมต้องการรู้จักตนก่อน เพราะจะได้ประมาณตนได้ถูก พูดง่าย ๆ ถ้าเรา เป็นนักมวย อย่าชกข้ามรุ่น เดิมพันสูงแต่อาจตายหรือพิการได้ เราสู้ในวงที่เราเหมาะ อาจไปได้ไกลกว่า อันนี้คือ การรู้จักตน ประมาณตน ห่วงที่สอง คือ การมีเหตุมีผล การมีเหตุมีผลมีความหมายมากกว่ามีเหตุผล การมีเหตุมีผล คือเรื่องที่เรา ต้องรู้ว่าถ้าเราอยากได้ผลแบบนี้ ต้องทำด้วยเหตุแบบไหน การมีเหตุมีผลเป็นเรื่องที่สำคัญ ไม่ใช่แค่มีเหตุผลอย่าง เดียว คนทะเลาะกันเพราะทุกคนก็มีเหตุผล แต่ถ้ามาคุยกันว่าเหตุแบบนี้จะทำให้เกิดผลแบบไหน จะทำให้นำพาเรา ไปได้ไกลกว่า พวก OKR หรือ Objective Key Result ก็เป็นเรื่องของมีเหตุมีผลทั้งสิ้น อยากได้ Result แบบนี้ก็ ต้องไปตั้ง Key Activity แบบไหน
  • 5. 3 ห่วงที่สาม คือ การมีภูมิคุ้มกัน มีความสำคัญมากในยุคนี้ ไม่ว่าเราจะแข็งแรงขนาดไหนการมีภูมิคุ้มกัน มี ความสำคัญ คำว่า ภูมิคุ้มกัน คำนี้ก็บอกในตัวอยู่แล้วว่าเวลาเราทำอะไรก็ตามต่อให้เรารู้จักตน ต่อให้เรามีเหตุมีผล เราก็ต้องมีการทำนายอนาคตเหมือนกันว่ามันจะเกิดอะไรขึ้น เพราะฉะนั้น มันจะมีแค่ แผน A ไม่มี แผน B มัน เป็นไปไม่ได้ ต่อให้กลยุทธ์ดีขนาดไหน ก็ต้องมีแผนรองรับ พระองค์ท่านไม่ให้ห้ามว่าอย่าไปกู้เงินแบงค์แต่ต้อง สำคัญคือ ต้องมั่นใจว่าผ่อนได้ อย่าทำอะไรไม่คิดหน้าคิดหลัง สามเรื่องนี้เป็นเรื่อง Micro เพราะขึ้นอยู่กับตัวเรา แต่พระองค์ท่านมองเห็นไกล จะมองเห็นแต่ตัวเราโดย ไม่เข้าใจเงื่อนไขความรู้ไม่ได้ ถ้ามาใน เรื่องเงื่อนไขความรอบรู้ ทุกคนต้องยอมรับว่าเป็นปัจจัยสำคัญ ความรู้ก็ เหมือนคำขวัญของทุกโรงเรียน มหาวิทยาลัย “ความรู้คืออำนาจ” ความรู้เป็นอำนาจของคนที่ไม่มีคำว่าคุณธรรม มันทำลายได้หมด เวลาเราเห็นธุรกิจที่ทำนู้นนี่ เพราะเขาทำได้ เขามองว่ายุติธรรม ไม่ได้กดขี่ใคร หลายเรื่อง คุณธรรมต่อให้คุณทำได้ แต่ความเข้าใจใน Humanity มันจะเป็นสติให้กับนักธุรกิจว่าต่อให้ทำได้ก็ไม่ควรทำ ยกตัวอย่าง เจ๊จงหมูทอดชอบมาปรึกษาว่ามีคนมาชวนไปเปิดร้านข้าวแกงในย่านพัฒน์พงษ์เพราะคนทำงานเยอะ ถ้าไปนี่ต้องจะขายดีมากแน่เลย เพราะใคร ๆ ก็อยากกินหมูทอดเจ๊จง ตอนนั้นเราตอบไปว่า ดีเลยถ้าไปเปิด แต่ถ้า เราคิดถึงพ่อค้าแม่ค้าเดิมที่เขาอยู่แล้วเค้าจะทำไงกับชีวิต ถ้าเจ๊จงไม่ได้ไป เจ๊จงก็ไม่ได้เดือดร้อน แค่มีช่องทางรวย มากขึ้นแค่นั้น แต่ถ้าเราไปเปิดที่อื่นที่ไม่มีคู่แข่ง ไม่มีใครทำอยู่แล้ว อาจจะไม่รวยเท่าที่ไปเปิดที่พัฒน์พงษ์ แต่มันจะ ไม่ทำลายโอกาสของคนอื่น ไม่ทำลายชีวิตใคร เจ๊จงเห็นด้วย และในความเป็นแม่ค้าของเขาไม่ต้องมีปริญญาก็มี สามัญสำนึกได้ เจ๊จงเลยไม่ไป ในเรื่องคุณธรรมสมัยนี้ สิ่งที่ AI ไม่มีคือคุณธรรม ศีลธรรมของกลุ่มทุน (Moral Capital) เป็นอะไรที่หายากสุด มหาวิทยาลัยก็ไม่ค่อยสอน เราก็จะสอนภายใต้ Paradigm ของ Insert for Excellent ทำอย่างไรจึงจะดีที่สุด นำโดยแนวคิดของ Harvard จนวันนี้ Harvard ยังต้องบอกเลยว่าแนวคิดนี้ได้ สร้างนักธุรกิจที่เกือบจะเป็นอสูรกาย ลุกขึ้นมากอบโกยอย่างเดียวเลย เพราะไม่ได้เห็นอะไรนอกจากไปสูงสุด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : ทางสายกลาง ถ้ากลับมาในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนุ่ยว่าความดีงามของชุดความคิดอันนี้อยู่ที่ทางสายกลาง แปลว่า รู้จักตนเองก็ให้พอประมาณ รู้จักตนเองแบบที่ไม่มีทางสายกลางก็จะนำพาไปสู่การหลงตัวเอง สุดโต่ง คำว่าทางสาย กลางคือ wisdom ของโลกในซีกของเรา เพราะทางสายกลางนี่คือพุทธ จริง ๆ แล้วปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Underline Concept คือเรื่องของทางสายกลาง เรื่องพวกนี้ไม่ใช่ เรื่องง่าย การจะนำพาตนเองไปสู่จุดพอเพียง พอประมาณได้ ต้องมีความเพียร ถึงได้มีเรื่องพระมหาชนกที่สอนให้ ได้เรียนรู้ หนุ่ยคิดว่าความเพียรเป็นชุดความคิดที่มหัศจรรย์ เพราะว่าเวลาเอาไปใช้ทำให้เราเจอความสมดุลของ การพัฒนา แปลว่าธุรกิจก็โต สังคมก็โต ในวันนี้สังคมไม่โตคุณก็อยู่ไม่ได้ โควิดสอนเลยว่าต่อให้ใหญ่โตขนาดไหน
  • 6. 4 ลูกค้าไม่มีเงินจ่ายก็คือไม่มี ถ้าคุณไม่ช่วยให้เข้าหลุดจากหล่มตรงนี้ได้ คุณตั้งใจจะขายของอย่างเดียว ไม่ตั้งใจช่วย ให้เขาดีขึ้น จะขายอาหารเขาโดยไม่สนใจสุขภาพให้เรามีแรง มีรายได้ ปลายทางคุณก็ไม่รอด ภาษาใหม่ ๆ เขา เรียกว่า CSV (Creating Shared Value) ว่ามันไม่ใช่แค่เรา มันจะต้องมีคนรอบข้างด้วย หนุ่ยชอบเรื่อง Moderation มาก คือทางสายกลาง มันเป็นคำว่าที่พูดง่าย เวลาคุยกับเด็ก ๆ ต้องถามว่า สายกลางแปลว่าอะไร อย่าให้ตึงหรือหย่อนเกินไป เวลาเล่นดนตรีให้ออกมามีเสียงดี มันก็ต้องพอดีพอเหมาะนี่คือ ความหมายของคำว่าพอประมาณหรือความพอดี ทีนี้เวลาพูดถึงทางสายกลาง เป็นแนวคิดที่เหมือนพูดง่าย ความ สมดุลไม่ได้แปลว่าซ้ายต้องเท่ากับขวา ถ้าคิดแค่นั้นจะดำรงชีวิตอยู่บนความเปลี่ยนแปลงของโลกไม่ได้ ต้องเข้าใจว่า คำว่าทางสายกลางมีมิติที่ลึกมาก ไม่ใช่แค่หาจุดตรงไหนและขีดเส้น ซ้ายเท่ากับขวา ลูกศิษย์หลวงพ่อชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง เวลามีพระเดินจงกลม บางครั้งท่าบอกว่าไปซ้ายหน่อยสิ บางวันบอกเขยิบมาขวา ทำไมไม่เท่ากัน หลวงพ่อบอกว่าก็สองคนนั้นตัวมันเบี้ยวไม่เท่ากัน เพราะฉะนั้น เราต้องรู้มันไม่ได้เป็นอะไรที่เป็นสมการ ขนาด ปราชญ์อย่างเพลโต ยังบอกเลยว่า Man of Moderation is a Man of Wisdom ใครก็ตามที่ดำรงชีวิตอยู่ที่รู้ว่า ทางสายกลางคืออะไรคือคนที่เรียกว่าปราดเปรื่องที่สุดในจักรวาล คนรวยที่สั่งคาเวียร์ได้ จนกินเป็นถ้วยได้ ก็ต้อง กลับมาถามตัวเองว่าโง่หรือฉลาด เพราะต่อให้มี The Best Thing In Life ก็ต้อง Take it Moderately เรา อยากจะ Enjoy Life ไปเรื่อย ๆ เราต้องไม่กินอะไรตะกละ กินแค่ไหนถึงจะอิ่ม จะของดีไม่ดี เราต้องรู้ว่ากินแค่อิ่ม น่าจะพอ เพราะฉะนั้นแนวคิด ของทางทางสายกลาง ถ้าเราไปดูตาม dictionary มันคือการทำอะไรที่ไม่มากไป น้อยไป เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการสิ่งสำคัญที่เป็นปัจจัยของปัญหาของทุกวันคือ คือ ความโลภ SDG 12 ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ Sustainable, Responsible, Consumption กับ Responsible Production มาจากการผลิตที่ไร้สติมาก ไม่รับผิดชอบ กับการบริโภคที่ไม่รับผิดชอบ มันมาจากเรื่องพวกนี้ คำว่า ทางสายกลาง เราจะต้องกลับไปสอนลูกศิษย์ว่าจุดพอดีตรงไหน ก็แสนจะยากแล้ว เวลาหนุ่ยพูดเรื่องนี้ที่เมืองนอก ฝรั่งจะถามเลยว่าเท่าไหร่ถึงจะพอดี บอกไม่ได้หรอก ต้องคิดเอง เหมือนกับไม่สามารถบอกได้ว่ากินแค่ไหนถึงจะอิ่ม มีสติเอง ตั้งใจคิดจะรู้ว่าจุดที่หยุดอยู่ตรงไหน เพราะเราคนละคนกัน เรื่องนี้เอาไปใช้ได้ตั้งแต่ระดับบุคคล ชุมชน องค์กร สังคม ประเทศ เวลาเอาไปใช้กับตัวบุคคลทำให้เกิด Self-Reliance คนต้องพึ่งพาตนเองให้ได้ก่อน จะเอาแต่ปลาแต่ไม่ยอมเรียนรู้การตกปลา อันนี้คือสิ่งที่ทำให้การ พัฒนาประเทศเราไปได้ล่าช้า ระดับบุคล เราจะได้มีสติมากขึ้น สติมาปัญญาเกิด ไปคิดเองว่ากลยุทธ์ที่จะเอาใช้หรือ ประยุกต์กับตัวเอง เวลาเอาคำว่าเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้กับคำว่าธุรกิจจะทำให้เกิดคำว่า Inclusiveness ไม่ทิ้งใคร ไม่ข้างหลัง เวลาเอามาใช้กับสังคม ประเทศชาติทำให้เกิดคำว่า Sustainable Development คือการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน เพราะฉะนั้น หนุ่ยไม่ได้พูดเอง UN เป็นคนพูด UN บอกว่าถ้าอยากไปถึงการพัฒนาอย่างยั่งยืน ต้องมาเรียนรู้ เรื่อง Sufficiency ในซีกโลกตะวันออกของเรามี 2 ประเทศ UN ที่ได้รับการยอมรับคือ Sufficiency Economy ของประเทศไทย กับเรื่อง GNH ของภูฏาน เพราะมันเป็น Index ในการวัด ไม่ใช่แค่วัด GDP อย่างเดียว เราควรจะ ภาคภูมิใจ
  • 7. 5 เรื่องนี้ไม่ได้มีแต่ในประเทศไทย ในประเทศที่ก้าวหน้าสุด เช่น พวกแสกนดิเนเวีย แนวคิดความพอเพียง พอประมาณ เขามีในชาติเขาทั้งนั้น เพราะฉะนั้นอย่าไปกลัวเรื่องนี้จะทำให้เราล้าหลังใคร ถ้าเราไปดู เมือง โคเปนเฮเกน (Copenhagen) เขามี Eco Pass อะไรที่ Advance สุดของโลก แต่คนก็ยังรู้สึกว่าเขาก็ยังขี่จักรยาน เขายังเคารพสิ่งแวดล้อม ไม่ได้บ้าไปเทคโนโลยี ความคิดเหล่านี้มีในหลายประเทศ เพราะฉะนั้น เราต้องช่วยกันทำ ให้เรื่องนี้เกิดอย่างเป็นระบบ ภาพที่ 1 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่มา: ศิริกุล เลากัยกุล (2565) เศรษฐกิจพอเพียงกับธุรกิจ แล้วเศรษฐกิจพอเพียงมันจะเกี่ยวอะไรกับธุรกิจ โครงการพอแล้วดี การรู้จักตนประมาณตน งานสร้าง แบรนด์ที่ตนเองทำอยู่ การทำแบรนด์มันมีต้นน้ำ กลางน้ำ และก็ปลายน้ำ ต้นน้ำคือคนหา DNA ของแบรนด์ กลาง น้ำ บริษัท HR เอา DNA มาทำเป็น Cooperate Culture ปลายน้ำ คือ พวกงานสื่อสารการประชาสัมพันธ์ หนุ่ย เป็นคนทำแบรนด์ต้นน้ำ การรู้จักตน คือการทำให้ลูกค้า ให้องค์กรรู้ว่า Core Value เขาอยู่ตรงไหน DNA เขาเป็นอย่างไร การรู้จัก ตนคือการทำ SWOT ไม่เคยมีการทำ Planning ครั้งไหนที่ไม่เริ่มต้นด้วยการ SWOT คุณต้องรู้ว่า Strengths, Weaknesses, Opportunities, and Threats อยู่ตรงไหน แล้วมาประกอบให้พอดีกับตัวเอง บางทีขนาดบริษัท ใหญ่ทำ SWOT ทำเสร็จแล้วยังมีคำถามเลยว่ามีข้อไหนที่เอามาใช้จริงบ้าง ไม่เห็นจะผูกกันเป็นเรื่องราวเลย ดังนั้น การรู้จักตน ประมาณตน แบบพื้นฐานสุด คือการทำ SWOT แบบยากสุด คือ การทำ Brand Model
  • 8. 6 การมีเหตุมีผล ไม่ว่าจะเป็น Strategic Planning ต่าง ๆ แต่ในสมัยนี้ที่เหนือกว่า Strategic Planning คือ Impact Measurement เวลาที่เราบอกว่าต้องวัด Impact หากบอกว่าวัดการมีเหตุมีผล ทุกคนก็ไม่เข้าใจ แต่ ถ้าบอกว่ามันคือการวัด Footprint ทุกคนจะเข้าใจ ทุกอย่างที่ธุรกิจทำมันมี Footprint หมด เวลาไปพูดที่เมือง นอกใช้คำว่า Karma Marketing คือ กรรม ฝรั่งจะได้รู้ว่ากรรม ทำแบบนี้ก็ต้องได้แบบนี้ ทำอย่างไรจึงได้ Market shared สูงสุด วันนี้เมื่อเราได้ Market Shared สูงสุด ช่วยกลับมาพิจารณาด้วยว่า Stakeholder เป็นอย่างไร สังคม พนักงาน ผู้บริโภค เป็นอย่างไร เพราะว่าเราอยู่ในสิ่งแวดล้อมเดียวกัน ทรัพยากรไม่เหลือแล้ว เพราะฉะนั้น ทุกคนต้องตระหนักเรื่องของความยั่งยืน ทั้งหมดมันเกี่ยวกับ Impact Measurement ภูมิคุ้มกัน เรื่องที่ง่ายสุดคือ Risk Management ทำ Planning แล้ว Risk อยู่ตรงไหน มีการบริการจัดการ หรือไม่ โควิดที่เกิดขึ้นบริษัทที่ Suffer สุดคือบริษัทที่ไม่มี Risk Management SME ที่ Suffer ทำมาหากินแบบไม่ เคย Saving ลงทุนแบบเงินต่อเงินเลย โควิดสอนแล้วว่าการอยู่โดยไม่มีภูมิคุ้มกัน มันอยู่ไม่ได้ เวลาทำธุรกิจ นอกจาก Risk Management ภูมิคุ้มกันที่สำคัญที่สุด คือ ความรักที่ Stakeholder ให้กับแบรนด์ เราชื่นชมองค์กร รักองค์กรนี้ เช่น เวลาเรามีแบรนด์ที่ชื่อเสียงดีและคนรักจำนวนมาก เขาอยู่ในมาตราพุด เวลามีเรื่องอากาศเสีย ไม่ มีใครชี้ไปที่องค์กรนั้นเลย คนไม่คิดว่าบริษัทนี้ทำ เพราะเขามีสิ่งที่พิสูจน์ให้ stakeholder เห็นว่าเขาไม่ทำ การ ป้องกันเขาดี ไม่อย่างนั้นจะไม่มี index ที่จะชี้วัดความยิ่งใหญ่ของแบรนด์ คือ แบรนด์ไหนที่คนรัก ชื่นชมที่สุด หาก มองจากตัวเราเองคนที่มีเพื่อนเยอะภูมิคุ้มกันสูง และยิ่งถ้าเพื่อนรักมากนี่ยิ่งสามารถทำอะไรได้มากกว่าคนที่ไม่มี ใคร เพราะฉะนั้นนี่คือสิ่งที่ตีความออกมาเวลาที่นำไปทำธุรกิจ ความรอบรู้ ถ้าสมัยนี้ คือ Lifelong Learning ถ้าเป็นคำโบราณก็ Learning Organization เรื่องของ ธรรมาภิบาล คำเหล่านี้อยู่ในตำราฝรั่งหมด แต่มีใครที่มาสร้างชุดความคิดเหล่านี้ดีเท่าในหลวงของเรา เพราะฉะนั้น ตรงนี้เป็น Innovative Thinking ที่ทุกคนควรให้ค่า เพราะว่าจริง ๆ แล้ว ทั้งหมดคือ System Thinking เราคิดถึง สิ่งที่เกิดรอบข้าง ทุกอย่างเชื่อมโยงกันหมด ไม่มีอะไรคิดเป็นจุด ๆ ได้ ไม่ถึงเราวันนี้ก็วันหน้า ขนาดโควิดวันนี้ยัง มาถึงเราแล้ว เพราะไม่มีใครอยู่กับที่ ทุกอย่างเป็น Circular หมด เรื่อง Circular Economy นี่ประเทศไทยพูดมา นานแล้ว แต่เราใช้คำว่า การเวียนว่ายตายเกิด และไปอยู่ในภพใหม่ที่ดีกว่า อันนี้คือความมหัศจรรย์ของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง เวลาหนุ่ยทำเรื่องแบรนด์เนี่ย หนุ่ยให้ความสำคัญกับ “คน” ถามว่าทำไมต้องลุกขึ้นมาสร้างคน ถ้าเรา คุ้นเคยกับแนวคิด 3P คือ Profit People Planet มันเป็น Sustainable Development การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง คือ การทำธุรกิจ สิ่งแรกที่จะต้องทำ คือหากำไร ถ้าไม่มีกำไรก็จะเป็นปัญหาสังคม แต่จะ Make Profit โดยไม่ คำนึงถึง People Planet ไม่ได้ Profit คือความสามารถในการแข่งขัน ประเทศชาติมียุคหนึ่งสนใจแต่เรื่องนี้ อาจารย์มหาวิทยาลัยมีหน้าที่ ไปเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน แล้วก็ค่อยมาเรื่องความยั่งยืน แนวคิดความสามารถในการแข่งขันมีทฤษฎีมากมาย เพราะทุกคนอยากเป็นที่หนึ่งของโลก ในขณะที่เราพูดความยั่งยืน แนวคิดมีไม่กี่อย่าง มีเรื่อง CSR ,CSV Marketing
  • 9. 7 , Kama Marketing เราจะเปลี่ยนธุรกิจจาก Profit ไปที่ Planet มันต้องเปลี่ยนที่คน โดยเฉพาะผู้นำองค์กรให้ สนใจ Social Value ก่อน ถ้าเขาไม่สนใจ ไปพูดเรื่องนี้อย่างไร เคยถามบริษัทใหญ่ ๆ ที่บอกว่าองค์กรสนับสนุน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จริง ๆ แล้วแค่เปิดศูนย์เรียนรู้ ซึ่งไม่ใช่ ถ้าใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สิ่งนี้ต้องอยู่ใน Business Planning การเปิดศูนย์เรียนรู้มันเป็น Accommodative มันไม่ใช่ CSR in process มันไม่เปลี่ยนแปลง อะไรในองค์กร แค่สร้างภูมิคุ้มกันว่าคนจะไม่ด่าความใหญ่ของคุณว่าไม่ได้ทำอะไรเลย แต่คนในองค์กรก็ไม่ได้เรียนรู้ เพราะ CEO ไม่เอาด้วย ต้องให้ความสำคัญกับการสร้างคน ถ้าเราสร้างคนให้เข้าใจ Social Value คำว่า Sufficiency Economy มันถึงจะเกิดขึ้นได้ เพราะทั้งหมดขึ้นอยู่กับคน พระองค์ท่านบอกว่า ถ้าเราพอในความต้องการ มีความโลภน้อย เราก็จะเบียดเบียนคนอื่นน้อย ความโลภ ไม่ได้แย่ โลภพอประมาณเป็นที่มาของการพัฒนา หลาย ๆ Innovation มาจากการอยากทำให้ดีขึ้น เร็วขึ้น มาก ขึ้น แต่มันต้องมีจุดที่พอ ให้โอกาสคนอื่นหายใจ ให้โอกาสคนอื่นได้อยู่ได้บ้าง ถ้าเราไม่โลภมากเราอยู่ด้วยกันได้หมด และก็เศรษฐกิจพอเพียงแบบที่พระองค์ท่านพูดเป็นทั้งเศรษฐกิจและความประพฤติ ถ้าเราเปลี่ยน Mindset เปลี่ยน Approach ในการดำรงชีวิต ในการดำเนินธุรกิจ เราสามารถนำพาไปสู่เรื่องนี้ได้ทั้งสิ้น ท่านพุทธทาสบอกเลยว่าคน ดีสำคัญกว่าทุกสิ่งและบอกด้วยว่าทุกคนคือคนเดียวกัน ท่านพูดมาก่อนที่เรารู้จักจาก ปีเตอร์เซงเก้ (Peter M. Senge's) เราต้องเปลี่ยนแนวคิดในการสร้างคน เติมเต็ม อนาคตสังคม จุดที่ทำให้หนุ่ยมาทำเรื่องนี้เป็นเรื่องราวเพราะลูกสาว เวลาพูดปัญหาขยะ ลูกหนุ่ยพูดว่าจะพูดทำไมเดี๋ยว พ่อแม่ก็ตายแล้ว คนที่จะได้รับคือพวกเขา เพราะฉะนั้น เขาเริ่มเปลี่ยนแล้ว เมื่อไรรุ่นพ่อรุ่นแม่เมื่อไหร่จะแยกขยะ ในวัยเราหกสิบกว่าก็อยู่อีกไม่นาน แต่ถ้าเราไม่เปลี่ยนแปลงสร้างคนตั้งแต่ตอนนี้ อนาคตก็จะอยู่ยาก เลยคิดว่า น่าจะเป็นอะไรที่เอาปรับมาใช้ นอกจากเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยังนำเรื่อง 23 วิธีการทรงงานไปสอน (ภาพที่ 2) สามารถเอาไป เขียนเป็นตำราเปิดมหาวิทยาลัยได้เลย ท่านบอกเราจะทำอะไรก็ตามจะต้องศึกษาอย่างเป็นระบบ ต้องระเบิดจาก ข้างใน การแก้ปัญหาต้องแก้จากจุดเล็ก ๆ ก่อนและทำตามลำดับขั้นตอน พวกนี้เป็น System Thinking ทั้งนั้น จะ แก้ปัญหาต้องเข้าใจสังคม ภูมิศาสตร์ เข้าใจบริบท ทำงานแบบองค์รวม คิดเป็น Holistic รู้ไว้เพื่อให้เร็วขึ้น ทำอย่าง ประหยัด ทำให้ง่าย คนที่เก่งคือคนที่ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย การมีส่วนร่วม คือ มี Engagement ยึดประโยชน์ ส่วนรวม บริการจุดเดียว ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ ถ้าเราเรียนในยุคนี้คือ การเอาเรื่องการออกแบบที่เลียนแบบ ธรรมชาติ อธรรมปราบอธรรม การปลูกป่าในใจคน ขาดทุนคือกำไร การพึ่งตนเอง พออยู่พอกิน เศรษฐกิจพอเพียง ซื่อสัตย์สุจริต ทำงานอย่างมีความสุข ความเพียร และสุดท้ายคือรู้รักษาสามัคคี 23 วิธีการทรงงาน คือ สิ่งสำคัญที่ เราจะต้องใช้ในการพัฒนาคน นำมาเป็นตัวชี้วัดได้ว่า สิ่งที่ทำมาตอบโจทย์แค่ตัวเองหรือทำธุรกิจอย่างเกื้อกูล
  • 10. 8 ภาพที่ 2 แสดง 23 วิธีการทรงงานของรัชกาลที่ 9 ที่มา ศิริกุล เลากัยกุล คำถาม – คำตอบ คำถามที่ 1 แนวทางพอเพียงเป็นสิ่งที่ดี ที่นี้เราจะบอกคนที่ไม่รู้จักพอเพียงอย่างไร มีแนวทางอย่างไรให้คน เหล่านั้นพอเพียง คำตอบตอบ คนที่ไม่รู้จักพอ ไม่ควรเสียเวลาไปบอก เราควรจะบอกคนที่พร้อมจะเปลี่ยน คือเรามีเวลาไม่เยอะ และไม่ได้เก่งกาจอะไร จะใช้เวลากับคนที่พร้อมจะเปลี่ยนมากกว่า แล้วหวังว่าพวกน้อง ๆ ที่ลุกขึ้นมาเป็นต้นแบบ ให้คนที่ไม่รู้จักพอเข้าใจว่า ความสุข ความสมดุลคืออะไร หลาย ๆ คนต้องเรียนจากตัวอย่าง เวลาที่มันไม่พอดี มัน ทุรนทุรายมันทุกข์ยากอย่างไร เวลาไปบอกใคร คนจะไม่ค่อยเชื่อ อย่าไปกินมาก เดี๋ยวจะปวดท้อง คนจะไม่ค่อย
  • 11. 9 เชื่อ ต้องให้เจอสักครั้งจะเข้าใจว่า การเลือกคิด เลือกกิน ไม่อิ่มเกินไป สำหรับตัวเองใช้เวลาช่วยคนที่พร้อมจะ เปลี่ยนโดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำทางเขา เวลาเราไปพูดกับคนที่ Capitalist เยอะ ๆ ไม่ควรเสียเวลามานั่ง ถกเถียง เพราะปรัชญาเป็นเรื่องของระบบความเชื่อ ถ้าไม่ได้เชื่อเรื่องเดียวกัน คงลำบาก ต้องเชื่อว่าชีวิตคนอื่นก็ สำคัญ ความพอเพียงทำให้ทุกครั้งที่เราจะทำอะไรมีคนอื่นอยู่ในความคิด หนุ่ยไม่ใช่คนที่ลุกขึ้นมาโปรโมทปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง โดยที่เรียกว่านึกไม่ออกว่าจะประยุกต์ใช้อย่างไร เวลาจะรับเด็กเข้ามาในโครงการไม่ได้ถามว่า เขารู้จักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม่ แต่จะถามว่า ตั้งแต่ทำธุรกิจมาคิดว่าการแบ่งปันเกื้อกูลสำคัญขนาดไหน ถ้าเขาบอกว่าสำคัญ ก็จะรู้แล้วว่าเขามีแนวคิดแบบนี้ และต้องการเครื่องมือ เราก็จะใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นเสมือนเข็มทิศให้เขามากกว่า เพราะฉะนั้น ต้องเป็นคนที่มีปลายทางตรงกันก่อน คำถามที่ 2 เรื่องความสัมพันธ์ของคนในการทำงาน อยากให้แนะนำเรื่องการบริหารคนในองค์กรและก็สามารถ ไปปรับใช้กับอุดมศึกษาได้อย่างไร คำตอบ ถ้าอาจารย์สนใจเรื่องการบริหารคนในองค์กร แนะนำให้ไปศึกษาทศพิธราชธรรม อันนั้นคือตำราของคน เป็นผู้นำ แต่คิดง่าย ๆ แค่คิดว่าเขาก็เป็นคนเหมือนเรา และเลิกคิดว่าจะบริหารเขา คิดว่าจะบริการเขา อย่างไร ดีกว่า ถ้าคิดว่าจะบริหารจะอยู่ในโหมดที่เรียกว่า ไม่มีใครอยากถูกบริหาร เขาก็เป็นคนเหมือนกัน อาจจะมีตำแหน่ง สถานะที่แตกต่างกัน แต่เราต้องมี Empathy เข้าใจเขาว่าอะไรเป็นอย่างไร เราก็จะมีทางที่จะ Get Job Done โดย ไม่ทำให้เขาเสีย Integrity ฉะนั้น คิดถึงความเป็นคนเยอะ ๆ มี Empathy เยอะ ๆ การบริหารคนก็จะใจถึงใจ คำถามที่ 3 เมล็ดพันธุ์ในตัวคุณหนุ่ยที่มาถึงเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เรื่องพุทธธรรมก่อหวอดตั้งแต่เมื่อไร อายุ ประมาณเท่าไร มีความเป็นมาอย่างไร คำตอบ เกิดมาตอนไหนก็ตอบยากเหมือนกัน เพราะว่าไม่รู้ว่ามาตอนไหน แต่จุดที่ทำให้ศึกษาเรื่องนี้ส่วนหนึ่งเกิด จากตอนเด็ก ๆ จำได้ว่า มีช่วงเวลาหนึ่งที่ทำให้รู้สึกว่าต้องมีเพื่อน คือเมื่อก่อน ตัวเองจะเป็นติดอันดับตลอด เป็น เด็กโดดเด่น เป็นหัวหน้าห้อง และจำได้ว่าเราจะขยันเรียนมาก ไม่ค่อยยุ่งกับใครเอาแต่ตัวเอง จนวันหนึ่งเพื่อน ๆ เล่นตี่จับ แต่เพื่อนไม่ให้เล่นด้วย เสียใจร้องไห้ ประมาณ ป.5 ป.6 คนอื่นเขาเดินกลับบ้านกับเพื่อน เรารู้สึกเลยว่า การไม่มีใครมันทุกข์มาก หลังจากนั้นก็พยายามไปทำดี เล่น คลุกคลีกับเพื่อนมากขึ้น นี่ก็อาจจะเป็นจุดหนึ่งที่ทำให้ พูดได้ว่าภูมิคุ้มกันของชีวิตที่สำคัญคือการมีเพื่อน มีความรัก มีคนที่จะรู้สึกว่าเป็นพลังงานบวกรอบ ๆ เรา คำถามที่ 4 ผมพยายามสื่อสารเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับเด็กรุ่นใหม่ กับลูก แต่เหมือนเขามีกำแพง และด้วยสภาวะสังคมปัจจุบันเด็กจะอยู่กับเกม โลกส่วนตัว อย่างเรื่องภูมิคุ้มกันเป็นประเด็นใหญ่มาก คุณต้องมี เพื่อน แต่ในทางกลับกัน เขาจะอยู่ในโลกของเกมและเขาก็รู้จักเพื่อนน้อยมาก จะทำอย่างไรให้เด็กเข้าใจ
  • 12. 10 คำตอบ เวลาเราจะสื่อสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง สิ่งแรกคือ ต้องไม่พูดคำว่า เศรษฐกิจพอเพียง ไม่พูดคำนี้เลย โครงการของตัวเองถึงได้ชื่อ “พอแล้วดี” ถ้าชื่อโครงการพัฒนานักธุรกิจอย่างพอเพียง อาจจะไม่มีใครมา เพราะฉะนั้น ต้องมีทางที่จะสื่อสาร และบางทีเวลาที่สอนลูกก็ต้องดูว่าอายุขนาดไหน มีกลเม็ดให้เขาได้คิด เช่น บางทีมีลูกสองคนก็จะให้เขาเล่นกันว่าใครที่พูดว่าอิ่มก่อนคนนั้น Super Cool ไม่แข่งกันกินเยอะ การสอนลูก สำคัญ เหตุผลที่หนุ่ยทำเรื่อง Cooperate Brand และไปต่อปริญญาเอกทางด้าน HR เพราะตอนแรกไปต่อปริญญา เอกในด้าน Education เพราะรู้สึกว่าพอมีลูกและไปสร้าง Brand ให้คนทั้งโลก แต่สอนลูกไม่ได้ คงไม่ใช่ แต่ขอ บอกว่าพวกอาจารย์ด้าน Education พูดตามตำราไม่หลุดกรอบ เรารู้สึกว่าไม่ไหวเลยเปลี่ยนมาด้าน Competency แทน การสอนเด็กต้องมีเทคนิคการไปบอกลูกว่าอย่าเล่นเกมเยอะ แต่ไม่มีอะไรให้เขาทำ แล้วจะให้ เขาทำอะไร เราต้องค่อย ๆ อธิบาย ตอนวันเกิดลูกหนุ่ย ถามว่าอยากได้อะไร เขาบอกว่าอยากได้เกม เลยลองเล่าให้ เขาฟังว่า ถ้าเราซื้อเกมกับหนังสือนิทาน เราซื้อได้เกมเดียว เล่นคนเดียว แต่ถ้าซื้อหนังสือนิทาน แม่จะให้ 10 เล่ม จะได้มาแข่งกันอ่าน พออ่านจบแล้วก็จะได้เอาไปแจกคนอื่น หนุ่ยว่าต้องมีกุศโลบายในการที่จะสอนเด็ก แต่เวลาที่ จะห้ามเขา แต่ไม่มี Solution ให้เขา หนุ่ยว่ามันไม่ช่วย เพราะฉะนั้นเวลา ห้ามเล่นเกมก็ชวนเขาไปเล่นฟุตบอล เรา ก็ต้องชวนเขาไปแรก ๆ ก่อน พอเขาเริ่มมีเพื่อนก็เริ่มปล่อย เด็กติดเกมสมัยนี้มาจากพ่อแม่ที่ไม่มีเวลาให้ลูก ถ้าเรา เองแบ่งเวลาให้พอเหมาะก็สามารถช่วยได้ ถ้าเลยเถิดไปแล้วจะแก้ยาก คำถามที่ 5 จุดที่ตัดสินใจเปลี่ยนวิธีคิด เพราะว่าโดยธรรมชาติของนักธุรกิจคงยากที่จะเปลี่ยนจาก Profit มาสู่ เรื่องสังคม ที่ผ่านมาสังเกตเห็นคือใครที่หลงไปในอาณาจักรการพัฒนา Business ตัวเองก็มักจะตั้งเป้าให้ ได้มาก ซึ่งหลุดจากกับดักตรงนี้ยากมากเพราะธุรกิจต้องใช้เงินทำให้ใหญ่กว่าเดิม ด้วยแรงบีบจากกฎระเบียบ ภาษี จะมาทำสิ่งที่ดูตอบแทนสังคมบ้าง โดยการทำ CSR แต่จริงสัมผัสในใจลึก ๆ การทุ่มงบกับการตอบแทน สังคมมันไม่ได้เทียบกับจำนวน profit ที่รับมา อะไรที่เป็น Turning point ทางจิตวิญญาณว่าทำอย่างไรจึง หลุดมาได้ พอหลุดมาก็สามารถ Sustain เรื่องที่เราจะทำในทิศทางใหม่ ให้อยู่ได้ต่อเนื่องจนปัจจุบัน ซึ่งนาน พอสมควรซึ่งนานพอจะรักษาแนวทางใหม่ คำตอบ ในภาคธุรกิจจะเปลี่ยนแนวคิดจากพวกทุนนิยม (Capitalist) ไปสู่ Sufficiency ยาก ส่วนใหญ่จะเป็น ลักษณะของ Volunteer เมื่อก่อนเราบอกว่า CSR นี่ต้อง Volunteer ไม่ได้บังคับ ใครอยากจะทำ และก็มีการทำดี เอาหน้าก็มากมาย มีคำอยู่สองคำ คือ Social Contribution กับ Cooperate Social Responsibility Social Contribution คือ การเอากำไรไปเจือจุนสังคม แต่บางทีกำไรไปเจือจุนอาจจะเป็นเงินที่สกปรก ทั้งโลกเลยไม่เอาแบบนี้ ไม่ต้องมาล้างบาป ฉะนั้น กรุณารับผิดชอบตั้งแต่ต้นน้ำ คือการทำธุรกิจอย่างรับผิดชอบ กำไรได้มาจะได้ไม่ต้องมาบริจาค ถึงได้มีคำว่า CSR ขึ้นมา เมื่อก่อนไม่ค่อยมีอะไรมาบังคับ เราโชคดีที่มีกลไกไม่ว่า จะเป็น ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ แล้วทั้งโลกมันเปลี่ยน การให้ค่าของความสำเร็จในธุรกิจมันเปลี่ยน มันมีตัวชี้วัดที่ จะบอกว่าบริษัทที่รวยแต่เป็นภาระโลกมีใครบ้าง โลกสมัยนี้มันโปร่งใสขึ้น (Transparency) จะมาสร้างภาพกันคง
  • 13. 11 ยากแล้ว เพราะฉะนั้น องค์กรที่ไม่ทำเพื่อสังคม ไม่ทำเรื่องพวกนี้เกือบจะอยู่ไม่ได้แล้ว มันก็จะมี Step ของมัน เวลา ที่เราจะเปลี่ยนธุรกิจไปสู่จุดที่เขาทำอย่างเต็มใจ Step แรก ต้องมีกฎบังคับว่าต้องทำ ถ้าไม่ทำไม่ให้ขายที่ประเทศ เรา พวกนี้ก็มีการดูแลน่านน้ำ พอ EU บอกว่าต้องมี Sustainable Fishing ก็ลุกขึ้นมาเปลี่ยน ธรรมชาติของคน อะไรที่ไม่เคยทำ พอถูกบังคับให้ทำ พอทำแล้วเริ่มชอบก็จะทำ Extra ขึ้นมา ให้ดูแลรักษาน้ำประมาณนี้แต่ทำ มากกว่า พอคนเหล่านี้เริ่มทำ เห็นเลยว่า feedback คือชุมชนเขารักองค์กรมากขึ้น คราวนี้การเปลี่ยนแปลงที่ ระเบิดจากข้างในมาเองว่าไม่ต้องมีใครมาบังคับเขาก็ทำ พอเปลี่ยนแล้วมีแต่คนรัก ชาวบ้านรัก สื่อมวลชนรัก NGO ก็อยากคุยด้วย เมื่อไรที่เขาเปลี่ยนจากข้างในมันก็จะถึง Step นั้น อันนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงในแง่ของธุรกิจ หนุ่ย ต้องถามกลับว่าฟังหนุ่ยแล้วจะไปเปลี่ยนวิธีในการสอนเด็กหรือเปล่า เพราะว่าเราเหนื่อยมากกับการที่ต้องทำงาน กับเด็กที่เรียกว่าไม่มีสาระกับความคิดแบบนี้ หนุ่ยคิดว่าทุก stakeholder ทุกส่วนต้องช่วยกัน