SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
การศึกษาทางวิทยาศาสตร์มีเป้ าหมายสาคัญ เพื่อความอยู่รอดของชีวิต และพัฒนา มาตรฐาน
การดารงชีวิตให้ดียิ่ง ๆ ขึ้น ดังนั้น ชีวิตตามแนวคิด วิทยาศาสตร์ จึงต่างจากศาสตร์แขนงอื่น ๆ
นางสาวปาริชาต พันธ์ธรรม กศพบ. 29 รหัสนักศึกษา
5530123315049
การเกิดของชีวิต
 เฉก ธนะสิริ (2535 : 4) ได้อธิบายการเกิด และส่วนประกอบของชีวิต ไว้ว่า
ชีวิต ในที่นี้หมายถึง ชีวิตมนุษย์เราทุกคน ชีวิตเรานี้ประกอบด้วย อวัยวะต่าง ๆ
หลายชนิด และอวัยวะต่าง ๆ นี้ประกอบด้วย เซลล์ชนิดต่าง ๆ อีกมากมาย
หลายชนิด แต่ละชนิด จะประกอบด้วยเซลล์ ของแต่ละชนิด อีกมากมาย มีผู้
คานวณพบว่ามีจานวนถึง 5 หมื่น ล้านเซลล์ ส่วนความยาวของเส้นโลหิตใหญ่
สุดจนถึงเล็กสุด ถ้าจับต่อกัน จะมีความยาวถึง 50,000 กิโลเมตร และความ
ยาว ของเส้นประสาทใหญ่น้อย ถ้าจับต่อกันเข้าก็จะยาวถึง 25,000 กิโลเมตร
ซึ่งมากกว่าความยาวของ เส้นรอบโลก ถึง 1,000 กิโลเมตร ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้
ประกอบเป็นร่างกายของคนเรา หรือเป็นหนึ่งชีวิต มนุษย์เรานี้เอง
การเกิดของชีวิต
 ชีวิตมนุษย์นั้นเกิดจาก การมีเพศสัมพันธ์ ระหว่างชายกับหญิง ซึ่งตัวอสุจิ ของชาย เพียง 1 ตัวเท่านั้นใน
จานวนหลายล้านตัว ที่สามารถวิ่งชอนไช จากช่องคลอดเข้าไป ผสมพันธ์ หรือปฏิสนธิกับไข่ ในท่อรังไข่
ของผู้หญิง ในสภาวะแวดล้อมที่ เหมาะสม ตรงระยะพอดี ที่ไข่สุก แล้วเคลื่อนตัวตามท่อรังไข่ ไปฝังตัวใน
ผนังมดลูกของแม่ แล้วตัวอ่อน ก็จะเจริญเติบโต ในมดลูกของแม่ จนครบกาหนดคลอด ใช้เวลาทั้งหมด
เกือบ 10 เดือน ในทางวิทยาศาสตร์การ แพทย์ อธิบายว่า ในตัวเชื้ออสุจิของชาย และไข่ของหญิง เมื่อ
ผสมกัน ก็จะมียีนส์ (Genes) และโครโมโซม (Chromosomes) ถ่ายทอด คุณลักษณะ
นิสัย ของพ่อ และแม่ไปสู่ลูก ซึ่งอธิบายได้ด้วยวิทยาศาสตร์ สาขาพันธุ์ วิศวกรรมศาสตร์ (Genetic
Engineering) ชเรอร์ดิงเจอร์ (Scherdinger. 1944, อ้างถึงใน สานักงาน พัฒนา
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ . 2543 : 354-355) ได้กล่าว ในหนังสือชื่อ ชีวิตคืออะไร (What
is Life?) ว่าชีวิตสามารถอธิบายได้ด้วย รหัสทาง พันธุกรรม (Genertic Code) ซึ่งเขียน
อยู่ในโมเลกุล ที่อยู่ในเซลล์ สามารถ อธิบายความลับ ของชีวิต ได้จากการฉายรังสีเอ็กซ์ แล้ววิเคราะห์ รัง
สีเอ็กซ์ ที่สะท้อน ออกมาจากโมเลกุล ของดีเอ็นเอ แล้วสามารถนา รายละเอียด มาประกอบเป็น
โครงสร้างว่า ดีเอ็นเอนั้น มีลักษณะเป็นเกลียว สองชั้น ปัจจุบันได้มีการถอดรหัส ดีเอ็นเอของมนุษย์ การ
ปลูกถ่ายอวัยวะ จากสเต็มเซลล์ และการโคลนนิ่ง (Cloning) พืช และสัตว์ได้แล้ว
พัฒนาการของชีวิต
 ชีวิตของมนุษย์ มีจุดเริ่มต้นจากเซลล์เล็ก ๆ เพียงเซลล์เดียว ที่เกิดจากการ
ปฏิสนธิกัน ระหว่างอสุจิกับไข่ แล้วเจริญเติบโต และมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง
ตามลาดับขั้น ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม โดย
วิทยาศาสตร์ สาขา พฤติกรรมศาสตร์ คือ จิตวิทยาพัฒนาการ ได้อธิบาย
พัฒนาการของชีวิต จาแนกเป็น วัยต่าง ๆ สรุปดังภาพที่ 3.2 และตารางที่
3.1 ดังนี้ (พนมไพร ไชยยงค์. 2542 : 174)
จากการแบ่งวัยเป็น 10 วัยดังกล่าวเนื่องจาก ช่วงชีวิตแต่ละวัยจะมีพฤติกรรม และการ
เปลี่ยนแปลง ทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม คล้ายคลึงกัน
การแก้ปัญหาชีวิต ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่มีความสาคัญ และจาเป็นอย่างมาก กับวิถีชีวิต ของ
ทุกคน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการศึกษา การประกอบอาชีพ หรือการแก้ไขปัญหา
ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน เพื่อให้ชีวิตดาเนินไปตามหลักเหตุผล และสอดคล้อง
กับวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ 5 ขั้นตอน ดังภาพที่ 3.3 (เติมศักดิ์ เศรษฐวัชราว
นิช. 2540 : 75 – 80)
ขั้นที่ 1 การสังเกต
 จุดเริ่มต้นของปัญหาคือ การเผชิญกับปัญหา และจุดเริ่มต้นของการ แก้ปัญหา ด้วย
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ คือ การสังเกต ซึ่งเป็นการเฝ้ าดู ตามที่ได้ วางแผนไว้ มีทั้งข้อมูลทาง
วัตถุ และเหตุการณ์ และมีการบันทึกข้อมูลไว้ โดยต้องบันทึก อย่างไม่มีอคติ บันทึกทุก ๆ
อย่างที่ตนได้ประสบจากการสังเกต มาใช้โดยตรง
ขั้นที่ 2 การตั้งปัญหา
 การตั้งปัญหา เริ่มจากการเผชิญกับปัญหาเสียก่อน แล้วดาเนินการ ระบุปัญหา และกาหนด
ขอบเขตของปัญหา ปัญหาที่ตั้งนี้ เป็นการตั้งภายหลัง ที่พบปรากฏการณ์แล้ว การตั้งปัญหา
จะต้องระบุลงไปให้ชัดเจน ไม่กากวม เมื่อปัญหา หรือข้อขัดแย้งใด ๆ เกิดขึ้น จะต้องศึกษา
ว่า เป็นปัญหาเรื่องอะไร มีประเด็นปัญหาที่สาคัญอะไร บ้างก่อนที่จะ ดาเนินการ ค้นหา
คาตอบ ต้องเข้าใจ ปัญหา ให้ชัดเจนก่อน โดยทั่วไปแล้ว นิยมตั้งปัญหา ในรูปของคาถาม
เพราะปัญหา คือ คาถาม ที่ต้องการหาคาตอบ เช่น ความยากจน เกิดจากอะไร หรือ ความ
ยากจนเกิดขึ้นได้อย่างไร ทาไมจึงยากจน คาถามเหล่านี้ เป็นการ ถามหาสาเหตุ หรือ
ความสัมพันธ์ระหว่าง ส่วนที่เป็นเหตุกับส่วนที่เป็นผล ซึ่งต้องระบุให้ชัดเจน โดยทั่วไปนิยม
ตั้งคาถามโดย ยึดหลัก
5W2H ได้แก่ What Where When Why Who How
How much ก็คือ เกิดอะไรขึ้น ที่ไหน เมื่อไร ทาไม ใครเกี่ยวข้อง เป็นอย่างไร
จานวนเท่าใด
ขั้นที่ 3 การสร้างสมมติฐาน
 เมื่อได้ปัญหาแล้ว ขั้นต่อไป คือ การคิดหาคาตอบ ที่น่าจะเป็นไปได้ของปัญหา
หรือคาตอบที่คาดว่า ควรจะเป็นอย่างไร ทางเลือกไหน จะเป็นทางเลือกที่ถูกต้อง
การคาดคะเนคาตอบ ที่น่าจะเป็นไปได้บนพื้นฐาน ของข้อมูลที่ได้ จากการ
สังเกต ปรากฏการณ์ เรียกว่าสมมติฐาน หรือแนวทาง แก้ปัญหา สาหรับปัญหา
หนึ่ง ๆ อาจจะ มีการสร้างสมมติฐาน หรือแนวทาง การแก้ปัญหาได้หลาย
แนวทาง แต่จะมีแนวทาง ที่ถูกต้องเพียงแนวทางเดียว เพื่อเป็นการทดสอบหา
เหตุผล สมมติฐานที่ตั้งไว้จึงได้เป็นเกณฑ์ตัดสินใจ เลือกวิธีการที่ดีที่สุดได้
ขั้นที่ 4 การทดลอง
 การที่จะทดสอบว่า สมมติฐานที่สร้างไว้ถูกหรือผิด ก็จะต้องมี หลักฐานยืนยัน
การรวบรวมหลักฐาน หรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อนาไปแปลผล วิเคราะห์ตัดสิน
และลงข้อสรุปในขั้นตอนต่อไป
ขั้นที่ 5 การลงข้อสรุป
 เมื่อหลักฐานข้อมูลพร้อมแล้ว ก็นาข้อมูลมาตีความหมายมาพิจารณา หา
ความจริงที่เกิดขึ้น เพื่อจะลงข้อสรุปต่อไปการสรุปนี้คือการยอมรับ หรือปฏิเสธ
สมมติฐาน ถ้ายอมรับก็นาไปใช้เป็นแนวทาง ในการแก้ปัญหาชีวิตต่อไป
ถามตอบทบทวนบทเรียน
1. การเกิดของชีวิตตามแนวคิดวิทยาศาสตร์คือ
ตอบ ชีวิตเรานี้ประกอบด้วย อวัยวะต่าง ๆ หลายชนิด และอวัยวะต่าง ๆ นี้ประกอบด้วย เซลล์ชนิดต่าง ๆ อีกมากมาย หลายชนิด แต่ละชนิด จะ
ประกอบด้วยเซลล์ ของแต่ละชนิด อีกมากมาย มีผู้คานวณพบว่ามีจานวนถึง 5 หมื่น ล้านเซลล์ ส่วนความยาวของเส้นโลหิตใหญ่ สุดจนถึงเล็กสุด ถ้าจับ
ต่อกัน จะมีความยาวถึง 50,000 กิโลเมตร และความยาว ของเส้นประสาทใหญ่น้อย ถ้าจับต่อกันเข้าก็จะยาวถึง 25,000 กิโลเมตร ซึ่งมากกว่าความยาว
ของ เส้นรอบโลก ถึง 1,000 กิโลเมตร ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ ประกอบเป็นร่างกายของคนเรา
2. โครงสร้างของร่างกายมนุษย์ประกอบด้วย
ตอบ 1)กระดูก 206 ท่อน
2)กล้ามเนื้อ 792 มัด
3)สมองผู้ชายหนักประมาณ 1,380 กรัม
4)สมองผู้หญิงหนักประมาณ 1,250 กรัม
5)เลือดจะมีประมาณ 7 - 8 % ของน้าหนักร่างกายหรือประมาณ 5 - 6 ลิตร
6)น้ามีประมาณ 2/3 ของน้าหนักร่างกาย
7)โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน เกลือแร่ วิตามิน ฯลฯ
3. เป้ าหมายชีวิต ทางวิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ตอบ ความอยู่รอดของชีวิต และพัฒนามาตรฐานการดารงชีวิตให้ดียิ่งๆขึ้นไป
4. มาสโลว์ได้กาหนดหลักการ ไว้ว่าอย่างไร
ตอบ บุคคลตอบสนองความต้องการของตนเอง เพื่อความอยู่รอดและความสาเร็จของตน
5. วิทยาศาสตร์สาคัญกับเป้ าหมายอย่างไร
ตอบ - การพัฒนาคุณภาพชีวิต
- การสร้างสรรค์และพัฒนาประเทศในทุกๆด้าน ทั้งเศรฐกิจ สังคม การเมือง
- การศึกษ
- ด้านอุตสาหกรรม
- ด้านช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
- ด้านสาธารณสุข
- ด้านเกษตร
6. ข้อเสียการใช้ชีวิตที่พึ่งพาวิทยาศาสตร์มากไป
ตอบ มุ่งหวังแต่สิ่งอานวยความสะดวก ทาให้ศุนย์เสียศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง และเกิดความเคยยชิน ส่งผลให้มนุษย์ตกเป็นทาส ของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
7. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีผลต่อคุณภาพชีวิตอย่างไร
ตอบ มีทั้งด้านสร้างสรรค์เช่นก้าวหน้าก้าวไกล ช่วยส่งเสริม อุตสาหกรรม ป้ องกันส่งเสริม สุขภาพอนามัย ด้านการคุกคาม และทาลายคุณภาพชีวิจ
เช่นทาลายสิ่งแวดล้อม สูญเสียวัฒนธรรมประเพณี หลงไหลในความสะดวกสบาย จนไม่นึกถึงความจิงของชีวิต
8. ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีอะไรบ้าง
ตอบ -การแก้ไขปัญหาในชีวิต
-วิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์ ที่เป็นจริงในชีวิตประจาวัน เพื่อการแก้ปัญหา
-สร้างคนให้มีกระบวนการคิด มีเหตุมีผล
9. การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยไม่คานึงถึงสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดผลเสียอย่างไร
ตอบ พลังงานสิ้นเปลือง กระทบต่อคุณภาพชีวิตของบุคคล และสังคม
10. เป้ าหมายคุณภาพชีวิตจะสาเร็จลุล่วงไปได้อย่างไร
ตอบ เรียนรู้การพัฒนา ควบคู่ กับ คุณธรรม จริยธรรม และคุณค่าของวัฒนธรรมในสังคมของตนเอง จะส่งผลให้คุณภาพชีวิตพัฒนาไปอย่างยั่งยืน

More Related Content

What's hot

โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศsutima piboon
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานSirilag Maknaka
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองChainarong Maharak
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)Chamada Rinzine
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60Krittalak Chawat
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
8 บทที่  3  อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ8 บทที่  3  อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการAugusts Programmer
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
การอ่าน PISA
การอ่าน PISAการอ่าน PISA
การอ่าน PISAPatcha Linsay
 

What's hot (20)

โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
 
Healthy food
Healthy foodHealthy food
Healthy food
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
8 บทที่  3  อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ8 บทที่  3  อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
การอ่าน PISA
การอ่าน PISAการอ่าน PISA
การอ่าน PISA
 

Viewers also liked

A HISTÓRIA DE PRAIA GRANDE
A HISTÓRIA DE PRAIA GRANDEA HISTÓRIA DE PRAIA GRANDE
A HISTÓRIA DE PRAIA GRANDEKelly Delfino
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
Abdul Rehman resume1
Abdul Rehman resume1Abdul Rehman resume1
Abdul Rehman resume1Abdul Rehman
 
Pere Marquette Park 7-11-2016
Pere Marquette Park 7-11-2016Pere Marquette Park 7-11-2016
Pere Marquette Park 7-11-2016cityofmuskegon
 
Курс «Основы мастерства в столярном деле»
Курс «Основы мастерства в столярном деле» Курс «Основы мастерства в столярном деле»
Курс «Основы мастерства в столярном деле» Делай вещь
 
Marissa Gimbel Portfolio
 Marissa Gimbel Portfolio  Marissa Gimbel Portfolio
Marissa Gimbel Portfolio Marissa Gimbel
 
An Introduction to COPE Data
An Introduction to COPE DataAn Introduction to COPE Data
An Introduction to COPE DataGarrett Conti
 
Construccion columnas
Construccion columnasConstruccion columnas
Construccion columnasMaria Boss
 
Lola Olivero CV 2016
Lola Olivero CV 2016Lola Olivero CV 2016
Lola Olivero CV 2016Lola Olivero
 
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS Maria Boss
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขาppompuy pantham
 
Beyond BYOD
Beyond BYODBeyond BYOD
Beyond BYODWorksPad
 
Is หรือ isis คือ
Is หรือ isis คือIs หรือ isis คือ
Is หรือ isis คือppompuy pantham
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาppompuy pantham
 

Viewers also liked (20)

A HISTÓRIA DE PRAIA GRANDE
A HISTÓRIA DE PRAIA GRANDEA HISTÓRIA DE PRAIA GRANDE
A HISTÓRIA DE PRAIA GRANDE
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
Abdul Rehman resume1
Abdul Rehman resume1Abdul Rehman resume1
Abdul Rehman resume1
 
Pere Marquette Park 7-11-2016
Pere Marquette Park 7-11-2016Pere Marquette Park 7-11-2016
Pere Marquette Park 7-11-2016
 
Курс «Основы мастерства в столярном деле»
Курс «Основы мастерства в столярном деле» Курс «Основы мастерства в столярном деле»
Курс «Основы мастерства в столярном деле»
 
Marissa Gimbel Portfolio
 Marissa Gimbel Portfolio  Marissa Gimbel Portfolio
Marissa Gimbel Portfolio
 
An Introduction to COPE Data
An Introduction to COPE DataAn Introduction to COPE Data
An Introduction to COPE Data
 
Construccion columnas
Construccion columnasConstruccion columnas
Construccion columnas
 
VOCABULARIO
VOCABULARIOVOCABULARIO
VOCABULARIO
 
Soft skills-students
Soft skills-studentsSoft skills-students
Soft skills-students
 
Bim +
Bim +Bim +
Bim +
 
Julio De arce actividad1_2_mapac
Julio De arce actividad1_2_mapacJulio De arce actividad1_2_mapac
Julio De arce actividad1_2_mapac
 
Lola Olivero CV 2016
Lola Olivero CV 2016Lola Olivero CV 2016
Lola Olivero CV 2016
 
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
MUKKAM
MUKKAMMUKKAM
MUKKAM
 
Beyond BYOD
Beyond BYODBeyond BYOD
Beyond BYOD
 
Is หรือ isis คือ
Is หรือ isis คือIs หรือ isis คือ
Is หรือ isis คือ
 
Jimmy fernandez 3ºb
Jimmy fernandez 3ºbJimmy fernandez 3ºb
Jimmy fernandez 3ºb
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 

Similar to ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์

เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์ศศิพร แซ่เฮ้ง
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยาpoms0077
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349CUPress
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้Tawanat Ruamphan
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for healthSirintra Chaiwong
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2poms0077
 
ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3Nanapawan Jan
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146CUPress
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 

Similar to ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ (20)

เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for health
 
11
1111
11
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 

More from ppompuy pantham

เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีเป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีppompuy pantham
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสดppompuy pantham
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2ppompuy pantham
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1ppompuy pantham
 
การสร้างสันติสุขสันติภาพ
การสร้างสันติสุขสันติภาพการสร้างสันติสุขสันติภาพ
การสร้างสันติสุขสันติภาพppompuy pantham
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขาppompuy pantham
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ppompuy pantham
 
กฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรมกฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรมppompuy pantham
 

More from ppompuy pantham (12)

เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีเป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
การสร้างสันติสุขสันติภาพ
การสร้างสันติสุขสันติภาพการสร้างสันติสุขสันติภาพ
การสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
กฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรมกฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรม
 
Bigbang
BigbangBigbang
Bigbang
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 

ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์

  • 1. ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาทางวิทยาศาสตร์มีเป้ าหมายสาคัญ เพื่อความอยู่รอดของชีวิต และพัฒนา มาตรฐาน การดารงชีวิตให้ดียิ่ง ๆ ขึ้น ดังนั้น ชีวิตตามแนวคิด วิทยาศาสตร์ จึงต่างจากศาสตร์แขนงอื่น ๆ นางสาวปาริชาต พันธ์ธรรม กศพบ. 29 รหัสนักศึกษา 5530123315049
  • 2. การเกิดของชีวิต  เฉก ธนะสิริ (2535 : 4) ได้อธิบายการเกิด และส่วนประกอบของชีวิต ไว้ว่า ชีวิต ในที่นี้หมายถึง ชีวิตมนุษย์เราทุกคน ชีวิตเรานี้ประกอบด้วย อวัยวะต่าง ๆ หลายชนิด และอวัยวะต่าง ๆ นี้ประกอบด้วย เซลล์ชนิดต่าง ๆ อีกมากมาย หลายชนิด แต่ละชนิด จะประกอบด้วยเซลล์ ของแต่ละชนิด อีกมากมาย มีผู้ คานวณพบว่ามีจานวนถึง 5 หมื่น ล้านเซลล์ ส่วนความยาวของเส้นโลหิตใหญ่ สุดจนถึงเล็กสุด ถ้าจับต่อกัน จะมีความยาวถึง 50,000 กิโลเมตร และความ ยาว ของเส้นประสาทใหญ่น้อย ถ้าจับต่อกันเข้าก็จะยาวถึง 25,000 กิโลเมตร ซึ่งมากกว่าความยาวของ เส้นรอบโลก ถึง 1,000 กิโลเมตร ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ ประกอบเป็นร่างกายของคนเรา หรือเป็นหนึ่งชีวิต มนุษย์เรานี้เอง
  • 3. การเกิดของชีวิต  ชีวิตมนุษย์นั้นเกิดจาก การมีเพศสัมพันธ์ ระหว่างชายกับหญิง ซึ่งตัวอสุจิ ของชาย เพียง 1 ตัวเท่านั้นใน จานวนหลายล้านตัว ที่สามารถวิ่งชอนไช จากช่องคลอดเข้าไป ผสมพันธ์ หรือปฏิสนธิกับไข่ ในท่อรังไข่ ของผู้หญิง ในสภาวะแวดล้อมที่ เหมาะสม ตรงระยะพอดี ที่ไข่สุก แล้วเคลื่อนตัวตามท่อรังไข่ ไปฝังตัวใน ผนังมดลูกของแม่ แล้วตัวอ่อน ก็จะเจริญเติบโต ในมดลูกของแม่ จนครบกาหนดคลอด ใช้เวลาทั้งหมด เกือบ 10 เดือน ในทางวิทยาศาสตร์การ แพทย์ อธิบายว่า ในตัวเชื้ออสุจิของชาย และไข่ของหญิง เมื่อ ผสมกัน ก็จะมียีนส์ (Genes) และโครโมโซม (Chromosomes) ถ่ายทอด คุณลักษณะ นิสัย ของพ่อ และแม่ไปสู่ลูก ซึ่งอธิบายได้ด้วยวิทยาศาสตร์ สาขาพันธุ์ วิศวกรรมศาสตร์ (Genetic Engineering) ชเรอร์ดิงเจอร์ (Scherdinger. 1944, อ้างถึงใน สานักงาน พัฒนา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ . 2543 : 354-355) ได้กล่าว ในหนังสือชื่อ ชีวิตคืออะไร (What is Life?) ว่าชีวิตสามารถอธิบายได้ด้วย รหัสทาง พันธุกรรม (Genertic Code) ซึ่งเขียน อยู่ในโมเลกุล ที่อยู่ในเซลล์ สามารถ อธิบายความลับ ของชีวิต ได้จากการฉายรังสีเอ็กซ์ แล้ววิเคราะห์ รัง สีเอ็กซ์ ที่สะท้อน ออกมาจากโมเลกุล ของดีเอ็นเอ แล้วสามารถนา รายละเอียด มาประกอบเป็น โครงสร้างว่า ดีเอ็นเอนั้น มีลักษณะเป็นเกลียว สองชั้น ปัจจุบันได้มีการถอดรหัส ดีเอ็นเอของมนุษย์ การ ปลูกถ่ายอวัยวะ จากสเต็มเซลล์ และการโคลนนิ่ง (Cloning) พืช และสัตว์ได้แล้ว
  • 4. พัฒนาการของชีวิต  ชีวิตของมนุษย์ มีจุดเริ่มต้นจากเซลล์เล็ก ๆ เพียงเซลล์เดียว ที่เกิดจากการ ปฏิสนธิกัน ระหว่างอสุจิกับไข่ แล้วเจริญเติบโต และมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ตามลาดับขั้น ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม โดย วิทยาศาสตร์ สาขา พฤติกรรมศาสตร์ คือ จิตวิทยาพัฒนาการ ได้อธิบาย พัฒนาการของชีวิต จาแนกเป็น วัยต่าง ๆ สรุปดังภาพที่ 3.2 และตารางที่ 3.1 ดังนี้ (พนมไพร ไชยยงค์. 2542 : 174)
  • 5.
  • 6. จากการแบ่งวัยเป็น 10 วัยดังกล่าวเนื่องจาก ช่วงชีวิตแต่ละวัยจะมีพฤติกรรม และการ เปลี่ยนแปลง ทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม คล้ายคลึงกัน
  • 7. การแก้ปัญหาชีวิต ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์  หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่มีความสาคัญ และจาเป็นอย่างมาก กับวิถีชีวิต ของ ทุกคน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการศึกษา การประกอบอาชีพ หรือการแก้ไขปัญหา ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน เพื่อให้ชีวิตดาเนินไปตามหลักเหตุผล และสอดคล้อง กับวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ 5 ขั้นตอน ดังภาพที่ 3.3 (เติมศักดิ์ เศรษฐวัชราว นิช. 2540 : 75 – 80)
  • 8.
  • 9. ขั้นที่ 1 การสังเกต  จุดเริ่มต้นของปัญหาคือ การเผชิญกับปัญหา และจุดเริ่มต้นของการ แก้ปัญหา ด้วย วิธีการทางวิทยาศาสตร์ คือ การสังเกต ซึ่งเป็นการเฝ้ าดู ตามที่ได้ วางแผนไว้ มีทั้งข้อมูลทาง วัตถุ และเหตุการณ์ และมีการบันทึกข้อมูลไว้ โดยต้องบันทึก อย่างไม่มีอคติ บันทึกทุก ๆ อย่างที่ตนได้ประสบจากการสังเกต มาใช้โดยตรง
  • 10. ขั้นที่ 2 การตั้งปัญหา  การตั้งปัญหา เริ่มจากการเผชิญกับปัญหาเสียก่อน แล้วดาเนินการ ระบุปัญหา และกาหนด ขอบเขตของปัญหา ปัญหาที่ตั้งนี้ เป็นการตั้งภายหลัง ที่พบปรากฏการณ์แล้ว การตั้งปัญหา จะต้องระบุลงไปให้ชัดเจน ไม่กากวม เมื่อปัญหา หรือข้อขัดแย้งใด ๆ เกิดขึ้น จะต้องศึกษา ว่า เป็นปัญหาเรื่องอะไร มีประเด็นปัญหาที่สาคัญอะไร บ้างก่อนที่จะ ดาเนินการ ค้นหา คาตอบ ต้องเข้าใจ ปัญหา ให้ชัดเจนก่อน โดยทั่วไปแล้ว นิยมตั้งปัญหา ในรูปของคาถาม เพราะปัญหา คือ คาถาม ที่ต้องการหาคาตอบ เช่น ความยากจน เกิดจากอะไร หรือ ความ ยากจนเกิดขึ้นได้อย่างไร ทาไมจึงยากจน คาถามเหล่านี้ เป็นการ ถามหาสาเหตุ หรือ ความสัมพันธ์ระหว่าง ส่วนที่เป็นเหตุกับส่วนที่เป็นผล ซึ่งต้องระบุให้ชัดเจน โดยทั่วไปนิยม ตั้งคาถามโดย ยึดหลัก 5W2H ได้แก่ What Where When Why Who How How much ก็คือ เกิดอะไรขึ้น ที่ไหน เมื่อไร ทาไม ใครเกี่ยวข้อง เป็นอย่างไร จานวนเท่าใด
  • 11. ขั้นที่ 3 การสร้างสมมติฐาน  เมื่อได้ปัญหาแล้ว ขั้นต่อไป คือ การคิดหาคาตอบ ที่น่าจะเป็นไปได้ของปัญหา หรือคาตอบที่คาดว่า ควรจะเป็นอย่างไร ทางเลือกไหน จะเป็นทางเลือกที่ถูกต้อง การคาดคะเนคาตอบ ที่น่าจะเป็นไปได้บนพื้นฐาน ของข้อมูลที่ได้ จากการ สังเกต ปรากฏการณ์ เรียกว่าสมมติฐาน หรือแนวทาง แก้ปัญหา สาหรับปัญหา หนึ่ง ๆ อาจจะ มีการสร้างสมมติฐาน หรือแนวทาง การแก้ปัญหาได้หลาย แนวทาง แต่จะมีแนวทาง ที่ถูกต้องเพียงแนวทางเดียว เพื่อเป็นการทดสอบหา เหตุผล สมมติฐานที่ตั้งไว้จึงได้เป็นเกณฑ์ตัดสินใจ เลือกวิธีการที่ดีที่สุดได้
  • 12. ขั้นที่ 4 การทดลอง  การที่จะทดสอบว่า สมมติฐานที่สร้างไว้ถูกหรือผิด ก็จะต้องมี หลักฐานยืนยัน การรวบรวมหลักฐาน หรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อนาไปแปลผล วิเคราะห์ตัดสิน และลงข้อสรุปในขั้นตอนต่อไป
  • 13. ขั้นที่ 5 การลงข้อสรุป  เมื่อหลักฐานข้อมูลพร้อมแล้ว ก็นาข้อมูลมาตีความหมายมาพิจารณา หา ความจริงที่เกิดขึ้น เพื่อจะลงข้อสรุปต่อไปการสรุปนี้คือการยอมรับ หรือปฏิเสธ สมมติฐาน ถ้ายอมรับก็นาไปใช้เป็นแนวทาง ในการแก้ปัญหาชีวิตต่อไป
  • 14. ถามตอบทบทวนบทเรียน 1. การเกิดของชีวิตตามแนวคิดวิทยาศาสตร์คือ ตอบ ชีวิตเรานี้ประกอบด้วย อวัยวะต่าง ๆ หลายชนิด และอวัยวะต่าง ๆ นี้ประกอบด้วย เซลล์ชนิดต่าง ๆ อีกมากมาย หลายชนิด แต่ละชนิด จะ ประกอบด้วยเซลล์ ของแต่ละชนิด อีกมากมาย มีผู้คานวณพบว่ามีจานวนถึง 5 หมื่น ล้านเซลล์ ส่วนความยาวของเส้นโลหิตใหญ่ สุดจนถึงเล็กสุด ถ้าจับ ต่อกัน จะมีความยาวถึง 50,000 กิโลเมตร และความยาว ของเส้นประสาทใหญ่น้อย ถ้าจับต่อกันเข้าก็จะยาวถึง 25,000 กิโลเมตร ซึ่งมากกว่าความยาว ของ เส้นรอบโลก ถึง 1,000 กิโลเมตร ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ ประกอบเป็นร่างกายของคนเรา 2. โครงสร้างของร่างกายมนุษย์ประกอบด้วย ตอบ 1)กระดูก 206 ท่อน 2)กล้ามเนื้อ 792 มัด 3)สมองผู้ชายหนักประมาณ 1,380 กรัม 4)สมองผู้หญิงหนักประมาณ 1,250 กรัม 5)เลือดจะมีประมาณ 7 - 8 % ของน้าหนักร่างกายหรือประมาณ 5 - 6 ลิตร 6)น้ามีประมาณ 2/3 ของน้าหนักร่างกาย 7)โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน เกลือแร่ วิตามิน ฯลฯ
  • 15. 3. เป้ าหมายชีวิต ทางวิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร ตอบ ความอยู่รอดของชีวิต และพัฒนามาตรฐานการดารงชีวิตให้ดียิ่งๆขึ้นไป 4. มาสโลว์ได้กาหนดหลักการ ไว้ว่าอย่างไร ตอบ บุคคลตอบสนองความต้องการของตนเอง เพื่อความอยู่รอดและความสาเร็จของตน 5. วิทยาศาสตร์สาคัญกับเป้ าหมายอย่างไร ตอบ - การพัฒนาคุณภาพชีวิต - การสร้างสรรค์และพัฒนาประเทศในทุกๆด้าน ทั้งเศรฐกิจ สังคม การเมือง - การศึกษ - ด้านอุตสาหกรรม - ด้านช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ - ด้านสาธารณสุข - ด้านเกษตร 6. ข้อเสียการใช้ชีวิตที่พึ่งพาวิทยาศาสตร์มากไป ตอบ มุ่งหวังแต่สิ่งอานวยความสะดวก ทาให้ศุนย์เสียศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง และเกิดความเคยยชิน ส่งผลให้มนุษย์ตกเป็นทาส ของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • 16. 7. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีผลต่อคุณภาพชีวิตอย่างไร ตอบ มีทั้งด้านสร้างสรรค์เช่นก้าวหน้าก้าวไกล ช่วยส่งเสริม อุตสาหกรรม ป้ องกันส่งเสริม สุขภาพอนามัย ด้านการคุกคาม และทาลายคุณภาพชีวิจ เช่นทาลายสิ่งแวดล้อม สูญเสียวัฒนธรรมประเพณี หลงไหลในความสะดวกสบาย จนไม่นึกถึงความจิงของชีวิต 8. ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีอะไรบ้าง ตอบ -การแก้ไขปัญหาในชีวิต -วิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์ ที่เป็นจริงในชีวิตประจาวัน เพื่อการแก้ปัญหา -สร้างคนให้มีกระบวนการคิด มีเหตุมีผล 9. การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยไม่คานึงถึงสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดผลเสียอย่างไร ตอบ พลังงานสิ้นเปลือง กระทบต่อคุณภาพชีวิตของบุคคล และสังคม 10. เป้ าหมายคุณภาพชีวิตจะสาเร็จลุล่วงไปได้อย่างไร ตอบ เรียนรู้การพัฒนา ควบคู่ กับ คุณธรรม จริยธรรม และคุณค่าของวัฒนธรรมในสังคมของตนเอง จะส่งผลให้คุณภาพชีวิตพัฒนาไปอย่างยั่งยืน