SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
"ปรั บระบบความคิด พิชิตอัฉริยภาพ"




                        นางสาวพัชรินทร์ สมบูรณ์

                        สาขาหลักสูตรและการสอน

                        รหัส 55120609210 รุ่ น 14/2
ในโลกยุคโลกาภิวตน์ ทีมการเปลียนแปลง อย่างต่อเนื่องอยู่เสมอ ไม่วาจะเป็ นใน เรืองของ
                         ั    ่ ี     ่                                ่            ่
                  ่
เทคโนโลยี การสือสาร สภาพเศรษฐกิจ และ ข ้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ทีมการส่งถ่ายถึงกันและกันเร็วขึน
                                                               ่ ี                         ้
และจากการเปลียนแปลง ทีเกิดขึนอย่างรวดเร็ว นี้เองจึงเป็ นเสมือน พลังผลักดัน ให ้คนแต่ละคน ต่าง
                ่          ่      ้
ต ้องตระหนักถึง ความสาคัญของการเปลียนแปลง อันทาให ้เกิดการ พัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่องอยู่เสมอ
                                        ่
เพือให ้ตนมี ความพร ้อมรับมือกับ การเปลียนแปลงทีเกิดขึนอย่างไม่หยุดยัง
    ่                                     ่     ่     ้              ้

ผู ้ทีพัฒนาตนเอง ย่อมเป็ นบุคคลที่ ประสบความสาเร็จ ในหน ้าทีการงาน ได ้รับความก ้าวหน ้าใน สาย
      ่                                                      ่
อาชีพ ได ้รับคายกย่อง สรรเสริญมากกว่า ผู ้ทีทางานอยู่ไปวัน ๆ โดยไม่สนใจทีจะ พัฒนา ความรู ้และ
                                            ่                             ่
                                              ่ ่
ความสามารถของตนเอง ชอบทางาน ตามคาสังทีได ้รับมอบหมาย จากหัวหน ้างานเท่านัน         ้
ดังนันหากคุณมีความอยาก และต ้องการทีจะ ประสบผลสาเร็จในชีวต คุณไม่ควรรอให ้หัวหน ้างาน
     ้                                     ่                      ิ
องค์การ หรือผู ้อืนมาพัฒนาความรู ้ ความสามารถ ของคุณเองในการทางานเท่านัน การเริมต ้นทีจะ
                    ่                                                       ้      ่         ่
                               ่       ่ ่ ุ
พัฒนาตนเอง โดยไม่พงพาผู ้อืน เป็ นสิงทีคณควรกระทาเป็ นอย่างยิง คุณต ้องตระหนักอยู่เสมอว่า " ชีวต
                         ึ่                                     ่                                    ิ
คุณ คุณเป็ นผู ้เลือกทีจะลิขตหรือ เลือกเส ้นทางใน การดาเนินชีวตเอง " คุณอย่าปล่อยให ้ผู ้อืนมาเป็ น ผู ้มี
                       ่    ิ                                 ิ                            ่
                  ้
อิทธิพล และ ชีนาการดาเนินชีวต ของตัวคุ
                                 ิ




                                 เรื่อง "ปรับระบบความคิด พิชิตอัฉริยภาพ"
                                                       ่                          ่
        ภารกิจหลักของสมองที่ถูกสร้างขึ้นมา เพื่อความอยูรอดของสิ่งมีชีวิตที่สมองอยูใน
ร่ างกายนั้น สมองของมนุษย์มีคนละ 1 ก้อน ประกอบไปด้วย 3 ส่วนดังนี้

                                       ่
- ส่ วนคิด ส่วนเปลือกสมองใหม่ อยูตรงส่วนท้ายทอยเติบโตมาช้าที่สุด เก็บข้อมูลที่เป็ นความ
ทรงจาระยะยาวต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเป็ นมนุษย์ บุคลิกภาพ การทางาน การวางแผนระยะยาว
ลิงชิมแปนซี ซ่ ึ งมีดีเอ็นเอซ้ ากับมนุษย์ถึง 99.5 % ก็มีสมองส่วนนี้เหมือนกับมนุษย์

                    ่
- ส่ วนอารมณ์ อยูในเปลือกสมองใหม่ มีองค์ประกอบเยอะมาก เป็ นชิ้นเล็กๆ เป็ นศูนย์บญชาการ
                                                                                ั
ควบคุมอารมณ์ทกชนิด ดีใจ โกรธ เศร้า มีความหวัง มีความทุกข์ ความสุข ทางานไม่มีวนหยุด
                  ุ                                                               ั
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมก็มีสมองส่วนนี้เหมือนกับมนุษย์

- ส่ วนอัตโนมัติ ก้านสมองต่อจากระดูกสันหลัง ดูแลเรื่ องระบบอัตโนมัติ เราควบคุมไม่ได้เพราะ
เขาทางานเอง เช่นการ หายใจ การสูบฉี ดโลกหิ ต ระบบการย่อยอาหาร การขับถ่าย จะอยูในนี้่
สัตว์เลื้อยคลานก็มีสมองส่วนนี้เหมือนกับมนุษย์
ความจาระยะสั้ น

เมื่อเราลืมตาตื่นขึ้นมาสมองส่วนทีเก็บความจาระยะสั้นก็จะเริ่ มทางานเ ก็บข้อมูลช่วงสั้น 30
วินาทีต่อเนื่องทั้งวัน เก็บข้อมูลได้ครั้ง 3-7 ข้อมูล หากเกินกว่า 30 วินาที เราจะจาไม่ได้ เราก็ตอง
                                                                                               ้
                ่
จด สมองนี้อยูในส่วนคิด และจะถูกปิ ดทันทีเมื่อระบบหลัก คือการเอาชีวิตรอดทางาน
Amygdala

สมองส่วนนี้มีลกษณะเหมือนเมล็ดอัลมอนด์ จะอยูนิ่งๆ ประเมินสถานการณ์เกี่ยวกับการเอาตัว
                ั                              ่
รอด ประเมินสภาพแวดล้อม ทางกายภาพ ที่มีลกษณะที่คุกคาม ประเมินทางจิตวิทยา ที่อาจจะ
                                            ั
เป็ นอันตรายกับชีวิตได้ เมื่อพบแล้วจะมีปรากฏการณ์ อามิดาลาไฮแจ็ค เกิดขึ้นในสมองส่วนอื่นๆ
                                                                        ่
เพื่อหยุดกระบวนการคิด และเกิดกระบวนการเอาตัวรอด สภาพร่ างกายจะอยูในสภาพที่พร้อมที่
                                                                          ่
จะหนีหรื อต่อสู้ สารเคมีในการต่อสูหลังออกมา คือสารอดรี นาลิน จะตกค้างอยูในระบบ ทาให้
                                   ้ ่
หัวใจเต้นแรงไม่มีความสงบมีแต่ความหวาดกลัว ร่ างกายจะถูกบังคับให้เคลื่อนไหวโดยไม่รู้ตว ั
วิธีแก้ก็คือการออกกาลังกายเป็ นประจาในลักษณะของการเคลื่อนไหว
สมอง 3 ส่วน อีกรู ปแบบหนึ่ง

รู ปแบบนี้จะอธิบายกระบวนการรับและจัดการข้อมูลของสมองที่มีลกษณะเป็ น network โดยส่ง
                                                          ั
ข้อมูลเป็ นประจุไฟฟ้ าและสารเคมี
Recognition network คือการรับรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง 5 สมองส่วนนี้เริ่ มจากท้ายทอยต่อจาก
                                                    ่
  ด้านสมอง ขึ้นมาทางกกหูของเรา ภาพที่ทุกคนมองอยูจะตกกระทบที่ตาและถูกนาไปเก็บไว้
  ในส่วนของสมองที่ลึกที่สุด ภาพที่เรามองเห็นมาตั้งแต่เด็ก จะถูกบันทึกไว้ในความทรงจา
  ระยะยาวที่นี่ ส่วนเสี ยงจะเก็บไว้ใกล้ๆที่กกหู
Strategic Network เมื่อเรารับข้อมูล มาจากสภาพแวดล้อมแล้วจะถูกนาไปเก็บไว้ในหน่วย
   บัญชาการข้อมูล ที่หน้าผาก มาถึงประมาณ กลางกระหม่อม เป็ นสมองส่วนหน้าสุด เป็ น
   สมองส่วนของหัวหน้า เกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจ
Affective Network อยูในเปลือกสมอง อยูส่วนกลาง บัญชาการอารมณ์ท้งหมด ทุกการทางาน
                       ่              ่                           ั
   ทุกการตัดสิ นใจ ทุกลักษณะพฤติกรรมของมนุษย์ สมองส่วนอารมณ์เป็ นตัวที่เริ่ มตัดสิ นใจให้
   เราก่อน แล้วจึงมาที่สมองส่วนคิด สมอง 2 ส่วนแรก ทางานไม่ได้ ถ้าสมองส่วนนี้ทางานไม่
   สมประกอบ




เซลล์ สมองและเส้ นใยสมอง
        ประกอบไปด้วยนิวเคลียสและเส้นประสาท หน้าที่หลักคือประมวลผลข้อมูล โดยทาการ
ส่งข้อมูลในสมองทุกอย่างที่เราทาในชีวิต ทุกการตัดสิ นใจ ทุกการคิด เกิดขึ้นในเซลล์สมอง เกิด
จากการส่งปฏิกิริยาเคมี และส่งประจุไฟฟ้ าเล็กๆ โดยเซลล์สมอง มีเส้นใยสมองทาหน้าที่
ติดต่อสื่ อสารกับเส้นใยอื่นๆเหมือนกับสายโทรศัพท์ 1 เซลล์มี 1 หมื่นเส้น สามารถติดต่อกับ
เซลล์อื่นได้ 1 หมื่นเซลล์ เซลล์สมองของคนมี 1 แสนล้านเซลล์ สามารถทางานพร้อมกันได้
มากกว่า 10 โปรแกรม โดยไม่ทาให้การทางานช้าลง การส่งข้อมูลเกิดขึ้นทุกวินาที แม้ในเวลาเรา
หลับหรื อในเวลาที่ป่วยแบบไม่รู้สึกตัว ซึ่ งเซลล์สมองและเส้นใยสมองสามารถสร้างได้ใหม่ทุก
วันกระบวนการบันทึกข้อมูลในสมองลงสู่ความจา มี 5 กระบวนการด้วยกัน
รับข้อมูลผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง 5
                                                ่ ้                   ่
ข้อมูลไม่สาคัญสมองจะผ่านไป เช่น บิลบอร์ ดที่อยูขางทางที่เรามองเห็น อยูริมถนนสมองจะชะ
                                             ่
   ล้างข้อมูลนั้นออกไป ถ้าข้อมูลนั้นไม่ได้อยูในความสนใจของเรา
ถ้าสมองเราคิดและตัดสิ นใจแล้วว่าน่าสนใจ จะส่งข้อมูลไปที่ Hippocampus อวัยวะที่ทาหน้าที่
   บันทึกจากความทรงจาระยะสั้น ลงสู่ความทรงจาระยะยาว
Amygdala จะเป็ นตัวบอกว่าข้อมูลนี้มีประจุทางอารมณ์สูงหรื อน้อยแค่ไหน ข้อมูลที่ถูกเก็บได้ดี
  จะมีประจุทางอารมณ์สูงมาก ไม่ว่าจะเป็ นอารมณ์บวกหรื อลบ ทุกข้อมูลต้องผ่าน อามิดาลา
  หมด
ท้ายที่สุดจะส่งไป Hippocampus อีกครั้งหนึ่งเพื่อบันทึกความจาลงสู่เปลือกสมองด้านนอกหรื อ
   Cortex หรื อ การเก็บข้อมูลความทรงจาระยะยาว โดยสถานที่เก็บข้อมูลต่างๆมักจะแยกกันอยู่
เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับภาพ จะถูกเก็บไว้ท่ีทายทอย ข้อมูลเสี ยงจะถูกเก็บที่ใกล้กกหู ข้อมูลการ
                                           ้
                                      ่
   เคลื่อนไหวของร่ างกายจะถูกเก็บอยูที่สมองน้อย
ถ้าข้อมูลถูกบันทึกมาถึงขั้นตอนที่ 5 เราสามารถดึงข้อมูลนั้นมาใช้ได้ตลอดชีวิต แต่ขอมูลส่วน
                                                                                ้
                                                      ่ ั
ใหญ่ของมนุษย์เราจะเดินทาง ไม่ถึงขั้นตอนที่ 5 จะค้างอยูข้นที่ 3 หรื อขั้น ที่ 2
กระบวนการจามี 3 ขั้นตอน
Registration การรับข้อมูลเข้าสู่สมอง การรับข้อมูลผ่านการมอง ฟัง และการสัมผัส แต่ละบุคคล
  มีการรับข้อมูลที่แตกต่างกัน ดังนั้นรู ปแบบการเรี ยนรู้การรับรู้จึงแตกต่างกัน
Retention เก็บเอาไว้
Retrieval ดึงออกมาใช้


วิธีการใช้ชีวิตที่จาเป็ นสาหรับการใช้สมองในชีวิตประจาวัน


สังคมในปัจจุบน การทางาน การเดินทาง ทั้งหมดนี้เป็ นการรุ มทาร้ายสมองมาก สมองเป็ นอวัยวะ
             ั
ที่ยืดหยุนมาก แต่ก็บอบบางมาก การดูแลเป็ นเรื่ องที่ไม่ใช้เงิน แต่เป็ นการใช้ความคิด สามารถทา
         ่
ได้ง่ายๆ ดังนี้


Goal setting


การวางเป้ าหมายในชีวิต ทาให้เราทางานได้อย่างเต็มที่ สมองชอบมาก สมองถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
การมีชีวิตรอด หากเราไม่มีเป้ าหมาย ที่ชดเจน จะเป็ นเรื่ องที่อนตราย เพราะสมองชอบสิ่งที่
                                       ั                      ั
ปลอดภัย คาดเดาได้ ดังนั้นเราจึงต้องมีการวางแผน และเป้ าหมายในชีวิต ที่จะบอกล่วงหน้าว่าเรา
จะทาอะไร การวางเป้ าหมายเป็ นการทาให้สมอง ไม่กลัวการถูกคุกคาม และสามารถใช้พลังงาน
ได้อย่างเต็มที่
Eating right


การกินอาหารที่ถูกต้อง สมองเราแบ่งอาหารออกเป็ น 2 หมวด คือ Good-mood food อาหารที่กิน
แล้วอารมณ์ดี และ Bad-mood food อาหารที่กินแล้วอารมณ์เสี ย หากเราอารมณ์เสี ยโดยไม่มี
สาเหตุ ให้มองกลับไปว่าก่อนหน้าที่เรากินอะไร การแยกอาหารสองชนิดนี้คือ Slow-release
สมองของเราหากได้รับประทานอาหารที่ปล่อยพลังงานช้าๆ สมองจะมีการรับคลื่นพลังงานอย่าง
ช้าๆ ต่อเนื่องและเป็ นธรรมชาติ ถ้าเรากินอาหารที่ให้พลังงานสูงและเร็ วมาก เช่น น้ าตาล
ทรายขาว คลื่นพลังงานของเราจะขึ้นมาสูงมาก นาทีที่คลื่นขึ้นสูง เราจะสันดาปอาหารทันที
พลังงานก็จะตกทันที เมื่อพลังงานตกทันที เราจาเป็ นต้องเสริ มพลังงานใหม่เข้าไป คลื่นก็จะขึ้น
สูงอีกครั้งและตกทันที ลักษณะที่คลื่นขึ้นสูง-ต่า ผิดธรรมชาติแบบนี้ หากเรากินแบบนี้
ต่อเนื่องกันไปเรื่ อยๆ จะทาให้เราเป็ นคนอารมณ์แปรปรวนง่ายมาก หากเป็ นเด็กมีอารมณ์แปร
               ่
รวน และจะฝังอยูใน ความทรงจาของเขา ทาให้เขากลายเป็ นคนอารมณ์แปรปรวนง่ายตลอดชีวิต


Good-mood food Bad-mood food

  Cereal & milk
  ข้าวซ้อมมือหรื อขนมปังโฮลวีท
  นมไม่พร่ องมันเนย
  แพนเค้ก
  ผลไม้
  ผักสด
  ผักปรุ ง
  พืชหัว เมล็ดพืช
เครื่ องดื่มผลไม้ เครื่ องดื่มซ่อมแซมโปรตีน - คุกกี้
                                                  ้
  ขนมหวานมากๆ
  ชาปริ มาณมากๆ
  กาแฟปริ มาณมากๆ
  ชีสจานวนมาก
  เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ปริ มาณมาก
  น้ าตาลทรายขาว
ดังนั้นเราจึงต้องบารุ งสมองด้วยวิตามินดังนี้
- วิตามิน B12 และ Folate มีในส้ม ผักโขม ผักบร็ อคโคลี่ ช่วยซ่อมแซมและดูแลการเสื่อมของ
เซลล์สมอง
- ธาตุเหล็ก มีในตับ และผักใบเขียวจัด ช่วยในการนาออกซิ เจนไปเลี้ยงสมอง
เมื่อสมองประกอบไปด้วย โปรตีน 8 % ไขมัน 10 % และ น้ า 72 % ดังนั้นในการดูแลสมองเราจึง
ควรจิบน้ าตลอดทั้งวัน เป็ นการเติมน้ าให้สมอง เพราะเซลล์สมองต้องการน้ า หากมีน้ าไปเลี้ยง
                                                                              ็
น้อย จะมีอาการเดียวกับพืชขาดน้ า คือหดเล็กลง ช่องที่จะส่งข้อมูลระหว่างเซลล์กจะกว้างขึ้น ทา
ให้การส่งข้อมูลเป็ นไปอย่างล่าช้ามาก เวลาที่เราคิดอะไรไม่ออกเป็ นไปได้ว่า เราลืมดื่มน้ า การ
ดื่มน้ าจึงจาเป็ นมาก
สารเคมีอีกชนิดที่ใช้สาหรับ การดูแลสมองคือ "ออกซิ เจน" ทาได้ดวยท่าการนังและท่าการยืน ถ้า
                                                                ้          ่
เรานังนานตัวเราจะงอลง มีผลต่อปริ มาณออกซิเจนไปเลี้ยงสมองอย่างมาก ท่าที่ถูกต้องก็คือการ
       ่
ยืดตัว หรื อการยืนตัวตรงหลังไหล่ไม่คอม ทาให้ออกซิ เจนเพิ่มขึ้น 20%
                                       ้
Exercising regularly ออกกาลังกายเป็ นประจา
1. จาเป็ นมากสาหรับการดูแลเรื่ องเส้นเลือดในสมอง ถ้าฝึ กเป็ นประจาโอกาสที่เป็ นโรคเส้นเลือด
ในสมองตีบ จะน้อยมากเมื่อเราอายุมากขึ้น
2. เมื่อเราออกกาลังกาย สมองของเราจะหลังสารเคมีเอนโดรฟิ นหรื อความสุขออกมา มีลกษณะ
                                             ่                                        ั
เสพติดได้คล้ายยาเสพติด ชื่อ มอร์ ฟีน ซึ่ งมีโครงสร้างเดียวกันกับ เอนโดรฟิ น จะทาให้มีความสุข
และมีความหวังไปพร้อมๆกัน ช่วยในการมองอนาคตระยะยาว
หากเราออกกาลังกายเป็ นประจาแล้วหยุด การไม่ได้ออกกาลังจะหงุดหงิดมาก เป็ นอาการ
เดียวกับการถอนยาหรื อลงแดง เพราะสมองเราไม่ได้รับสารเคมีในเวลาที่ควรจะได้รับ และ
จะต้องออกกาลังได้นานขึ้นไปเรื่ อยๆ ซึ่ งการออกกาบังกายนี้ ช่วยในการสร้างเซลล์สมองใหม่ใน
Hippocampus และมีออกซิ เจนในเลือดมากขึ้น และเซลล์สมองถูกฆ่าได้ดวยสารเคมีที่เกิดจาก
                                                                    ้
ความเครี ยด ถ้าเซลล์สมองนี้ตายไปมากจะเป็ นโรคความจาเสื่ อม
Learning new things การเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ โดยธรรมชาติแล้ วเด็กสามารถเรียนรู้ได้ ดกว่าผู้ใหญ่่
                                                                                 ี
                               ่
เมื่อเราอายุมากขึ้น ความยืดหยุนของสมองน้อยลง แต่เราสามารถหลอกสมองได้ ด้วยการเรี ยนรู้
สิ่ งใหม่ๆทุกวันเป็ นประจา สมองจะคิดว่า สภาพแวดล้อมต้องเรี ยนรู้เยอะมาก เพราะต้องมีชีวิต
                                                         ่ ั
รอด ต้องเรี ยนรู้ใหม่ทกวันเพื่อเก็บ Brain practice ให้อยูกบเราได้นานๆ
                      ุ



คลื่นสมองกับพลังพิเศษในตัวคุณ
          จากการศึกษาคลื่นสมองของคนเราในอดีต เคยเชื่อกันว่า คลื่นสมอง และ สารที่หลังจาก            ่
สมอง นั้นเป็ นสิ่ งที่มนุษย์ไม่สามารถบังคับ หรื อ ควบคุมกระบวนการได้ แต่ปัจจุบนได้มีการ  ั
ทดลองและตรวจวัดคลื่นสมองด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ พบว่ ามนุษย์สามารถควบคุมคลื่น
สมอง และ สารที่หลังจากสมอง ได้หากมี การฝึ กฝนทางจิต ให้ควบคุมสภาวะอารมณ์และจิตใจ
                            ่
ได้ สิ่ งเหล่านี้ไม่ใช่เรื่ อง เหนือธรรมชาติ หรื อ เร้นลับหาคาอธิบายไม่ได้ แต่เป็ นเรื่ องที่ทุกคน
สามารถฝึ กฝนได้ ในขณะที่เราดาเนินชีวิตประจาวันตามปรกติ
พื้นฐานความเข้าใจ เรื่ องคลื่นสมอง และ กลไกการทางาน ที่เกี่ยวข้องกันนี้ จะเป็ นจุดเริ่ มต้นที่ทา
ให้เราได้เรี ยนรู้โลกภายในตัวเอง และมองเห็น ประโยชน์ของการจัดการกับ อารมณ์ ความรู้สึก
และความคิดของเรา นับเป็ นศิลปะในการดารงชีวิตที่ทุกคนทาได้ ท่านทราบหรื อไม่ว่า ภาวะของ
คลื่นสมอง ที่เหมาะสมจะช่วยเปิ ดพื้นที่ การเรี ยนรู้ในสมองของเรา ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์
ความสามารถในการเรี ยนรู้สิ่งต่างๆ และรับข้อมูลปริ มาณมากได้อย่างรวดเร็ว ทาให้มนุษย์มี
ประสิ ทธิภาพสูงมากในการทากิจกรรมหรื อ สร้างสรรค์ผลงาน จึงเป็ นเรื่ องน่าสนใจอย่างยิง             ่
สาหรับแหล่งกาเนิดพลังงานชีวิตที่ธรรมชาติให้มาในตัวตนของพวกเราทุกคน
ภาวะของคลื่นสมอง
คลื่นสมอง เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าซึ่ งได้มาจากการส่ง สัญญาณเคมีทางชีวภาพในร่ างกายมนุษย์
การวัดพลังงาน
ไฟฟ้ าบริ เวณสมองด้วย เครื่ องมือ Electroencephalogram (EEG) ทาให้นกวิจยทาง ประสาท
                                                                    ั ั
วิทยา และ นักวิทยาศาสตร์ ได้คนพบ ความจริ งว่า การเลือกตอบสนองต่อปัจจัยภายนอกมีผล
                                ้
โดยตรง ต่อสภาวะภายใน ที่เป็ น คลื่นสมอง เราสามารถอ่านค่าผลของ
การวัด และแบ่งคลื่นสมองของมนุษย์ตามระดับความสันสะเทือน หรื อความถี่ ได้เป็ น 4 กลุ่ม
                                                      ่
ใหญ่ ๆ ดังนี้




1. คลื่นเบต้า (Beta brainwave) มีความถี่ประมาณ 14-21 รอบต่อวินาที (Hz) เป็ นช่วง คลื่นสมอง
                                       ่
ที่เร็ วที่สุด เกิดขึ้นใน ขณะที่สมองอยูใน ภาวะของการทางาน และ ควบคุมจิตใต้สานึก
(Conscious Mind) ในขณะตื่นและรู้ตว เช่น การนัง ยืน เดิน ทางาน หรื อกิจกรรมต่างๆ ในกรณี ที่
                                         ั       ่
จิตมีความคิดมากมายหลายอย่างจาก ภารกิจประจาวัน วุ่นวายใจ สับสน หรื อฟุ้ งซ่าน และสังการ่
สมองอย่างไม่เป็ นระเบียบ ความถี่ของคลื่นช่วงนี้อาจสูงขึ้นได้ถึง 40 Hz โดยเฉพาะคนในที่มี
                     ่
ความเครี ยดมาก อยูในภาวะเร่ งรี บบีบคั้น ตื่นเต้นตกใจ อารมณ์ไม่ดี โกรธหรื อดีใจมาก ๆ สมอง
จะมีการทางานใน ช่วงคลื่นเบต้ามากเกินไป ในขณะที่หากไม่มีคลื่นเบต้าเกิดขึ้นเลย มนุษย์จะไม่
สามารถเรี ยนรู้ หรื อทาหน้าที่ได้สมบูรณ์ ในโลกภายนอก
ปรกติสมองคนเรา จะมีเส้นทางอัตโนมัติ ในการรับรู้ความรู้สึก ที่ทาให้สงการได้โดยไม่ตองใช้
                                                                         ั่                ้
                                                                                 ่
เวลาใน การใคร่ ครวญมากนัก ความเป็ นอัตโนมัติน้ ี ส่วนใหญ่จะมีประโยชน์อยูในระดับหนึ่ง
และเป็ นเรื่ องกลาง ๆ สาหรับชีวิต ช่วยย่นย่อ จดจา เรื่ องราวจาเจ ที่ตองทาซ้ า ๆ เป็ นประจาให้
                                                                      ้
ดาเนินไปได้ บางส่วนเป็ นไป เพื่อประโยชน์ต่อการรอดพ้น จากอันตรายในสถานการณ์คบขัน          ั
เช่น การดึงมือออกทันที เมื่อบังเอิญไปสัมผัสของร้อนจัด แต่สิ่งที่น่าสนใจ คือ “อารมณ์ของ
มนุษย์” ก็มีเส้นทางอัตโนมัติเช่นเดียวกัน แต่คนส่วนใหญ่ มักจะไม่ได้ควบคุม และปล่อยให้
ความเป็ นอัตโนมัติน้ ีทางานมากเกินไป จากความเคยชินในการป้ อนข้อมูลซ้ า ๆ ของเราเอง
โดยมากเป็ นความอัตโนมัติ ในทางลบที่มีมากเกินไป ทาให้ขอมูลเหล่านี้ ถูกส่งผ่านเข้าไปสู่ การ
                                                             ้
ทางานของ ส่วนรับความรู้สึกในสมอง ที่เรี ยกว่า ’อะมิกดาลา’ (Amygdala) ซึ่ งเป็ น สมองชั้น
              ั
กลาง ใกล้กบ ก้านสมอง และ มีความสามารถใน การเก็บข้อมูล ด้านอารมณ์จานวนมาก ๆ ไว้
                 ่ ั
ดังนั้นจึงขึ้นอยูกบว่า เราใส่ขอมูลด้าน ”บวก”หรื อ”ลบ” มากน้อยแค่ไหน ก็จะทาให้ สมองจดจา
                              ้
และ ตอบสนองในทิศทางนั้น หากเราปล่อยให้ความอัตโนมัติน้ ี ทางานตามลาพัง โดยไม่ฝึก
                                                         ่
กาหนดรู้ ก็จะทาให้เรา ติดกับดักของอารมณ์ ที่ไม่ดี อยูตลอดเวลา สมองของเราจะทางานอยูแต่        ่
ใน เฉพาะช่วงคลื่นเบต้า ซึ่ งในโหมดนี้ถือว่า เป็ นโหมดปกป้ อง มีท้งเบต้าอ่อน และแก่ แก่
                                                                    ั
                                                                            ่
หมายถึงความถี่สูง มีผลให้ความคิดถดถอยจากสภาวะปกติ และทางานอยูในฐานความกลัว มี
ลักษณะต้านทาน ความเปลี่ยนแปลง บางคนจะหยุด และปิ ดการเรี ยนรู้ เพราะเกิดความเครี ยด
สภาวะนี้สมองจะหลังฮอร์โมนด้านลบ ออกมามากเกินไป นาไปสู่ ปฏิกิริยาเคมีที่ทาร้ายส่วนอื่น
                       ่
                           ่
ๆ ของร่ างกายเป็ นลูกโซ่ตอไปเรื่ อยๆ เช่น อะดรีนาลีน คอร์ ติซอล เป็ นต้น
คลื่นสมองกับพลังพิเศษในตัวคุณ
2. คลื่นอัลฟ่ า (Alpha brainwave) มีความถี่ประมาณ 7-14 รอบต่อวินาที (Hz) ความถี่ ของคลื่นที่
ต่าลงมานี้ ก็คือ เป็ นคลื่นสมองที่ปรากฎบ่อย ในเด็กที่มีความสุข และในผูใหญ่ที่มีการฝึ กฝน
                                                                      ้
                                                           ่
ตนเองให้สงบนิ่งมากขึ้น อาจหมายถึง สภาวะที่จิตสมดุล อยูใน สภาวะสบายๆ มีการช้าลงด้วย
การใคร่ ครวญ ไม่ด่วนตอบสนองต่อสิ่งเร้าด้วย อารมณ์อนรวดเร็ ว เวลาที่ความถี่นอยลง หมายถึง
                                                        ั                      ้
ว่า เราจะคิดช้าลง เป็ นจังหวะ เป็ นท่วงทานอง คมชัด ให้เวลาแก่จิตในการไตร่ ตรองและมี
                                               ่                    ่
ความคิดเป็ นระบบขึ้น สภาวะที่สมองทางาน อยูในคลื่นอัลฟ่ ายังพบอยูใน หลายๆ รู ปแบบ เช่น
ขณะที่กล้ามเนื้อ หรื อ ร่ างกายผ่อนคลาย ช่วงเวลาที่ง่วงนอน ก่อนหลับหรื อหลับใหม่ๆ เวลาทา
อะไรเพลินๆ จนลืมสิ่ งรอบๆ ตัว เวลาสบายใจ เวลาอ่านหนังสื อ หรื อ จดจ่อกับกิจกรรมใด ๆ
อย่างต่อเนื่องในระยะเวลาหนึ่ง และการเข้าสมาธิ ในระดับภวังค์ที่ไม่ลึกมาก
จากลักษณะดังกล่าว ช่วงคลื่นอัลฟ่ า จะเป็ นประตูไปสู่ การทาสมาธิในระดับลึก และถือว่า เป็ น
ช่วงที่ดีที่สุด ในการป้ อนข้อมูล ให้แก่ จิตใต้สานึก สมองสามารถเปิ ดรับข้อมูลได้อย่างเต็มที่ และ
เรี ยนรู้ได้อย่างรวดเร็ว มีความคิดสร้างสรรค์ เป็ นสภาวะที่ จิตมีประสิ ทธิภาพสูง ในทาง
การแพทย์ และ จิตศาสตร์ เองก็ถือว่า สภาวะนี้เป็ น หัวใจของการสะกดจิต เพื่อการบาบัดโรค
โดยหากจะ ตั้ง โปรแกรมจิตใต้สานึก ก็ควรทาใน ช่วงที่คลื่นสมองเป็ นอัลฟ่ า ในคนทัวไปเอง ก็
                                                                                    ่
                                      ่
ควรฝึ กฝนตนเองให้ สมองทางานอยูใน ช่วงคลื่นอัลฟ่ า เป็ นประจาเช่นเดียวกัน เพราะจะช่วย
                                               ่
สร้าง ความผ่อนคลาย ร่ างกายจะไม่ทางานอยูบน ฐานแห่งความกลัว หรื อ วิตกกังวล แต่จะมอง
ชีวิต อย่างสนุกสนาน มีความรู้สึกอยากเรี ยนรู้สิ่งใหม่ ๆ หรื ออยากสารวจโลกแบบเด็ก ๆ แต่คน
ส่วนใหญ่ มักจะขาดการฝึ กฝนให้ตนเอง มีคลื่นสมองชนิดนี้ และมักปล่อยให้อารมณ์อตโนมัติ    ั
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ อย่างรวดเร็ ว ขาดการคิดใคร่ ครวญ ด้วยระยะเวลาอันเหมาะสมก่อน
หากเรามีการฝึ กฝนจิตให้ตื่นรู้เช่นเดียวกัน กับแนวทางการปฏิบติธรรม ในพุทธศาสนา คลื่น
                                                                 ั
อัลฟ่ านี้จะถูกบ่มเพาะให้เข้มแข็งขึ้น สามารถรื้ อโปรแกรมอัตโนมัติเก่า สร้างโปรแกรมอัตโนมัติ
ใหม่ ๆ ได้
3. คลื่นเธต้า (Theta brainwaves) มีคลื่นความถี่ประมาณ 4 - 11 รอบต่อวินาที (Hz) เป็ นช่วง
คลื่นที่สมองทางานช้าลงมาก พบเป็ นปรกติในช่วงที่คนเราหลับ หรื อมีความผ่อนคลายอย่างสูง
                                                                  ่
แต่ใน ภาวะที่ไม่หลับคลื่นชนิดนี้ ก็เกิดขึ้นได้เช่นกัน เช่น ขณะอยูในการภาวนาสมาธิที่ลึกใน
ระดับหนึ่ง การเข้าสู่สภาวะนี้ จะใกล้เคียงกับ คลื่นสมองในสภาวะอัลฟ่ า คือ มีความสุข สบาย
ลืมความทุกข์ แต่จะมีความปิ ติสุขมากกว่า สภาวะนี้ มีความเชื่อมโยงกับ การเห็นภาพต่าง ๆ
สมองในช่วงคลื่นเธต้า จะเปรี ยบเสมือน แหล่งเก็บแรงบันดาลใจ ความคิดสร้างสรรค์ที่อยูใน   ่
ความจิตใจส่วนลึกของเรา จึงเป็ นคลื่นสมองที่สะท้อนการทางานของจิตใต้สานึก (Subconscious
Mind) อันเป็ นการทางานของเนื้อสมองส่วนใหญ่ของมนุษย์ ระดับพฤติกรรมภายใต้ความถี่ของ
ของคลื่นเธต้า เป็ นลักษณะที่บุคคล คิดคานึงเพื่อแก้ปัญหา พบได้ท้งลักษณะที่รู้สานึก และไร้
                                                                    ั
สานึก ปรากฏออกมาเป็ น ความคิดสร้างสรรค์ เกิดความคิดหยังเห็น (Insight) มีความสงบทางจิต
                                                                ่
และมองโลกในแง่ดี เกิดสมาธิแน่วแน่และเกิดปัญญาญาณ มีศกยภาพสาหรับ ความจาระยะยาว
                                                              ั
และ การระลึกรู้
4. คลื่นเดลต้า (Delta brainwaves) มีความถี่ประมาณ 0 – 4 รอบต่อวินาที(Hz) เป็ นคลื่นสมองที่
ช้าที่สุด สภาวะนี้จะทาให้ ร่ างกายเกิดความผ่อนคลาย ในระดับที่สูงมาก เป็ นคลื่นสมองที่ทางาน
เชื่อมต่อกับส่วนที่เป็ น จิตไร้สานึก (Unconscious mind) เช่น ในขณะที่ร่างกายหลับลึกโดยไม่มี
การฝัน หรื อ เกิดจากการเข้าสมาธิลึกๆ ในระดับฌาน ในช่วงนี้คลื่นสมองแสดงให้เห็นว่า
ร่ างกายกาลังดื่มด่ากับ การพักผ่อนลงลึกอย่างเต็มที่ เปรี ยบได้กบการประจุพลังงานเข้าสู่ร่างกาย
                                                               ั
ใหม่ ผูท่ีผ่านการหลับลึก ในช่วงเวลาที่พอเหมาะพอดี จะรู้สึกได้ถึงความสดชื่นกระปี้ กระเปร่ า
         ้
มากเป็ นพิเศษ เมื่อเปรี ยบเทียบกับ ผูที่นอนหลับไม่ค่อยสนิท และสาหรับผูที่ทาสมาธิอยูในระดับ
                                      ้                                  ้           ่
ฌานลึก ๆ เมื่อออกจากสมาธิแล้ว ก็จะยังคงติดรสแห่งปิ ติสุข ทาให้เกิดความสุขใจ มีใบหน้าผ่อง
ใสเต็มอิ่ม ไปด้วย ความสุขสดชื่นเช่นเดียวกัน


        นอกจากนี้สมองยังแบ่งการทางานออกเป็ นซี กซ้าย และซี กขวา และคลื่นสมองทั้งสอง
ด้าน ยังมีการขึ้นลงเป็ นอิสระต่อกัน ทาให้ความถี่ แตกต่างกัน แต่นกวิทยาศาสตร์ ได้คนพบว่า ใน
                                                                       ั                ้
ระหว่างการฝึ กจิตทาสมาธิ จะส่งผลต่อ การปรับความถี่ของสมองทั้งสองด้าน ให้ข้ ึนลง
เหมือนกัน กราฟของคลื่นสมอง ทั้งสองด้าน มีรูปร่ างคล้ายตุ๊กตา เป็ นลักษณะที่เรี ยกว่า Synchro-
nization ซึ่ งการเกิด Synchronization นี้ จะทาให้เกิดพลังจิตที่เพิ่มขึ้นในมนุษย์ เป็ นภาวะพิเศษ
แห่งการตื่นรู้ของจิต (Awakened Mind) นักวิชาการ ทางการแพทย์ และผูศึกษาและพัฒนาจิตเพื่อ
                                                                            ้
สุขภาพ กล่าวว่า “ เมื่อเราสามารถเข้าไปสู่ ’จิตใต้สานึก’ หรื อถึงระดับ ’จิตไร้สานึก’ ได้บ่อยๆ
โดยที่มี ‘จิตสานึก’ กากับอยู่ ก็จะ ’จาได้’ และสามารถลงไปสู่แหล่งข้อมูล มหาศาล ได้บอยมาก     ่
ขึ้นเร็ วมากขึ้น ข้อมูลที่ได้จาก ’จิตใต้สานึก’ และ ’จิตไร้สานึก’ นั้น เป็ นข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยา
จะออกมาในลักษณะที่เรี ยกว่า ‘ญาณทัศนะ’ (Intuition) หรื อ ‘ ปิ๊ งแว๊บ ’ หรื อ ‘ ยูเรก้า ’ ซึ่ งเป็ น
ชุดภาษาอีกแบบหนึ่ง ที่อาจจะไม่ใช่คาพูด แต่มีความพอเหมาะพอดีแบบที่คาดไม่ถึง “
เราได้เรี ยนรู้ว่า ขณะที่สมองทางานอยูในช่วงคลื่นอัลฟ่ า เธต้า และเดลต้า จะช่วยให้เราผ่อนคลาย
                                       ่
และมีประสิ ทธิภาพสูงขึ้น แต่สภาวะ ปัจจุบน เกือบทุกสิ่ งรอบตัว ต่างเต็มได้ดวย ความเร่ งด่วน
                                                     ั                           ้
                                                 ่
นับตั้งแต่ลืมตาตื่นขึ้นมาในตอนเช้า เราก็อยูใน โลกแห่งความเร่ งรี บเสี ยแล้ว ชีวิตมีแต่การบ่ม
เพาะว่า ทุกอย่างต้องรวดเร็ ว หากช้าจะไม่ทนการณ์ สมองของคนส่วนใหญ่ จึงทางานอยูใน
                                               ั                                          ่
เฉพาะช่วงคลื่นเบต้า เป็ นหลัก ในขณะเดียวกันเรา ก็ปล่อยให้ การสังการของโปรแกรมอัตโนมัติ
                                                                     ่
ทางอารมณ์ ทางานไปตามยถากรรมแบบดีบางไม่ดีบาง คุมดีคุมร้ายสุดแต่ว่าจะมีอะไรเข้ามา
                                                         ้   ้ ้ ้
กระทบ เราขาดการฝึ กฝนจิต ให้มีความชานาญใน การคิดอย่างใคร่ ครวญก่อนตอบสนอง
จะเห็นว่า ในทางปฏิบติ เรื่ องสาคัญอันดับแรกที่จะทาให้เราปรับคลื่นสมองได้ คือ เราต้องรู้ตว
                         ั                                                                    ั
และฝึ กการรับรู้อารมณ์ให้ได้ก่อน มีเทคนิค ที่สามารถนามา ใช้ได้ตลอดเวลาในการดาเนิน
ชีวิตประจาวันของเรา จากหนังสื อชื่อ “บายพาสอารมณ์” ของ นพ.วิธาน ฐานะวุฑฒ์ ได้ให้
แนวคิดว่า ตลอดเวลาที่เราตื่นกันอยู่ ประมาณ 16 ชัวโมงต่อวันนั้น เราเคยสนใจลมหายใจของเรา
                                                           ่
หรื อไม่ ง่ายๆ แค่ว่ารู้ตวว่า เราหายใจเข้า รู้ตวว่าเราหายใจออก ก็นบเป็ นจุดเริ่ มต้นเส้นทางใหม่
                           ั                       ั               ั
ของปฏิกิริยาชีวเคมีในสมองแล้ว การฝึ กรับรู้ ลมหายใจ นี้เป็ น แบบฝึ กหัดเริ่ มต้นแบบง่ายๆ
ในขณะที่การฝึ กรับรู้อารมณ์จะยากกว่า แต่ถาเราฝึ กตัวรู้เรื่ อง ลมหายใจ ได้กเ็ สมือน ได้พฒนา
                                                       ้                                    ั
ช่องทางการรับรู้อ่ืนด้วย ดังนั้นไม่ว่าจะเป็ นพุทธศาสนา โยคะ ซี่ กง จึงเน้นความสาคัญเรื่ อง การ
ฝึ กลมหายใจเหมือนกัน
ในการฝึ กรับรู้อารมณ์น้ ี นพ.วิธาน แนะนาว่าให้ลองเฝ้ าดูอารมณ์ท่ีเกิดขึ้น โดยใช้วิธีสมมติว่ามีตว
                                                                                               ั
เราอีกคนหนึ่ง กาลังเฝ้ าดูตวเรา คนที่ท่ีกาลังมีอารมณ์น้ น ๆ หากเป็ นอารมณ์ในทาง ”บวก” หรื อ
                           ั                            ั
อารมณ์ ”กลาง” ๆ ก็ให้เฝ้ าดูและดื่มด่ากับอารมณ์น้ ีอย่างรู้ตว ไม่หลงระเริ งไปกับมัน แต่ถาเป็ น
                                                            ั                           ้
อารมณ์ ”ลบ” ก็เพียงเฝ้ าดูอีกเช่นกัน เสมือนหนึ่ง การชาเลืองดูลูกน้อย ที่กาลังทาผิด โดยที่ไม่ไป
ทะเลาะด้วย พยายามให้ความสาคัญกับตัวเราคนที่เฝ้ าดู อย่าไปโฟกัสกับตัวเราคนที่กาลังเกิด
                                               ่
อารมณ์โกรธ วิตกกังวล หรื อ อารมณ์ไม่ดี อยูในขณะนั้น ด้วยหลักการของพลังงานมีข้ ึนลง ไม่
จาเป็ นต้องระเบิด เพื่อระบายอารมณ์ ในที่สุดตัว เราคนที่กาลังโกรธ จะค่อยๆ คลายไปเอง การ
สร้างเส้นทางใหม่ของอารมณ์น้ ี จะค่อยๆเปลี่ยนพลังด้านลบออกไปเป็ น พลังด้านบวก เพียงเฝ้ าดู
แบบยิ้มๆ เท่านี้เอง วิธีน้ ีทางพุทธศาสนามีมากว่า สองพันปี แล้ว และเป็ นเส้นทางที่ได้ผลดีมาก
แต่เราต้องใช้ความพยายาม ในการฝึ กฝนบ่อยๆ ต้องใช้เวลา
อาจได้บางไม่ได้บางในระยะแรก ๆ แต่ถาทาบ่อย ๆ จะเกิดความชานาญขึ้นเอง โดย นพ.วิธาน
         ้         ้                      ้
ให้ขอคิดว่า ทุกวันนี้ เราต่างมีเวลา สร้างสิ่ งต่าง ๆ ให้เกิดขึ้นมากมาย ถึงเวลาแล้วหรื อยังที่เราจะ
      ้
                        ั
สร้างเส้นทางใหม่ให้กบอารมณ์ของเราเอง และเทคนิคใน การเฝ้ าดูอารมณ์ ของตนเองนี้
เปรี ยบเสมือนการ”ล้างพิษหรื อดีทอกซ์”ของจิตใจที่ดีมากวิธีหนึ่ง
                                    ็
ความเข้าใจกลไก การทางานแห่งโลกภายในตนเอง มีส่วนอย่างมากในการช่วยให้มนุษย์สามารถ
พัฒนาจิตใจและคุณภาพภายใน และเป็ นเรื่ องที่ไม่ได้ แยกขาดจาก การดาเนินชีวิตของเราแต่
อย่างใด เมื่อนาไปประกอบกับ วิชาความรู้ ที่เราศึกษาเพิ่มเติม จากโลกภายนอก จะทาให้ความรู้
ของมนุษย์ เกิดความสมดุล สามารถระลึกรู้และใช้ปัญญากากับได้ ดังนั้นไม่ว่าใคร จะมีบทบาท
    ่
อยูใน หน้าที่ใดในสังคม ก็จะสามารถเลือกใช้วิชาการต่างๆ ที่เป็ นประโยชน์มาประสาน
เชื่อมโยงกันอย่างชาญฉลาด ภายใต้ความเมตตา และจิตสานึกต่อส่วนรวม

More Related Content

Viewers also liked

28 04-14. acta pleno nº 8
28 04-14. acta pleno nº 828 04-14. acta pleno nº 8
28 04-14. acta pleno nº 8UPyDNovelda
 
Estación no 3. deberes y derechos
Estación  no 3. deberes y derechosEstación  no 3. deberes y derechos
Estación no 3. deberes y derechosalbabenitez
 
Multivibrator bistabil fajar_ma'ruf_saputra_untidar
Multivibrator bistabil fajar_ma'ruf_saputra_untidarMultivibrator bistabil fajar_ma'ruf_saputra_untidar
Multivibrator bistabil fajar_ma'ruf_saputra_untidarFajarMarufSaputra
 
Th s16.08 thực trạng và giải pháp chủ yếu nhằm phát triển kinh tế trang trại ...
Th s16.08 thực trạng và giải pháp chủ yếu nhằm phát triển kinh tế trang trại ...Th s16.08 thực trạng và giải pháp chủ yếu nhằm phát triển kinh tế trang trại ...
Th s16.08 thực trạng và giải pháp chủ yếu nhằm phát triển kinh tế trang trại ...https://www.facebook.com/garmentspace
 
The use of ict in teaching writing skill
The use of ict in teaching writing skillThe use of ict in teaching writing skill
The use of ict in teaching writing skillNurfaizah Akidah
 
Fiqih lingkungan hidup
Fiqih lingkungan hidupFiqih lingkungan hidup
Fiqih lingkungan hidupRochi Ibnu
 
Th s08.003 những nhân tố ảnh hưởng đến chất lượng dịch vụ môi giới chứng khoá...
Th s08.003 những nhân tố ảnh hưởng đến chất lượng dịch vụ môi giới chứng khoá...Th s08.003 những nhân tố ảnh hưởng đến chất lượng dịch vụ môi giới chứng khoá...
Th s08.003 những nhân tố ảnh hưởng đến chất lượng dịch vụ môi giới chứng khoá...https://www.facebook.com/garmentspace
 
Th s08.002 các giải pháp nâng cao chất lượng đội ngũ vận hành bảo dưỡng công ...
Th s08.002 các giải pháp nâng cao chất lượng đội ngũ vận hành bảo dưỡng công ...Th s08.002 các giải pháp nâng cao chất lượng đội ngũ vận hành bảo dưỡng công ...
Th s08.002 các giải pháp nâng cao chất lượng đội ngũ vận hành bảo dưỡng công ...https://www.facebook.com/garmentspace
 
Az31155162
Az31155162Az31155162
Az31155162IJMER
 
Aw31133138
Aw31133138Aw31133138
Aw31133138IJMER
 
Th s16.03 thực trạng và giải pháp đáp ứng nhu cầu lao động nông thôn ở thái n...
Th s16.03 thực trạng và giải pháp đáp ứng nhu cầu lao động nông thôn ở thái n...Th s16.03 thực trạng và giải pháp đáp ứng nhu cầu lao động nông thôn ở thái n...
Th s16.03 thực trạng và giải pháp đáp ứng nhu cầu lao động nông thôn ở thái n...https://www.facebook.com/garmentspace
 
Th s16.02 ảnh hưởng của xu hướng đô thị hóa đối với kinh tế hộ nông dân trên ...
Th s16.02 ảnh hưởng của xu hướng đô thị hóa đối với kinh tế hộ nông dân trên ...Th s16.02 ảnh hưởng của xu hướng đô thị hóa đối với kinh tế hộ nông dân trên ...
Th s16.02 ảnh hưởng của xu hướng đô thị hóa đối với kinh tế hộ nông dân trên ...https://www.facebook.com/garmentspace
 
Th s31 002_xây dựng trường trung học cơ sở đạt chuẩn quốc gia ở huyện hà trun...
Th s31 002_xây dựng trường trung học cơ sở đạt chuẩn quốc gia ở huyện hà trun...Th s31 002_xây dựng trường trung học cơ sở đạt chuẩn quốc gia ở huyện hà trun...
Th s31 002_xây dựng trường trung học cơ sở đạt chuẩn quốc gia ở huyện hà trun...https://www.facebook.com/garmentspace
 
Th s08 006_thực trạng à một số giải pháp nhằm tạo việc làm cho người lao động...
Th s08 006_thực trạng à một số giải pháp nhằm tạo việc làm cho người lao động...Th s08 006_thực trạng à một số giải pháp nhằm tạo việc làm cho người lao động...
Th s08 006_thực trạng à một số giải pháp nhằm tạo việc làm cho người lao động...https://www.facebook.com/garmentspace
 

Viewers also liked (15)

28 04-14. acta pleno nº 8
28 04-14. acta pleno nº 828 04-14. acta pleno nº 8
28 04-14. acta pleno nº 8
 
Estación no 3. deberes y derechos
Estación  no 3. deberes y derechosEstación  no 3. deberes y derechos
Estación no 3. deberes y derechos
 
Multivibrator bistabil fajar_ma'ruf_saputra_untidar
Multivibrator bistabil fajar_ma'ruf_saputra_untidarMultivibrator bistabil fajar_ma'ruf_saputra_untidar
Multivibrator bistabil fajar_ma'ruf_saputra_untidar
 
Th s16.08 thực trạng và giải pháp chủ yếu nhằm phát triển kinh tế trang trại ...
Th s16.08 thực trạng và giải pháp chủ yếu nhằm phát triển kinh tế trang trại ...Th s16.08 thực trạng và giải pháp chủ yếu nhằm phát triển kinh tế trang trại ...
Th s16.08 thực trạng và giải pháp chủ yếu nhằm phát triển kinh tế trang trại ...
 
The use of ict in teaching writing skill
The use of ict in teaching writing skillThe use of ict in teaching writing skill
The use of ict in teaching writing skill
 
Fiqih lingkungan hidup
Fiqih lingkungan hidupFiqih lingkungan hidup
Fiqih lingkungan hidup
 
Th s08.003 những nhân tố ảnh hưởng đến chất lượng dịch vụ môi giới chứng khoá...
Th s08.003 những nhân tố ảnh hưởng đến chất lượng dịch vụ môi giới chứng khoá...Th s08.003 những nhân tố ảnh hưởng đến chất lượng dịch vụ môi giới chứng khoá...
Th s08.003 những nhân tố ảnh hưởng đến chất lượng dịch vụ môi giới chứng khoá...
 
Faisala e makka
Faisala e makkaFaisala e makka
Faisala e makka
 
Th s08.002 các giải pháp nâng cao chất lượng đội ngũ vận hành bảo dưỡng công ...
Th s08.002 các giải pháp nâng cao chất lượng đội ngũ vận hành bảo dưỡng công ...Th s08.002 các giải pháp nâng cao chất lượng đội ngũ vận hành bảo dưỡng công ...
Th s08.002 các giải pháp nâng cao chất lượng đội ngũ vận hành bảo dưỡng công ...
 
Az31155162
Az31155162Az31155162
Az31155162
 
Aw31133138
Aw31133138Aw31133138
Aw31133138
 
Th s16.03 thực trạng và giải pháp đáp ứng nhu cầu lao động nông thôn ở thái n...
Th s16.03 thực trạng và giải pháp đáp ứng nhu cầu lao động nông thôn ở thái n...Th s16.03 thực trạng và giải pháp đáp ứng nhu cầu lao động nông thôn ở thái n...
Th s16.03 thực trạng và giải pháp đáp ứng nhu cầu lao động nông thôn ở thái n...
 
Th s16.02 ảnh hưởng của xu hướng đô thị hóa đối với kinh tế hộ nông dân trên ...
Th s16.02 ảnh hưởng của xu hướng đô thị hóa đối với kinh tế hộ nông dân trên ...Th s16.02 ảnh hưởng của xu hướng đô thị hóa đối với kinh tế hộ nông dân trên ...
Th s16.02 ảnh hưởng của xu hướng đô thị hóa đối với kinh tế hộ nông dân trên ...
 
Th s31 002_xây dựng trường trung học cơ sở đạt chuẩn quốc gia ở huyện hà trun...
Th s31 002_xây dựng trường trung học cơ sở đạt chuẩn quốc gia ở huyện hà trun...Th s31 002_xây dựng trường trung học cơ sở đạt chuẩn quốc gia ở huyện hà trun...
Th s31 002_xây dựng trường trung học cơ sở đạt chuẩn quốc gia ở huyện hà trun...
 
Th s08 006_thực trạng à một số giải pháp nhằm tạo việc làm cho người lao động...
Th s08 006_thực trạng à một số giải pháp nhằm tạo việc làm cho người lao động...Th s08 006_thực trạng à một số giải pháp nhằm tạo việc làm cho người lao động...
Th s08 006_thực trạng à một số giải pháp nhằm tạo việc làm cho người lao động...
 

Similar to สิ่งพิมพ์12

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2maymymay
 
เสถียรธรรมสถาน1 Copy
เสถียรธรรมสถาน1   Copyเสถียรธรรมสถาน1   Copy
เสถียรธรรมสถาน1 CopyVolunteer SdsElite
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2Kobchai Khamboonruang
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararudsvuthiarpa
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 
2557 โครงงาน1
2557 โครงงาน12557 โครงงาน1
2557 โครงงาน1bernfai_baifern
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว4LIFEYES
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานbernfai_baifern
 

Similar to สิ่งพิมพ์12 (20)

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
เสถียรธรรมสถาน1 Copy
เสถียรธรรมสถาน1   Copyเสถียรธรรมสถาน1   Copy
เสถียรธรรมสถาน1 Copy
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
2557 โครงงาน1
2557 โครงงาน12557 โครงงาน1
2557 โครงงาน1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 

สิ่งพิมพ์12

  • 1. "ปรั บระบบความคิด พิชิตอัฉริยภาพ" นางสาวพัชรินทร์ สมบูรณ์ สาขาหลักสูตรและการสอน รหัส 55120609210 รุ่ น 14/2
  • 2. ในโลกยุคโลกาภิวตน์ ทีมการเปลียนแปลง อย่างต่อเนื่องอยู่เสมอ ไม่วาจะเป็ นใน เรืองของ ั ่ ี ่ ่ ่ ่ เทคโนโลยี การสือสาร สภาพเศรษฐกิจ และ ข ้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ทีมการส่งถ่ายถึงกันและกันเร็วขึน ่ ี ้ และจากการเปลียนแปลง ทีเกิดขึนอย่างรวดเร็ว นี้เองจึงเป็ นเสมือน พลังผลักดัน ให ้คนแต่ละคน ต่าง ่ ่ ้ ต ้องตระหนักถึง ความสาคัญของการเปลียนแปลง อันทาให ้เกิดการ พัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่องอยู่เสมอ ่ เพือให ้ตนมี ความพร ้อมรับมือกับ การเปลียนแปลงทีเกิดขึนอย่างไม่หยุดยัง ่ ่ ่ ้ ้ ผู ้ทีพัฒนาตนเอง ย่อมเป็ นบุคคลที่ ประสบความสาเร็จ ในหน ้าทีการงาน ได ้รับความก ้าวหน ้าใน สาย ่ ่ อาชีพ ได ้รับคายกย่อง สรรเสริญมากกว่า ผู ้ทีทางานอยู่ไปวัน ๆ โดยไม่สนใจทีจะ พัฒนา ความรู ้และ ่ ่ ่ ่ ความสามารถของตนเอง ชอบทางาน ตามคาสังทีได ้รับมอบหมาย จากหัวหน ้างานเท่านัน ้ ดังนันหากคุณมีความอยาก และต ้องการทีจะ ประสบผลสาเร็จในชีวต คุณไม่ควรรอให ้หัวหน ้างาน ้ ่ ิ องค์การ หรือผู ้อืนมาพัฒนาความรู ้ ความสามารถ ของคุณเองในการทางานเท่านัน การเริมต ้นทีจะ ่ ้ ่ ่ ่ ่ ่ ุ พัฒนาตนเอง โดยไม่พงพาผู ้อืน เป็ นสิงทีคณควรกระทาเป็ นอย่างยิง คุณต ้องตระหนักอยู่เสมอว่า " ชีวต ึ่ ่ ิ คุณ คุณเป็ นผู ้เลือกทีจะลิขตหรือ เลือกเส ้นทางใน การดาเนินชีวตเอง " คุณอย่าปล่อยให ้ผู ้อืนมาเป็ น ผู ้มี ่ ิ ิ ่ ้ อิทธิพล และ ชีนาการดาเนินชีวต ของตัวคุ ิ เรื่อง "ปรับระบบความคิด พิชิตอัฉริยภาพ" ่ ่ ภารกิจหลักของสมองที่ถูกสร้างขึ้นมา เพื่อความอยูรอดของสิ่งมีชีวิตที่สมองอยูใน ร่ างกายนั้น สมองของมนุษย์มีคนละ 1 ก้อน ประกอบไปด้วย 3 ส่วนดังนี้ ่ - ส่ วนคิด ส่วนเปลือกสมองใหม่ อยูตรงส่วนท้ายทอยเติบโตมาช้าที่สุด เก็บข้อมูลที่เป็ นความ ทรงจาระยะยาวต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเป็ นมนุษย์ บุคลิกภาพ การทางาน การวางแผนระยะยาว ลิงชิมแปนซี ซ่ ึ งมีดีเอ็นเอซ้ ากับมนุษย์ถึง 99.5 % ก็มีสมองส่วนนี้เหมือนกับมนุษย์ ่ - ส่ วนอารมณ์ อยูในเปลือกสมองใหม่ มีองค์ประกอบเยอะมาก เป็ นชิ้นเล็กๆ เป็ นศูนย์บญชาการ ั ควบคุมอารมณ์ทกชนิด ดีใจ โกรธ เศร้า มีความหวัง มีความทุกข์ ความสุข ทางานไม่มีวนหยุด ุ ั สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมก็มีสมองส่วนนี้เหมือนกับมนุษย์ - ส่ วนอัตโนมัติ ก้านสมองต่อจากระดูกสันหลัง ดูแลเรื่ องระบบอัตโนมัติ เราควบคุมไม่ได้เพราะ เขาทางานเอง เช่นการ หายใจ การสูบฉี ดโลกหิ ต ระบบการย่อยอาหาร การขับถ่าย จะอยูในนี้่ สัตว์เลื้อยคลานก็มีสมองส่วนนี้เหมือนกับมนุษย์
  • 3. ความจาระยะสั้ น เมื่อเราลืมตาตื่นขึ้นมาสมองส่วนทีเก็บความจาระยะสั้นก็จะเริ่ มทางานเ ก็บข้อมูลช่วงสั้น 30 วินาทีต่อเนื่องทั้งวัน เก็บข้อมูลได้ครั้ง 3-7 ข้อมูล หากเกินกว่า 30 วินาที เราจะจาไม่ได้ เราก็ตอง ้ ่ จด สมองนี้อยูในส่วนคิด และจะถูกปิ ดทันทีเมื่อระบบหลัก คือการเอาชีวิตรอดทางาน Amygdala สมองส่วนนี้มีลกษณะเหมือนเมล็ดอัลมอนด์ จะอยูนิ่งๆ ประเมินสถานการณ์เกี่ยวกับการเอาตัว ั ่ รอด ประเมินสภาพแวดล้อม ทางกายภาพ ที่มีลกษณะที่คุกคาม ประเมินทางจิตวิทยา ที่อาจจะ ั เป็ นอันตรายกับชีวิตได้ เมื่อพบแล้วจะมีปรากฏการณ์ อามิดาลาไฮแจ็ค เกิดขึ้นในสมองส่วนอื่นๆ ่ เพื่อหยุดกระบวนการคิด และเกิดกระบวนการเอาตัวรอด สภาพร่ างกายจะอยูในสภาพที่พร้อมที่ ่ จะหนีหรื อต่อสู้ สารเคมีในการต่อสูหลังออกมา คือสารอดรี นาลิน จะตกค้างอยูในระบบ ทาให้ ้ ่ หัวใจเต้นแรงไม่มีความสงบมีแต่ความหวาดกลัว ร่ างกายจะถูกบังคับให้เคลื่อนไหวโดยไม่รู้ตว ั วิธีแก้ก็คือการออกกาลังกายเป็ นประจาในลักษณะของการเคลื่อนไหว สมอง 3 ส่วน อีกรู ปแบบหนึ่ง รู ปแบบนี้จะอธิบายกระบวนการรับและจัดการข้อมูลของสมองที่มีลกษณะเป็ น network โดยส่ง ั ข้อมูลเป็ นประจุไฟฟ้ าและสารเคมี Recognition network คือการรับรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง 5 สมองส่วนนี้เริ่ มจากท้ายทอยต่อจาก ่ ด้านสมอง ขึ้นมาทางกกหูของเรา ภาพที่ทุกคนมองอยูจะตกกระทบที่ตาและถูกนาไปเก็บไว้ ในส่วนของสมองที่ลึกที่สุด ภาพที่เรามองเห็นมาตั้งแต่เด็ก จะถูกบันทึกไว้ในความทรงจา ระยะยาวที่นี่ ส่วนเสี ยงจะเก็บไว้ใกล้ๆที่กกหู Strategic Network เมื่อเรารับข้อมูล มาจากสภาพแวดล้อมแล้วจะถูกนาไปเก็บไว้ในหน่วย บัญชาการข้อมูล ที่หน้าผาก มาถึงประมาณ กลางกระหม่อม เป็ นสมองส่วนหน้าสุด เป็ น สมองส่วนของหัวหน้า เกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจ
  • 4. Affective Network อยูในเปลือกสมอง อยูส่วนกลาง บัญชาการอารมณ์ท้งหมด ทุกการทางาน ่ ่ ั ทุกการตัดสิ นใจ ทุกลักษณะพฤติกรรมของมนุษย์ สมองส่วนอารมณ์เป็ นตัวที่เริ่ มตัดสิ นใจให้ เราก่อน แล้วจึงมาที่สมองส่วนคิด สมอง 2 ส่วนแรก ทางานไม่ได้ ถ้าสมองส่วนนี้ทางานไม่ สมประกอบ เซลล์ สมองและเส้ นใยสมอง ประกอบไปด้วยนิวเคลียสและเส้นประสาท หน้าที่หลักคือประมวลผลข้อมูล โดยทาการ ส่งข้อมูลในสมองทุกอย่างที่เราทาในชีวิต ทุกการตัดสิ นใจ ทุกการคิด เกิดขึ้นในเซลล์สมอง เกิด จากการส่งปฏิกิริยาเคมี และส่งประจุไฟฟ้ าเล็กๆ โดยเซลล์สมอง มีเส้นใยสมองทาหน้าที่ ติดต่อสื่ อสารกับเส้นใยอื่นๆเหมือนกับสายโทรศัพท์ 1 เซลล์มี 1 หมื่นเส้น สามารถติดต่อกับ เซลล์อื่นได้ 1 หมื่นเซลล์ เซลล์สมองของคนมี 1 แสนล้านเซลล์ สามารถทางานพร้อมกันได้ มากกว่า 10 โปรแกรม โดยไม่ทาให้การทางานช้าลง การส่งข้อมูลเกิดขึ้นทุกวินาที แม้ในเวลาเรา หลับหรื อในเวลาที่ป่วยแบบไม่รู้สึกตัว ซึ่ งเซลล์สมองและเส้นใยสมองสามารถสร้างได้ใหม่ทุก วันกระบวนการบันทึกข้อมูลในสมองลงสู่ความจา มี 5 กระบวนการด้วยกัน รับข้อมูลผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 ่ ้ ่ ข้อมูลไม่สาคัญสมองจะผ่านไป เช่น บิลบอร์ ดที่อยูขางทางที่เรามองเห็น อยูริมถนนสมองจะชะ ่ ล้างข้อมูลนั้นออกไป ถ้าข้อมูลนั้นไม่ได้อยูในความสนใจของเรา ถ้าสมองเราคิดและตัดสิ นใจแล้วว่าน่าสนใจ จะส่งข้อมูลไปที่ Hippocampus อวัยวะที่ทาหน้าที่ บันทึกจากความทรงจาระยะสั้น ลงสู่ความทรงจาระยะยาว Amygdala จะเป็ นตัวบอกว่าข้อมูลนี้มีประจุทางอารมณ์สูงหรื อน้อยแค่ไหน ข้อมูลที่ถูกเก็บได้ดี จะมีประจุทางอารมณ์สูงมาก ไม่ว่าจะเป็ นอารมณ์บวกหรื อลบ ทุกข้อมูลต้องผ่าน อามิดาลา หมด ท้ายที่สุดจะส่งไป Hippocampus อีกครั้งหนึ่งเพื่อบันทึกความจาลงสู่เปลือกสมองด้านนอกหรื อ Cortex หรื อ การเก็บข้อมูลความทรงจาระยะยาว โดยสถานที่เก็บข้อมูลต่างๆมักจะแยกกันอยู่
  • 5. เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับภาพ จะถูกเก็บไว้ท่ีทายทอย ข้อมูลเสี ยงจะถูกเก็บที่ใกล้กกหู ข้อมูลการ ้ ่ เคลื่อนไหวของร่ างกายจะถูกเก็บอยูที่สมองน้อย ถ้าข้อมูลถูกบันทึกมาถึงขั้นตอนที่ 5 เราสามารถดึงข้อมูลนั้นมาใช้ได้ตลอดชีวิต แต่ขอมูลส่วน ้ ่ ั ใหญ่ของมนุษย์เราจะเดินทาง ไม่ถึงขั้นตอนที่ 5 จะค้างอยูข้นที่ 3 หรื อขั้น ที่ 2 กระบวนการจามี 3 ขั้นตอน Registration การรับข้อมูลเข้าสู่สมอง การรับข้อมูลผ่านการมอง ฟัง และการสัมผัส แต่ละบุคคล มีการรับข้อมูลที่แตกต่างกัน ดังนั้นรู ปแบบการเรี ยนรู้การรับรู้จึงแตกต่างกัน Retention เก็บเอาไว้ Retrieval ดึงออกมาใช้ วิธีการใช้ชีวิตที่จาเป็ นสาหรับการใช้สมองในชีวิตประจาวัน สังคมในปัจจุบน การทางาน การเดินทาง ทั้งหมดนี้เป็ นการรุ มทาร้ายสมองมาก สมองเป็ นอวัยวะ ั ที่ยืดหยุนมาก แต่ก็บอบบางมาก การดูแลเป็ นเรื่ องที่ไม่ใช้เงิน แต่เป็ นการใช้ความคิด สามารถทา ่ ได้ง่ายๆ ดังนี้ Goal setting การวางเป้ าหมายในชีวิต ทาให้เราทางานได้อย่างเต็มที่ สมองชอบมาก สมองถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ การมีชีวิตรอด หากเราไม่มีเป้ าหมาย ที่ชดเจน จะเป็ นเรื่ องที่อนตราย เพราะสมองชอบสิ่งที่ ั ั ปลอดภัย คาดเดาได้ ดังนั้นเราจึงต้องมีการวางแผน และเป้ าหมายในชีวิต ที่จะบอกล่วงหน้าว่าเรา จะทาอะไร การวางเป้ าหมายเป็ นการทาให้สมอง ไม่กลัวการถูกคุกคาม และสามารถใช้พลังงาน ได้อย่างเต็มที่
  • 6. Eating right การกินอาหารที่ถูกต้อง สมองเราแบ่งอาหารออกเป็ น 2 หมวด คือ Good-mood food อาหารที่กิน แล้วอารมณ์ดี และ Bad-mood food อาหารที่กินแล้วอารมณ์เสี ย หากเราอารมณ์เสี ยโดยไม่มี สาเหตุ ให้มองกลับไปว่าก่อนหน้าที่เรากินอะไร การแยกอาหารสองชนิดนี้คือ Slow-release สมองของเราหากได้รับประทานอาหารที่ปล่อยพลังงานช้าๆ สมองจะมีการรับคลื่นพลังงานอย่าง ช้าๆ ต่อเนื่องและเป็ นธรรมชาติ ถ้าเรากินอาหารที่ให้พลังงานสูงและเร็ วมาก เช่น น้ าตาล ทรายขาว คลื่นพลังงานของเราจะขึ้นมาสูงมาก นาทีที่คลื่นขึ้นสูง เราจะสันดาปอาหารทันที พลังงานก็จะตกทันที เมื่อพลังงานตกทันที เราจาเป็ นต้องเสริ มพลังงานใหม่เข้าไป คลื่นก็จะขึ้น สูงอีกครั้งและตกทันที ลักษณะที่คลื่นขึ้นสูง-ต่า ผิดธรรมชาติแบบนี้ หากเรากินแบบนี้ ต่อเนื่องกันไปเรื่ อยๆ จะทาให้เราเป็ นคนอารมณ์แปรปรวนง่ายมาก หากเป็ นเด็กมีอารมณ์แปร ่ รวน และจะฝังอยูใน ความทรงจาของเขา ทาให้เขากลายเป็ นคนอารมณ์แปรปรวนง่ายตลอดชีวิต Good-mood food Bad-mood food Cereal & milk ข้าวซ้อมมือหรื อขนมปังโฮลวีท นมไม่พร่ องมันเนย แพนเค้ก ผลไม้ ผักสด ผักปรุ ง พืชหัว เมล็ดพืช
  • 7. เครื่ องดื่มผลไม้ เครื่ องดื่มซ่อมแซมโปรตีน - คุกกี้ ้ ขนมหวานมากๆ ชาปริ มาณมากๆ กาแฟปริ มาณมากๆ ชีสจานวนมาก เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ปริ มาณมาก น้ าตาลทรายขาว ดังนั้นเราจึงต้องบารุ งสมองด้วยวิตามินดังนี้ - วิตามิน B12 และ Folate มีในส้ม ผักโขม ผักบร็ อคโคลี่ ช่วยซ่อมแซมและดูแลการเสื่อมของ เซลล์สมอง - ธาตุเหล็ก มีในตับ และผักใบเขียวจัด ช่วยในการนาออกซิ เจนไปเลี้ยงสมอง เมื่อสมองประกอบไปด้วย โปรตีน 8 % ไขมัน 10 % และ น้ า 72 % ดังนั้นในการดูแลสมองเราจึง ควรจิบน้ าตลอดทั้งวัน เป็ นการเติมน้ าให้สมอง เพราะเซลล์สมองต้องการน้ า หากมีน้ าไปเลี้ยง ็ น้อย จะมีอาการเดียวกับพืชขาดน้ า คือหดเล็กลง ช่องที่จะส่งข้อมูลระหว่างเซลล์กจะกว้างขึ้น ทา ให้การส่งข้อมูลเป็ นไปอย่างล่าช้ามาก เวลาที่เราคิดอะไรไม่ออกเป็ นไปได้ว่า เราลืมดื่มน้ า การ ดื่มน้ าจึงจาเป็ นมาก สารเคมีอีกชนิดที่ใช้สาหรับ การดูแลสมองคือ "ออกซิ เจน" ทาได้ดวยท่าการนังและท่าการยืน ถ้า ้ ่ เรานังนานตัวเราจะงอลง มีผลต่อปริ มาณออกซิเจนไปเลี้ยงสมองอย่างมาก ท่าที่ถูกต้องก็คือการ ่ ยืดตัว หรื อการยืนตัวตรงหลังไหล่ไม่คอม ทาให้ออกซิ เจนเพิ่มขึ้น 20% ้ Exercising regularly ออกกาลังกายเป็ นประจา 1. จาเป็ นมากสาหรับการดูแลเรื่ องเส้นเลือดในสมอง ถ้าฝึ กเป็ นประจาโอกาสที่เป็ นโรคเส้นเลือด ในสมองตีบ จะน้อยมากเมื่อเราอายุมากขึ้น 2. เมื่อเราออกกาลังกาย สมองของเราจะหลังสารเคมีเอนโดรฟิ นหรื อความสุขออกมา มีลกษณะ ่ ั เสพติดได้คล้ายยาเสพติด ชื่อ มอร์ ฟีน ซึ่ งมีโครงสร้างเดียวกันกับ เอนโดรฟิ น จะทาให้มีความสุข
  • 8. และมีความหวังไปพร้อมๆกัน ช่วยในการมองอนาคตระยะยาว หากเราออกกาลังกายเป็ นประจาแล้วหยุด การไม่ได้ออกกาลังจะหงุดหงิดมาก เป็ นอาการ เดียวกับการถอนยาหรื อลงแดง เพราะสมองเราไม่ได้รับสารเคมีในเวลาที่ควรจะได้รับ และ จะต้องออกกาลังได้นานขึ้นไปเรื่ อยๆ ซึ่ งการออกกาบังกายนี้ ช่วยในการสร้างเซลล์สมองใหม่ใน Hippocampus และมีออกซิ เจนในเลือดมากขึ้น และเซลล์สมองถูกฆ่าได้ดวยสารเคมีที่เกิดจาก ้ ความเครี ยด ถ้าเซลล์สมองนี้ตายไปมากจะเป็ นโรคความจาเสื่ อม Learning new things การเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ โดยธรรมชาติแล้ วเด็กสามารถเรียนรู้ได้ ดกว่าผู้ใหญ่่ ี ่ เมื่อเราอายุมากขึ้น ความยืดหยุนของสมองน้อยลง แต่เราสามารถหลอกสมองได้ ด้วยการเรี ยนรู้ สิ่ งใหม่ๆทุกวันเป็ นประจา สมองจะคิดว่า สภาพแวดล้อมต้องเรี ยนรู้เยอะมาก เพราะต้องมีชีวิต ่ ั รอด ต้องเรี ยนรู้ใหม่ทกวันเพื่อเก็บ Brain practice ให้อยูกบเราได้นานๆ ุ คลื่นสมองกับพลังพิเศษในตัวคุณ จากการศึกษาคลื่นสมองของคนเราในอดีต เคยเชื่อกันว่า คลื่นสมอง และ สารที่หลังจาก ่ สมอง นั้นเป็ นสิ่ งที่มนุษย์ไม่สามารถบังคับ หรื อ ควบคุมกระบวนการได้ แต่ปัจจุบนได้มีการ ั ทดลองและตรวจวัดคลื่นสมองด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ พบว่ ามนุษย์สามารถควบคุมคลื่น สมอง และ สารที่หลังจากสมอง ได้หากมี การฝึ กฝนทางจิต ให้ควบคุมสภาวะอารมณ์และจิตใจ ่ ได้ สิ่ งเหล่านี้ไม่ใช่เรื่ อง เหนือธรรมชาติ หรื อ เร้นลับหาคาอธิบายไม่ได้ แต่เป็ นเรื่ องที่ทุกคน สามารถฝึ กฝนได้ ในขณะที่เราดาเนินชีวิตประจาวันตามปรกติ พื้นฐานความเข้าใจ เรื่ องคลื่นสมอง และ กลไกการทางาน ที่เกี่ยวข้องกันนี้ จะเป็ นจุดเริ่ มต้นที่ทา ให้เราได้เรี ยนรู้โลกภายในตัวเอง และมองเห็น ประโยชน์ของการจัดการกับ อารมณ์ ความรู้สึก และความคิดของเรา นับเป็ นศิลปะในการดารงชีวิตที่ทุกคนทาได้ ท่านทราบหรื อไม่ว่า ภาวะของ คลื่นสมอง ที่เหมาะสมจะช่วยเปิ ดพื้นที่ การเรี ยนรู้ในสมองของเรา ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการเรี ยนรู้สิ่งต่างๆ และรับข้อมูลปริ มาณมากได้อย่างรวดเร็ว ทาให้มนุษย์มี ประสิ ทธิภาพสูงมากในการทากิจกรรมหรื อ สร้างสรรค์ผลงาน จึงเป็ นเรื่ องน่าสนใจอย่างยิง ่ สาหรับแหล่งกาเนิดพลังงานชีวิตที่ธรรมชาติให้มาในตัวตนของพวกเราทุกคน
  • 9. ภาวะของคลื่นสมอง คลื่นสมอง เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าซึ่ งได้มาจากการส่ง สัญญาณเคมีทางชีวภาพในร่ างกายมนุษย์ การวัดพลังงาน ไฟฟ้ าบริ เวณสมองด้วย เครื่ องมือ Electroencephalogram (EEG) ทาให้นกวิจยทาง ประสาท ั ั วิทยา และ นักวิทยาศาสตร์ ได้คนพบ ความจริ งว่า การเลือกตอบสนองต่อปัจจัยภายนอกมีผล ้ โดยตรง ต่อสภาวะภายใน ที่เป็ น คลื่นสมอง เราสามารถอ่านค่าผลของ การวัด และแบ่งคลื่นสมองของมนุษย์ตามระดับความสันสะเทือน หรื อความถี่ ได้เป็ น 4 กลุ่ม ่ ใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. คลื่นเบต้า (Beta brainwave) มีความถี่ประมาณ 14-21 รอบต่อวินาที (Hz) เป็ นช่วง คลื่นสมอง ่ ที่เร็ วที่สุด เกิดขึ้นใน ขณะที่สมองอยูใน ภาวะของการทางาน และ ควบคุมจิตใต้สานึก (Conscious Mind) ในขณะตื่นและรู้ตว เช่น การนัง ยืน เดิน ทางาน หรื อกิจกรรมต่างๆ ในกรณี ที่ ั ่ จิตมีความคิดมากมายหลายอย่างจาก ภารกิจประจาวัน วุ่นวายใจ สับสน หรื อฟุ้ งซ่าน และสังการ่
  • 10. สมองอย่างไม่เป็ นระเบียบ ความถี่ของคลื่นช่วงนี้อาจสูงขึ้นได้ถึง 40 Hz โดยเฉพาะคนในที่มี ่ ความเครี ยดมาก อยูในภาวะเร่ งรี บบีบคั้น ตื่นเต้นตกใจ อารมณ์ไม่ดี โกรธหรื อดีใจมาก ๆ สมอง จะมีการทางานใน ช่วงคลื่นเบต้ามากเกินไป ในขณะที่หากไม่มีคลื่นเบต้าเกิดขึ้นเลย มนุษย์จะไม่ สามารถเรี ยนรู้ หรื อทาหน้าที่ได้สมบูรณ์ ในโลกภายนอก ปรกติสมองคนเรา จะมีเส้นทางอัตโนมัติ ในการรับรู้ความรู้สึก ที่ทาให้สงการได้โดยไม่ตองใช้ ั่ ้ ่ เวลาใน การใคร่ ครวญมากนัก ความเป็ นอัตโนมัติน้ ี ส่วนใหญ่จะมีประโยชน์อยูในระดับหนึ่ง และเป็ นเรื่ องกลาง ๆ สาหรับชีวิต ช่วยย่นย่อ จดจา เรื่ องราวจาเจ ที่ตองทาซ้ า ๆ เป็ นประจาให้ ้ ดาเนินไปได้ บางส่วนเป็ นไป เพื่อประโยชน์ต่อการรอดพ้น จากอันตรายในสถานการณ์คบขัน ั เช่น การดึงมือออกทันที เมื่อบังเอิญไปสัมผัสของร้อนจัด แต่สิ่งที่น่าสนใจ คือ “อารมณ์ของ มนุษย์” ก็มีเส้นทางอัตโนมัติเช่นเดียวกัน แต่คนส่วนใหญ่ มักจะไม่ได้ควบคุม และปล่อยให้ ความเป็ นอัตโนมัติน้ ีทางานมากเกินไป จากความเคยชินในการป้ อนข้อมูลซ้ า ๆ ของเราเอง โดยมากเป็ นความอัตโนมัติ ในทางลบที่มีมากเกินไป ทาให้ขอมูลเหล่านี้ ถูกส่งผ่านเข้าไปสู่ การ ้ ทางานของ ส่วนรับความรู้สึกในสมอง ที่เรี ยกว่า ’อะมิกดาลา’ (Amygdala) ซึ่ งเป็ น สมองชั้น ั กลาง ใกล้กบ ก้านสมอง และ มีความสามารถใน การเก็บข้อมูล ด้านอารมณ์จานวนมาก ๆ ไว้ ่ ั ดังนั้นจึงขึ้นอยูกบว่า เราใส่ขอมูลด้าน ”บวก”หรื อ”ลบ” มากน้อยแค่ไหน ก็จะทาให้ สมองจดจา ้ และ ตอบสนองในทิศทางนั้น หากเราปล่อยให้ความอัตโนมัติน้ ี ทางานตามลาพัง โดยไม่ฝึก ่ กาหนดรู้ ก็จะทาให้เรา ติดกับดักของอารมณ์ ที่ไม่ดี อยูตลอดเวลา สมองของเราจะทางานอยูแต่ ่ ใน เฉพาะช่วงคลื่นเบต้า ซึ่ งในโหมดนี้ถือว่า เป็ นโหมดปกป้ อง มีท้งเบต้าอ่อน และแก่ แก่ ั ่ หมายถึงความถี่สูง มีผลให้ความคิดถดถอยจากสภาวะปกติ และทางานอยูในฐานความกลัว มี ลักษณะต้านทาน ความเปลี่ยนแปลง บางคนจะหยุด และปิ ดการเรี ยนรู้ เพราะเกิดความเครี ยด สภาวะนี้สมองจะหลังฮอร์โมนด้านลบ ออกมามากเกินไป นาไปสู่ ปฏิกิริยาเคมีที่ทาร้ายส่วนอื่น ่ ่ ๆ ของร่ างกายเป็ นลูกโซ่ตอไปเรื่ อยๆ เช่น อะดรีนาลีน คอร์ ติซอล เป็ นต้น
  • 11. คลื่นสมองกับพลังพิเศษในตัวคุณ 2. คลื่นอัลฟ่ า (Alpha brainwave) มีความถี่ประมาณ 7-14 รอบต่อวินาที (Hz) ความถี่ ของคลื่นที่ ต่าลงมานี้ ก็คือ เป็ นคลื่นสมองที่ปรากฎบ่อย ในเด็กที่มีความสุข และในผูใหญ่ที่มีการฝึ กฝน ้ ่ ตนเองให้สงบนิ่งมากขึ้น อาจหมายถึง สภาวะที่จิตสมดุล อยูใน สภาวะสบายๆ มีการช้าลงด้วย การใคร่ ครวญ ไม่ด่วนตอบสนองต่อสิ่งเร้าด้วย อารมณ์อนรวดเร็ ว เวลาที่ความถี่นอยลง หมายถึง ั ้ ว่า เราจะคิดช้าลง เป็ นจังหวะ เป็ นท่วงทานอง คมชัด ให้เวลาแก่จิตในการไตร่ ตรองและมี ่ ่ ความคิดเป็ นระบบขึ้น สภาวะที่สมองทางาน อยูในคลื่นอัลฟ่ ายังพบอยูใน หลายๆ รู ปแบบ เช่น ขณะที่กล้ามเนื้อ หรื อ ร่ างกายผ่อนคลาย ช่วงเวลาที่ง่วงนอน ก่อนหลับหรื อหลับใหม่ๆ เวลาทา อะไรเพลินๆ จนลืมสิ่ งรอบๆ ตัว เวลาสบายใจ เวลาอ่านหนังสื อ หรื อ จดจ่อกับกิจกรรมใด ๆ อย่างต่อเนื่องในระยะเวลาหนึ่ง และการเข้าสมาธิ ในระดับภวังค์ที่ไม่ลึกมาก จากลักษณะดังกล่าว ช่วงคลื่นอัลฟ่ า จะเป็ นประตูไปสู่ การทาสมาธิในระดับลึก และถือว่า เป็ น ช่วงที่ดีที่สุด ในการป้ อนข้อมูล ให้แก่ จิตใต้สานึก สมองสามารถเปิ ดรับข้อมูลได้อย่างเต็มที่ และ เรี ยนรู้ได้อย่างรวดเร็ว มีความคิดสร้างสรรค์ เป็ นสภาวะที่ จิตมีประสิ ทธิภาพสูง ในทาง การแพทย์ และ จิตศาสตร์ เองก็ถือว่า สภาวะนี้เป็ น หัวใจของการสะกดจิต เพื่อการบาบัดโรค โดยหากจะ ตั้ง โปรแกรมจิตใต้สานึก ก็ควรทาใน ช่วงที่คลื่นสมองเป็ นอัลฟ่ า ในคนทัวไปเอง ก็ ่ ่ ควรฝึ กฝนตนเองให้ สมองทางานอยูใน ช่วงคลื่นอัลฟ่ า เป็ นประจาเช่นเดียวกัน เพราะจะช่วย ่ สร้าง ความผ่อนคลาย ร่ างกายจะไม่ทางานอยูบน ฐานแห่งความกลัว หรื อ วิตกกังวล แต่จะมอง ชีวิต อย่างสนุกสนาน มีความรู้สึกอยากเรี ยนรู้สิ่งใหม่ ๆ หรื ออยากสารวจโลกแบบเด็ก ๆ แต่คน ส่วนใหญ่ มักจะขาดการฝึ กฝนให้ตนเอง มีคลื่นสมองชนิดนี้ และมักปล่อยให้อารมณ์อตโนมัติ ั ตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ อย่างรวดเร็ ว ขาดการคิดใคร่ ครวญ ด้วยระยะเวลาอันเหมาะสมก่อน หากเรามีการฝึ กฝนจิตให้ตื่นรู้เช่นเดียวกัน กับแนวทางการปฏิบติธรรม ในพุทธศาสนา คลื่น ั อัลฟ่ านี้จะถูกบ่มเพาะให้เข้มแข็งขึ้น สามารถรื้ อโปรแกรมอัตโนมัติเก่า สร้างโปรแกรมอัตโนมัติ ใหม่ ๆ ได้
  • 12. 3. คลื่นเธต้า (Theta brainwaves) มีคลื่นความถี่ประมาณ 4 - 11 รอบต่อวินาที (Hz) เป็ นช่วง คลื่นที่สมองทางานช้าลงมาก พบเป็ นปรกติในช่วงที่คนเราหลับ หรื อมีความผ่อนคลายอย่างสูง ่ แต่ใน ภาวะที่ไม่หลับคลื่นชนิดนี้ ก็เกิดขึ้นได้เช่นกัน เช่น ขณะอยูในการภาวนาสมาธิที่ลึกใน ระดับหนึ่ง การเข้าสู่สภาวะนี้ จะใกล้เคียงกับ คลื่นสมองในสภาวะอัลฟ่ า คือ มีความสุข สบาย ลืมความทุกข์ แต่จะมีความปิ ติสุขมากกว่า สภาวะนี้ มีความเชื่อมโยงกับ การเห็นภาพต่าง ๆ สมองในช่วงคลื่นเธต้า จะเปรี ยบเสมือน แหล่งเก็บแรงบันดาลใจ ความคิดสร้างสรรค์ที่อยูใน ่ ความจิตใจส่วนลึกของเรา จึงเป็ นคลื่นสมองที่สะท้อนการทางานของจิตใต้สานึก (Subconscious Mind) อันเป็ นการทางานของเนื้อสมองส่วนใหญ่ของมนุษย์ ระดับพฤติกรรมภายใต้ความถี่ของ ของคลื่นเธต้า เป็ นลักษณะที่บุคคล คิดคานึงเพื่อแก้ปัญหา พบได้ท้งลักษณะที่รู้สานึก และไร้ ั สานึก ปรากฏออกมาเป็ น ความคิดสร้างสรรค์ เกิดความคิดหยังเห็น (Insight) มีความสงบทางจิต ่ และมองโลกในแง่ดี เกิดสมาธิแน่วแน่และเกิดปัญญาญาณ มีศกยภาพสาหรับ ความจาระยะยาว ั และ การระลึกรู้ 4. คลื่นเดลต้า (Delta brainwaves) มีความถี่ประมาณ 0 – 4 รอบต่อวินาที(Hz) เป็ นคลื่นสมองที่ ช้าที่สุด สภาวะนี้จะทาให้ ร่ างกายเกิดความผ่อนคลาย ในระดับที่สูงมาก เป็ นคลื่นสมองที่ทางาน เชื่อมต่อกับส่วนที่เป็ น จิตไร้สานึก (Unconscious mind) เช่น ในขณะที่ร่างกายหลับลึกโดยไม่มี การฝัน หรื อ เกิดจากการเข้าสมาธิลึกๆ ในระดับฌาน ในช่วงนี้คลื่นสมองแสดงให้เห็นว่า ร่ างกายกาลังดื่มด่ากับ การพักผ่อนลงลึกอย่างเต็มที่ เปรี ยบได้กบการประจุพลังงานเข้าสู่ร่างกาย ั ใหม่ ผูท่ีผ่านการหลับลึก ในช่วงเวลาที่พอเหมาะพอดี จะรู้สึกได้ถึงความสดชื่นกระปี้ กระเปร่ า ้ มากเป็ นพิเศษ เมื่อเปรี ยบเทียบกับ ผูที่นอนหลับไม่ค่อยสนิท และสาหรับผูที่ทาสมาธิอยูในระดับ ้ ้ ่ ฌานลึก ๆ เมื่อออกจากสมาธิแล้ว ก็จะยังคงติดรสแห่งปิ ติสุข ทาให้เกิดความสุขใจ มีใบหน้าผ่อง ใสเต็มอิ่ม ไปด้วย ความสุขสดชื่นเช่นเดียวกัน นอกจากนี้สมองยังแบ่งการทางานออกเป็ นซี กซ้าย และซี กขวา และคลื่นสมองทั้งสอง ด้าน ยังมีการขึ้นลงเป็ นอิสระต่อกัน ทาให้ความถี่ แตกต่างกัน แต่นกวิทยาศาสตร์ ได้คนพบว่า ใน ั ้ ระหว่างการฝึ กจิตทาสมาธิ จะส่งผลต่อ การปรับความถี่ของสมองทั้งสองด้าน ให้ข้ ึนลง เหมือนกัน กราฟของคลื่นสมอง ทั้งสองด้าน มีรูปร่ างคล้ายตุ๊กตา เป็ นลักษณะที่เรี ยกว่า Synchro- nization ซึ่ งการเกิด Synchronization นี้ จะทาให้เกิดพลังจิตที่เพิ่มขึ้นในมนุษย์ เป็ นภาวะพิเศษ
  • 13. แห่งการตื่นรู้ของจิต (Awakened Mind) นักวิชาการ ทางการแพทย์ และผูศึกษาและพัฒนาจิตเพื่อ ้ สุขภาพ กล่าวว่า “ เมื่อเราสามารถเข้าไปสู่ ’จิตใต้สานึก’ หรื อถึงระดับ ’จิตไร้สานึก’ ได้บ่อยๆ โดยที่มี ‘จิตสานึก’ กากับอยู่ ก็จะ ’จาได้’ และสามารถลงไปสู่แหล่งข้อมูล มหาศาล ได้บอยมาก ่ ขึ้นเร็ วมากขึ้น ข้อมูลที่ได้จาก ’จิตใต้สานึก’ และ ’จิตไร้สานึก’ นั้น เป็ นข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยา จะออกมาในลักษณะที่เรี ยกว่า ‘ญาณทัศนะ’ (Intuition) หรื อ ‘ ปิ๊ งแว๊บ ’ หรื อ ‘ ยูเรก้า ’ ซึ่ งเป็ น ชุดภาษาอีกแบบหนึ่ง ที่อาจจะไม่ใช่คาพูด แต่มีความพอเหมาะพอดีแบบที่คาดไม่ถึง “ เราได้เรี ยนรู้ว่า ขณะที่สมองทางานอยูในช่วงคลื่นอัลฟ่ า เธต้า และเดลต้า จะช่วยให้เราผ่อนคลาย ่ และมีประสิ ทธิภาพสูงขึ้น แต่สภาวะ ปัจจุบน เกือบทุกสิ่ งรอบตัว ต่างเต็มได้ดวย ความเร่ งด่วน ั ้ ่ นับตั้งแต่ลืมตาตื่นขึ้นมาในตอนเช้า เราก็อยูใน โลกแห่งความเร่ งรี บเสี ยแล้ว ชีวิตมีแต่การบ่ม เพาะว่า ทุกอย่างต้องรวดเร็ ว หากช้าจะไม่ทนการณ์ สมองของคนส่วนใหญ่ จึงทางานอยูใน ั ่ เฉพาะช่วงคลื่นเบต้า เป็ นหลัก ในขณะเดียวกันเรา ก็ปล่อยให้ การสังการของโปรแกรมอัตโนมัติ ่ ทางอารมณ์ ทางานไปตามยถากรรมแบบดีบางไม่ดีบาง คุมดีคุมร้ายสุดแต่ว่าจะมีอะไรเข้ามา ้ ้ ้ ้ กระทบ เราขาดการฝึ กฝนจิต ให้มีความชานาญใน การคิดอย่างใคร่ ครวญก่อนตอบสนอง จะเห็นว่า ในทางปฏิบติ เรื่ องสาคัญอันดับแรกที่จะทาให้เราปรับคลื่นสมองได้ คือ เราต้องรู้ตว ั ั และฝึ กการรับรู้อารมณ์ให้ได้ก่อน มีเทคนิค ที่สามารถนามา ใช้ได้ตลอดเวลาในการดาเนิน ชีวิตประจาวันของเรา จากหนังสื อชื่อ “บายพาสอารมณ์” ของ นพ.วิธาน ฐานะวุฑฒ์ ได้ให้ แนวคิดว่า ตลอดเวลาที่เราตื่นกันอยู่ ประมาณ 16 ชัวโมงต่อวันนั้น เราเคยสนใจลมหายใจของเรา ่ หรื อไม่ ง่ายๆ แค่ว่ารู้ตวว่า เราหายใจเข้า รู้ตวว่าเราหายใจออก ก็นบเป็ นจุดเริ่ มต้นเส้นทางใหม่ ั ั ั ของปฏิกิริยาชีวเคมีในสมองแล้ว การฝึ กรับรู้ ลมหายใจ นี้เป็ น แบบฝึ กหัดเริ่ มต้นแบบง่ายๆ ในขณะที่การฝึ กรับรู้อารมณ์จะยากกว่า แต่ถาเราฝึ กตัวรู้เรื่ อง ลมหายใจ ได้กเ็ สมือน ได้พฒนา ้ ั ช่องทางการรับรู้อ่ืนด้วย ดังนั้นไม่ว่าจะเป็ นพุทธศาสนา โยคะ ซี่ กง จึงเน้นความสาคัญเรื่ อง การ ฝึ กลมหายใจเหมือนกัน ในการฝึ กรับรู้อารมณ์น้ ี นพ.วิธาน แนะนาว่าให้ลองเฝ้ าดูอารมณ์ท่ีเกิดขึ้น โดยใช้วิธีสมมติว่ามีตว ั เราอีกคนหนึ่ง กาลังเฝ้ าดูตวเรา คนที่ท่ีกาลังมีอารมณ์น้ น ๆ หากเป็ นอารมณ์ในทาง ”บวก” หรื อ ั ั อารมณ์ ”กลาง” ๆ ก็ให้เฝ้ าดูและดื่มด่ากับอารมณ์น้ ีอย่างรู้ตว ไม่หลงระเริ งไปกับมัน แต่ถาเป็ น ั ้ อารมณ์ ”ลบ” ก็เพียงเฝ้ าดูอีกเช่นกัน เสมือนหนึ่ง การชาเลืองดูลูกน้อย ที่กาลังทาผิด โดยที่ไม่ไป ทะเลาะด้วย พยายามให้ความสาคัญกับตัวเราคนที่เฝ้ าดู อย่าไปโฟกัสกับตัวเราคนที่กาลังเกิด ่ อารมณ์โกรธ วิตกกังวล หรื อ อารมณ์ไม่ดี อยูในขณะนั้น ด้วยหลักการของพลังงานมีข้ ึนลง ไม่
  • 14.
  • 15. จาเป็ นต้องระเบิด เพื่อระบายอารมณ์ ในที่สุดตัว เราคนที่กาลังโกรธ จะค่อยๆ คลายไปเอง การ สร้างเส้นทางใหม่ของอารมณ์น้ ี จะค่อยๆเปลี่ยนพลังด้านลบออกไปเป็ น พลังด้านบวก เพียงเฝ้ าดู แบบยิ้มๆ เท่านี้เอง วิธีน้ ีทางพุทธศาสนามีมากว่า สองพันปี แล้ว และเป็ นเส้นทางที่ได้ผลดีมาก แต่เราต้องใช้ความพยายาม ในการฝึ กฝนบ่อยๆ ต้องใช้เวลา อาจได้บางไม่ได้บางในระยะแรก ๆ แต่ถาทาบ่อย ๆ จะเกิดความชานาญขึ้นเอง โดย นพ.วิธาน ้ ้ ้ ให้ขอคิดว่า ทุกวันนี้ เราต่างมีเวลา สร้างสิ่ งต่าง ๆ ให้เกิดขึ้นมากมาย ถึงเวลาแล้วหรื อยังที่เราจะ ้ ั สร้างเส้นทางใหม่ให้กบอารมณ์ของเราเอง และเทคนิคใน การเฝ้ าดูอารมณ์ ของตนเองนี้ เปรี ยบเสมือนการ”ล้างพิษหรื อดีทอกซ์”ของจิตใจที่ดีมากวิธีหนึ่ง ็ ความเข้าใจกลไก การทางานแห่งโลกภายในตนเอง มีส่วนอย่างมากในการช่วยให้มนุษย์สามารถ พัฒนาจิตใจและคุณภาพภายใน และเป็ นเรื่ องที่ไม่ได้ แยกขาดจาก การดาเนินชีวิตของเราแต่ อย่างใด เมื่อนาไปประกอบกับ วิชาความรู้ ที่เราศึกษาเพิ่มเติม จากโลกภายนอก จะทาให้ความรู้ ของมนุษย์ เกิดความสมดุล สามารถระลึกรู้และใช้ปัญญากากับได้ ดังนั้นไม่ว่าใคร จะมีบทบาท ่ อยูใน หน้าที่ใดในสังคม ก็จะสามารถเลือกใช้วิชาการต่างๆ ที่เป็ นประโยชน์มาประสาน เชื่อมโยงกันอย่างชาญฉลาด ภายใต้ความเมตตา และจิตสานึกต่อส่วนรวม