SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 1
แนวทางการปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ จัดประชุมเวที Think Tank เรื่องนโยบายการปฏิรูปด้าน
การศึกษาของไทย: ปฏิรูปตรงไหน ปฏิรูปอย่างไร วันที่ 26 กันยายน 2561 ณ ห้องประชุมแคนนา 1
โรงแรมรามา การ์เด้น เขตหลักสี่ กทม. โดยมี ทันตแพทย์กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ เลขานุการ
คณะกรรมการอานวยการภาคีเพื่อการศึกษาไทย (TEP) คุณณิชา พิทยาพงศกร นักวิจัยนโยบาย
การศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) และรองศาสตราจารย์ ดร. อนุชาติ พวงสาลี
ร่วมเสนอแนวทางการปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย โดยมีบทสรุปเชิงนโยบาย ดังนี้
ฉบับที่ 1 / 2561
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Policy Brief
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2
1. สถานการณ์ด้านการศึกษา
1) ปัจจัยภายนอกที่กระทบการศึกษาไทย
- การเปลี่ยนแปลงทางประชากรของไทย (Demographic Shift) อัตราการเกิดของเด็กไทยลดลง
จากปีละ 1 ล้านคนเมื่อ 20 ปีก่อน เหลือ 7 แสนคน ในอีก 3 ปี (2564) ไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
สมบูรณ์ (มีผู้สูงอายุร้อยละ 20 ของจานวนประชากร) เป็นทั้งโอกาสและความท้าทาย โอกาสคือเป็น
จังหวะให้ถ่ายเลือดครูในระบบการศึกษาไทยครั้งใหญ่ เนื่องจากอีก 5 ปีครูรุ่น Baby Boomer กาลัง
จะเกษียณ 2 แสนคน ส่วนความท้าทายคือ อัตราการเกิดที่ลดลงส่งผลให้จานวนนักเรียนใน
โรงเรียนน้อยลง โรงเรียนขนาดเล็กซึ่งปัจจุบันมีจานวนราว 15,000 โรง (ร้อยละ 50 ของโรงเรียน
ทั้งหมดในไทย) หลายแห่งต้องถูกยุบ เนื่องจากจานวนนักเรียนน้อยเกินไป (ปัจจุบันบางโรงเรียนมี
นักเรียนไม่ถึง 20-60 คน)
- การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี (Technology shift) จากยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สี่ นามา
ซึ่งโอกาสคือ เทคโนโลยีช่วยเพิ่มช่องทางเข้าถึงความรู้ โดยไม่ต้องผ่านครูและสถาบันการศึกษา
เท่านั้น เช่น คอร์สออนไลน์อย่าง MOOCs (Massive Open Online Course) ซึ่งมหาวิทยาลัยชั้น
นาของโลกหลายแห่งกาลังเปิดสอน มีนักศึกษาทั่วโลกใช้งานกว่า 81 ล้านคน แต่ความท้าทายคือ
แรงงานไทยกว่า 8.2 ล้านคนจะถูกเทคโนโลยีสมัยใหม่อย่าง automation และ AI แทนที่ ซึ่งร้อยละ
70 จะเป็นผู้จบการศึกษาระดับมัธยม 3 / 6 หรืออาชีวศึกษาที่ทางานที่ไม่ต้องใช้ความรู้แต่ทาซ้าๆ
และที่เหลือจะเป็นคนจบปริญญาที่ทางานที่ใช้ความรู้บางอย่างที่ AI แทนได้อย่างนักกฎหมาย
(ประมวลคาตัดสินเก่าๆ ซึ่ง AI ถนัด) ผู้ที่มีรายได้น้อย และจบการศึกษาไม่สูง จะไปหางานใหม่ทา
ยาก
- การเปลี่ยนแปลงของความคาดหวังของสังคมต่อระบบการศึกษา (Aspiration Shift) คนไทย
คาดหวังต่อคุณภาพและผลสัมฤทธิ์การศึกษามากขึ้น ทั้งจากการที่คนกลุ่มหนึ่งมีความเป็นอยู่ดีขึ้น
พร้อมจะทุ่มเงินแก่การศึกษาบุตรหลาน แต่สภาพความจริงของการศึกษาไทยห่างจากความ
คาดหวังมากจากการจัดอันดับเกือบทุกการทดสอบ ทั้งยังเผชิญความเหลื่อมล้าที่เด็กส่วนน้อย
เข้าถึงการศึกษาคุณภาพดีราคาแพง เช่น โรงเรียนนานาชาติและกวดวิชา แต่เด็กส่วนใหญ่เข้าไม่ถึง
2) สถานการณ์การศึกษาของไทย
- คุณภาพการศึกษาของเด็กไทยอยู่ในระดับต่า จากผลการทดสอบของ PISA Test และ
ธนาคารโลก พบว่าคะแนนของเด็กไทยอยู่ในลาดับที่ 54 จาก 70 ของเอเชีย และระดับคุณภาพ
การศึกษาอยู่ในลาดับที่ 6 ของอาเซียน ขณะที่ทักษะด้านภาษาอังกฤษจาการทดสอบของ
Education First ของเด็กไทยอยู่ในลาดับที่ 53 จาก 54 ประเทศทั่วโลก
- จานวนครูล้นตลาด จานวนบัณฑิตจากครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์มีอัตราสูงกว่าตาแหน่งวิชาชีพ
ครู 2-3 เท่า และมีหลักสูตรผลิตครูมากเกินกว่าความต้องการครูในระบบ (เกือบ 90 หลักสูตร)
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3
- ขาดการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ระบบการศึกษาไทยเน้นวิธีการท่องจาในปริมาณที่อัดแน่น
(Content Oriented) วัดผลด้วยข้อสอบแบบปรนัย ซึ่งเป็นการวัดความจาแต่ขาดการคิดวิเคราะห์
อย่างเป็นระบบ ซึ่งปรากฏอยู่ในการศึกษาไทยตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึงระดับอุดมศึกษา
- ลงทุนด้านการศึกษามากแต่ผลลัพธ์ที่ได้กลับไม่เป็นที่น่าพอใจ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา
งบประมาณการศึกษาของไทยเพิ่มขึ้นถึง 3 เท่า ซี่งสูงกว่า สิงคโปร์ ฮ่องกง เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น
สะท้อนให้เห็นว่า ไทยลงทุนด้านการศึกษามากแต่ผลลัพธ์ที่ได้กลับไม่เป็นที่น่าพอใจ
- ใช้เวลาเรียนมาก จากการสารวจเด็กไทยใช้เวลาเรียนเฉลี่ย 1,200 ชั่วโมงต่อปี ในขณะที่ค่าเฉลี่ย
ของกลุ่มประเทศองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for
Economic Co-operation and Development - OECD) อยู่ที่เพียง 907 ชั่วโมงต่อปี
- เกิด Evil in the Process ที่ผ่านมามีนโยบายด้านการศึกษาที่ดีจานวนมาก แต่ไม่สามารถนาไป
ปฏิบัติให้เกิดผลได้จริง
- ขาดการลงมือปฏิบัติและทดลอง การศึกษาไทยมุ่งเน้นตารา ทฤษฎี และการเรียนในห้องเรียน
ขาดการลงมือปฏิบัติและทดลอง ส่งผลให้เด็กไม่สามารถนาความรู้ที่มีไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตจริง
- ใช้หลักสูตรเหมือนกันทั้งประเทศ (one size fit all) และเป็นการศึกษาที่เน้นให้เนื้อหาสาระ
ความรู้ (content-based) มากกว่าสอนทักษะการเรียนรู้ หลักสูตรการศึกษาออกแบบให้
เหมือนกันทั้งประเทศโดยไม่ได้คานึงถึงความต้องการของแต่ละพื้นที่ เน้นให้ความรู้ที่เป็นเนื้อหา
มากกว่าเรียนทักษะการเรียนรู้ และให้เด็กต้องเรียนรู้ในทุกรายวิชาซึ่งกระบวนการเรียนรู้แบบนี้
เหมาะกับโลกที่มีความแน่นอนและเปลี่ยนแปลงช้าเช่นในอดีต ในปัจจุบัน การเน้นให้เด็กเรียนทุก
รายวิชาไม่สามารถทาให้เด็กมีทักษะเชี่ยวชาญได้ในทุกเรื่องตามเป้าหมายของหลักสูตรได้
- หน่วยที่เล็กที่สุด คือ ครอบครัว ล่มสลาย ด้วยสภาพสังคมในปัจจุบันผู้ปกครองต้องทางานหนัก
เพื่อให้มีรายได้ที่พอต่อการใช้จ่าย จึงไม่มีเวลาดูแลอบรมบุตรในเรื่องประสบการณ์ชีวิต และเอา
ความหวังในการอบรมบุตรทั้งหมดไปฝากไว้ที่ครู
- ครูมีภาระมาก นอกจากภาระงานสอนและการดูแลเด็กแล้ว ครูยังต้องทารายงานและแบบประเมิน
นอกจากนี้ยังต้องแบกรับโครงการต่างๆ ที่มอบหมายมาจากส่วนกลาง ซึ่งในปัจจุบันมีมากกว่า 200
โครงการ
- สายสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนและโรงเรียนกับชุมชนขาดออกจากกัน และไม่มีความไว้
วางในต่อกัน
- ขาดการเรียนรู้ระหว่างรุ่น (Intergeneration Learning) เด็กปฏิเสธแนวคิดของคนรุ่นเก่า ขณะที่
ผู้ใหญ่มีอคติต่อแนวคิดของเด็ก ส่งผลให้ขาดการส่งต่อคุณค่าและอุดมการณ์ของชาติจากรุ่นสู่รุ่น
- ขาดความต่อเนื่องเชิงนโยบาย ในช่วง 15 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยมีรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการถึง 16 คน เฉลี่ยคิดเป็นเวลา 10 เดือน ต่อรัฐมนตรี 1 คน จึงส่งผลกระทบต่อ
ความต่อเนื่องของนโยบายด้านการศึกษาไทย
- เด็กมีทักษะปรับตัวรับเทคโนโลยีได้เร็วกว่าหลักสูตรการศึกษา เห็นได้จากเด็กหลายคนมี
ธุรกิจค้าขายออนไลน์ควบคู่ไปกับการศึกษาในห้องเรียน และตามสถิติจานวนมีเด็กจานวนไม่น้อยที่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4
เลือกออกไปประกอบอาชีพโดยไม่เรียนต่อในระดับอุดมศึกษา ซึ่งมหาวิทยาลัยไม่ใช่เป้าหมายใหญ่
ของชีวิตอีกต่อไป
- เด็กไทยจานวนมากเรียนไม่จบการศึกษาภาคบังคับ (drop out) จากข้อมูล มีเด็กจานวนกว่า
ร้อยละ 30 หรือคาดว่าไม่ต่ากว่าปีละ 1 แสนคนที่ออกจากระบบการศึกษากลางคัน
2. ข้อเสนอแนวทางการปฏิรูปการศึกษาไทย
หมวดที่ 1 การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง
- กระจายอานาจการบริหารสู่โรงเรียนและคณะกรรมการการศึกษา เพื่อให้ชุมชนและภาคเอกชน
เข้ามามีส่วนร่วม
- แยกบทบาทระหว่างผู้จัดการศึกษา คือโรงเรียน ผู้จัดการเงิน และผู้จัดการนโยบายออกจากกัน
- จัดตั้งสถาบันวิจัยระบบการศึกษา ซึ่งควรเป็นหน่วยงานอิสระที่คิดนอกกรอบจากระบบราชการ
และระบบการศึกษาแบบเดิม
- จัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาครูอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยมีงานวิจัยมารองรับการทา
หลักสูตรและตั้งกลไกในการพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง
- ปรับปรุงเงื่อนไขและคุณสมบัติของครูผู้สอน เปิดโอกาสให้ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ที่ไม่ได้
สาเร็จการศึกษาด้านครุศาสตร์หรือศึกษาศาสตร์โดยตรงสามารถประกอบวิชาชีพครูได้
- ให้เด็กที่ความรู้ไม่ผ่านเกณฑ์ซ้าชั้นได้ ที่ผ่านมา มีข้อกาหนดว่าหากเด็กสอบตกซ้าชั้นเป็น
ความผิดของครู ดังนั้น จึงเกิดเหตุการณ์ที่เมื่อเด็กสอบไม่ผ่าน ครูก็จะมาเฉลยข้อสอบให้เด็กฟังแล้ว
สอบใหม่ จึงทาให้เด็กทุกคนผ่านโดยที่ไม่ได้มีความรู้ที่ได้มาตรฐาน
- เปิ ดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ที่สามารถสะท้อนความต้องการต่อระบบการศึกษาได้เข้ามีส่วนร่วม
ในการปฏิรูปการศึกษา เช่น กลุ่มธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) ที่รวมตัวเป็นเครือข่าย
ขับเคลื่อนด้านการศึกษา
- สร้างการศึกษาพื้นฐานให้ได้มาตรฐานและมีประสิทธิภาพ การสร้างเทคโนโลยีใหม่ๆ ในยุค 4.0 มี
พื้นฐานจาก Know How เก่า ดังนั้นเพียงเราทาให้การศึกษาที่มีอยู่มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน
เด็กก็จะสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได้
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5
หมวดที่ 2 ใช้เทคโนโลยีในการสร้างการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกระบบ
- การจัดทาหลักสูตรวิชาพื้นฐานเข้าสู่ระบบออนไลน์ (Massive Open Online Course :
MOOC) โดยให้นักเรียนทั่วประเทศสามารถเข้าถึงความรู้ได้ และการจัดทา Big Data เพื่อใช้
วิเคราะห์การจัดหลักสูตรใหม่โดยการมีส่วนร่วมของครูและนักเรียน
- ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการออกแบบการศึกษา ยกตัวอย่างบริษัทเอกชนด้านเทคโนโลยีขนาด
ใหญ่ อาทิ Google, Walmart, GE ฯลฯ ร่วมกันจัดทาหลักสูตรการศึกษาเพื่อสร้างบุคลากรที่มีความ
เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเข้าสู่ระบบธุรกิจได้โดยตรง
หมวดที่ 3 การออกแบบหลักสูตรการศึกษา
- ปรับเปลี่ยนเป้ าหมายการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะและทักษะของเด็กให้เหมาะสมกับโลก
ที่กาลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังเช่นในหลายประเทศที่พัฒนาแล้ว อาทิ สหรัฐอเมริกา
สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และฟินแลนด์ มีการกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะ ประกอบไป
ด้วยทักษะการใช้ชีวิต การประกอบอาชีพ สารสนเทศและเทคโนโลยี โดยเด็กสามารถมีส่วนร่วมใน
การออกแบบหลักสูตรการเรียนของตน มีทักษะการคิดเชิงวิพากษ์อย่างเป็นระบบ มีความคิด
สร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมกับสังคม เป็นต้น
- นโยบายการศึกษาควรตอบโจทย์ 4 เป้ าหมายใหม่ คือ
1) เรียนรู้ตลอดชีวิต การศึกษาในยุคใหม่จะไม่ใช่เพียงการศึกษาภาคบังคับ ต้องครอบคลุมตั้งแต่
ประถมวัยถึงผู้สูงอายุ และต้อง Re-skill คนวัยทางาน
2) ผลสัมฤทธิ์เป็นที่ยอมรับ ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาต้องสูงในระดับที่ยอมรับได้และต้องเสมอภาค
การปฏิรูปต้องเห็นผลที่ตัวเด็กเพื่อให้พ่อแม่ยอมรับ
3) พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ต้องสร้างการศึกษาที่ทาให้คนมีทักษะที่ยากแก่การถูกทดแทนโดย
เทคโนโลยี เช่น ตามหลัก Head Hand Heart (Head คือ ความคิดสร้างสรรค์ Hand คือ ทักษะที่
ต้องใช้สัมผัสละเอียด เช่น ศัลยแพทย์ Heart คือ การดูแลเอาใจใส่ มนุษยสัมพันธ์ และการ
ทางานร่วมกัน) และฝึกให้เรียนวิธีการเรียนรู้สิ่งต่างๆ (Learning how to learn) มากกว่าเรียน
เนื้อหา
4) เสมอภาคทุกระดับ ลดความเหลื่อมล้า เพิ่มการเข้าถึงของเด็กยากจน
- ปรับบทบาทของผู้เล่นในระบบการศึกษา
1) เด็กเป็นเจ้าของการเรียนรู้
2) พ่อแม่ต้องส่งเสริมให้ลูกค้นพบตัวเอง ทาตามเป้าหมาย
3) ครูต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนรู้
4) โรงเรียน เป็นพื้นที่แห่งการเติบโตของเด็กและครู
5) มหาวิทยาลัย ต้องเป็นแหล่งฝึกทักษะใหม่ เปิดตลาดวัยทางาน
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6
6) รัฐ เป็นทีมสนับสนุน ร่วมลงทุนระยะยาว นอกเหนือจากการลงทุนในสถานศึกษา เช่น ให้พ่อแม่
มีเวลาเลี้ยงบุตรหลังคลอดได้นานขึ้น และสร้างแหล่งเรียนรู้สาธารณะใหม่ๆ เช่น ห้องสมุด
พิพิธภัณฑ์
7) ภาคธุรกิจ ต้องปรับตัวเป็นองค์กรพัฒนาคน พัฒนาศักยภาพพนักงานอยู่ตลอด
- เลิกใช้หลักสูตรเดียวเหมือนกันทั้งประเทศ ให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการออกแบบการศึกษาเพื่อ
สร้างบุคลากรเพื่อตอบสนองความต้องการของท้องที่ได้ และให้แต่ละโรงเรียนกาหนดหลักสูตรเอง
ได้
- เปลี่ยนความคิดของส่วนกลางที่จะให้การศึกษา เป็นการไปสร้างพื้นที่การเรียนรู้ใหม่ๆ
เพื่อให้เด็กสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข โดยนาเทคโนโลยี AI และนวัตกรรมมาเป็น
ตัวช่วย และต้องเปลี่ยนวิธีการสอน ทาให้ห้องเรียนไม่น่าเบื่อ ยกตัวอย่าง การนาบอร์ดเกมเข้ามา
เป็นสื่อการสอน
- เลิกใช้ระบบการสอบวัดผลแบบปรนัย เปลี่ยนการออกข้อสอบเป็นแบบเขียนตอบเพื่อให้เด็กได้
หัดคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ไม่ใช่เพียงการท่องจาเพื่อนาไปสอบเท่านั้น
- เพิ่มการลงมือปฏิบัติและทดลอง นอกเหนือจากการเรียนรู้ทฤษฎีภายในห้องเรียนแล้ว เด็กควร
ได้ลงมือปฏิบัติและทดลองจริง เพื่อฝึกทักษะและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
- กลับสู่บูรพาสิกขาลัย คือ จะต้องมีความเป็นตะวันออกเข้าไปผสมผสานในหลักสูตร ต้องเน้นระบบ
คุณค่าของชาติที่กาลังจะเลือนหายจากเด็กในยุคปัจจุบัน
- ข้อเสนอของภาคีเพื่อการศึกษาไทย (TEP)
1) เด็กรู้จักตนเอง สามารถเลือกเรียนได้ตามความชอบและความถนัด
2) เด็กเป็นเจ้าของการเรียนรู้
3) เรียนรู้การทางานเป็นทีม
4) เป็นพลเมืองที่มีส่วนร่วม
5) มีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
6) มีคุณธรรม
หมวดที่ 4 การเปลี่ยนทัศนะของสังคม
- ผู้ปกครองต้องมีทัศนคติใหม่ในการส่งเสริมศักยภาพของเด็ก ไม่กดดันเด็กให้ต้องแข่งขันใน
ระบบการศึกษา
- ครูและโรงเรียนต้องเป็นผู้สร้างแรงบันดาลใจและเสริมสร้างศักยภาพของเด็ก
- ท้องถิ่นต้องมีส่วนร่วมในการออกแบบการศึกษาและสร้างเครือข่าย นักเรียน ผู้ปกครอง และ
ครูต้องมีการสื่อสารกันอย่างเป็นระบบ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 7
หมวดที่ 5 ข้อเสนอต่อผู้ที่จะปฏิรูปการศึกษา
- สามารถปฏิรูปได้หลายระดับ การปฏิรูปการศึกษาเช่นเดียวกับการปฏิรูปเรื่องอื่นๆ สามารถทา
ได้ตั้งแต่ระดับแรงสุดจนถึงเบาสุด ขึ้นอยู่กับผู้ตัดสินใจจะเลือกแนวทางใดและต้องเตรียมรับมือกับ
แรงเสียดทานที่จะเกิดขึ้น สาหรับการปฏิรูปการศึกษา สามารถมีระดับการเปลี่ยนแปลงจากแรงไป
เบาได้ เช่น
1. เปลี่ยนเชิงโครงสร้าง แยกบทบาทผู้ซื้อออกจากผู้ให้บริการแบบเดียวกับการปฏิรูป
สาธารณสุข
2. การกระจายอานาจสู่โรงเรียนและพื้นที่ (มีกระแสรองรับดีอยู่แล้ว)
3. การทาพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (ทาได้ทันที มีแรงต้านน้อย)
- ไม่ควรมุ่งเป้ าที่โครงการประชานิยมระยะสั้น เช่น การแจก Tablet เพื่อการศึกษา หรือการ
ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ทั่วประเทศ ซึ่งโครงการลักษณะนี้ที่ผ่านมา ไม่สามารถปฏิรูประบบ
การศึกษาไทยได้
- สร้างการปฏิรูปการศึกษาในลักษณะการเคลื่อนไหวทางสังคม (Social Movement หรือ
Policy Movement) การปฏิรูปการศึกษา จากการปฏิรูปครั้งที่ผ่านๆ มา ถ้าทาเป็นนโยบายหรือ
คาสั่งอย่างเดียวจะไม่สาเร็จ ต้องสร้างเป็นการรณรงค์ขนาดใหญ่โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
- ต้องวางทิศทางการปฏิรูปการศึกษาที่ชัดเจนและเป็นที่ยอมรับในหลักการใหญ่ และเอาจริง
เอาจังมากพอจะได้รับความร่วมมือจากข้าราชการ ผู้ปกครอง และภาคส่วนอื่นๆ
- ไม่ควรทาปฏิรูปจากบนลงล่าง การปฏิรูปด้วยคาสั่งและนโยบายจะไม่สาเร็จดังเช่นการปฏิรูป
การศึกษาที่ผ่านมา แต่ต้องเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนตั้งแต่ขั้นเริ่มต้นของการปฏิรูป แล้ว
บุคคลเหล่านี้จะช่วยกันผลักดันการปฏิรูปต่อไปเอง
- ต้องเข้าใจภูมิทัศน์ทางการเมืองในกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีระเบียบผูกพัน ซับซ้อนอย่างมาก
อันเป็นอุปสรรคใหญ่หลวงต่อการเปลี่ยนแปลงมาเสมอ
- ไม่นานโยบายการศึกษามาเป็นประเด็นทางเมือง ควรเน้นความร่วมมือทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่าย
ค้านในการปฏิรูประบบการศึกษา และทาให้การศึกษาเป็นวาระแห่งชาติที่ทุกรัฐบาลต้องทางาน
ต่อเนื่องกันอย่างเป็นระบบ
3. ตัวอย่างพื้นที่ทดลองปฏิรูปการศึกษา (พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา)
พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา หรือ Sand Box เป็นแนวคิดและวิธีปฏิบัติที่สร้างพื้นที่เล็กๆ ขึ้นมา
เพื่อทดลองสร้างนวัตกรรมการศึกษาโดยเฉพาะ ก่อนจะขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ พื้นที่นวัตกรรม
การศึกษาเป็นเครื่องมือการเปลี่ยนผ่านจากระบบการศึกษาแบบเก่าไปสู่แบบใหม่ โดยมีหลักการคือ 1)
ต้องปลดล็อค กระจายอานาจให้โรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษาต่างๆ มีอิสระในการบริหารจัดการ
หลักสูตร บุคลากร และการจัดการเรียนการสอนได้เอง ให้โรงเรียนและพื้นที่สร้างหลักสูตรที่เหมาะสมกับ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 8
ท้องถิ่นได้โดยยังสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางที่สาคัญ และ 2) เป็นพื้นที่สาหรับทดลองนวัตกรรม
การศึกษาแบบใหม่ ตามแนวทางการจัดทาพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ดังนี้
1. ใช้หลักสูตรสร้างทักษะศตวรรษที่ 21 ตามบริบทพื้นที่
2. จัดหาสื่อการสอนรูปแบบใหม่
3. สร้างภาคีร่วมพัฒนาบุคลากรในพื้นที่
4. การสอบและการประเมินผลต้องเป็นไปเพื่อการพัฒนา
5. การบริหารจัดการช่วยลดภาระโรงเรียน
ปัจจุบันการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาได้ทดลองในพื้นที่นาร่องที่ตอบโจทย์ครอบคลุม
ทั่วประเทศ ประกอบด้วยจังหวัด ระยอง ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดของประเทศ มี
อาชญากรรมสูง มีเขตเศรษฐกิจพิเศษ และกาลังต้องการบุคลากรที่มีทักษะแบบใหม่ ศรีสะเกษ เป็น
จังหวัดใหญ่แต่ยากจน เด็กส่วนใหญ่จบการศึกษามาเป็นแรงงานในภาคเกษตร และ สตูล เป็นจังหวัดที่
มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรม โดยทั้ง 3 จังหวัดมีโรงเรียนในพื้นที่ที่ต้องการปฏิรูป
การศึกษา ขณะที่คนในพื้นที่เห็นชอบกับแนวทางการปฏิรูปดังกล่าว ปัจจุบัน มติ ครม.เห็นชอบร่าง
พระราชบัญญัติเขตพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและอนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูป
การศึกษาแล้ว
ผลลัพธ์ของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา
- สร้างการศึกษาที่เชื่อมโยงกับสภาพแวดล้อมจุดเด่นของแต่ละพื้นที่มากกว่าการศึกษาชุดเดียว
ทั้งประเทศ ให้เด็กได้รับการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงตนเองกับพื้นที่ แก้ปัญหาการอพยพย้ายถิ่นไป
เรียนต่อและทางานในเมืองใหญ่
- ทาให้โรงเรียนมีประสิทธิภาพและมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่ดีขึ้นในงบประมาณเท่าเดิม
- ได้ Model การปฏิรูปการศึกษาที่อ้างอิงจากงานวิจัยเพื่อนาไปขยายผลในระดับประเทศ (ทีม
นโยบายการศึกษา TDRI กาลังขับเคลื่อนเรื่องนี้อยู่)
***
ประธานสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864

More Related Content

What's hot

นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘
นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘
นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘สรวิชญ์ สินสวาท
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอkrupornpana55
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงJirathorn Buenglee
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมsomjit003
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreenNSTDA THAILAND
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ทศพล พรหมภักดี
 
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่Napadon Yingyongsakul
 
STEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century LearningSTEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century LearningWachira Srikoom
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงKroo Naja Sanphet
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10Jirathorn Buenglee
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Educationรายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Educationกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

What's hot (20)

นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘
นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘
นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรม
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียงตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
 
STEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century LearningSTEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century Learning
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
 
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Educationรายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 

Similar to แนวทางปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย

รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 

Similar to แนวทางปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย (20)

รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

แนวทางปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย

  • 1. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 1 แนวทางการปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ จัดประชุมเวที Think Tank เรื่องนโยบายการปฏิรูปด้าน การศึกษาของไทย: ปฏิรูปตรงไหน ปฏิรูปอย่างไร วันที่ 26 กันยายน 2561 ณ ห้องประชุมแคนนา 1 โรงแรมรามา การ์เด้น เขตหลักสี่ กทม. โดยมี ทันตแพทย์กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ เลขานุการ คณะกรรมการอานวยการภาคีเพื่อการศึกษาไทย (TEP) คุณณิชา พิทยาพงศกร นักวิจัยนโยบาย การศึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) และรองศาสตราจารย์ ดร. อนุชาติ พวงสาลี ร่วมเสนอแนวทางการปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย โดยมีบทสรุปเชิงนโยบาย ดังนี้ ฉบับที่ 1 / 2561 วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Policy Brief
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2 1. สถานการณ์ด้านการศึกษา 1) ปัจจัยภายนอกที่กระทบการศึกษาไทย - การเปลี่ยนแปลงทางประชากรของไทย (Demographic Shift) อัตราการเกิดของเด็กไทยลดลง จากปีละ 1 ล้านคนเมื่อ 20 ปีก่อน เหลือ 7 แสนคน ในอีก 3 ปี (2564) ไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ สมบูรณ์ (มีผู้สูงอายุร้อยละ 20 ของจานวนประชากร) เป็นทั้งโอกาสและความท้าทาย โอกาสคือเป็น จังหวะให้ถ่ายเลือดครูในระบบการศึกษาไทยครั้งใหญ่ เนื่องจากอีก 5 ปีครูรุ่น Baby Boomer กาลัง จะเกษียณ 2 แสนคน ส่วนความท้าทายคือ อัตราการเกิดที่ลดลงส่งผลให้จานวนนักเรียนใน โรงเรียนน้อยลง โรงเรียนขนาดเล็กซึ่งปัจจุบันมีจานวนราว 15,000 โรง (ร้อยละ 50 ของโรงเรียน ทั้งหมดในไทย) หลายแห่งต้องถูกยุบ เนื่องจากจานวนนักเรียนน้อยเกินไป (ปัจจุบันบางโรงเรียนมี นักเรียนไม่ถึง 20-60 คน) - การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี (Technology shift) จากยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สี่ นามา ซึ่งโอกาสคือ เทคโนโลยีช่วยเพิ่มช่องทางเข้าถึงความรู้ โดยไม่ต้องผ่านครูและสถาบันการศึกษา เท่านั้น เช่น คอร์สออนไลน์อย่าง MOOCs (Massive Open Online Course) ซึ่งมหาวิทยาลัยชั้น นาของโลกหลายแห่งกาลังเปิดสอน มีนักศึกษาทั่วโลกใช้งานกว่า 81 ล้านคน แต่ความท้าทายคือ แรงงานไทยกว่า 8.2 ล้านคนจะถูกเทคโนโลยีสมัยใหม่อย่าง automation และ AI แทนที่ ซึ่งร้อยละ 70 จะเป็นผู้จบการศึกษาระดับมัธยม 3 / 6 หรืออาชีวศึกษาที่ทางานที่ไม่ต้องใช้ความรู้แต่ทาซ้าๆ และที่เหลือจะเป็นคนจบปริญญาที่ทางานที่ใช้ความรู้บางอย่างที่ AI แทนได้อย่างนักกฎหมาย (ประมวลคาตัดสินเก่าๆ ซึ่ง AI ถนัด) ผู้ที่มีรายได้น้อย และจบการศึกษาไม่สูง จะไปหางานใหม่ทา ยาก - การเปลี่ยนแปลงของความคาดหวังของสังคมต่อระบบการศึกษา (Aspiration Shift) คนไทย คาดหวังต่อคุณภาพและผลสัมฤทธิ์การศึกษามากขึ้น ทั้งจากการที่คนกลุ่มหนึ่งมีความเป็นอยู่ดีขึ้น พร้อมจะทุ่มเงินแก่การศึกษาบุตรหลาน แต่สภาพความจริงของการศึกษาไทยห่างจากความ คาดหวังมากจากการจัดอันดับเกือบทุกการทดสอบ ทั้งยังเผชิญความเหลื่อมล้าที่เด็กส่วนน้อย เข้าถึงการศึกษาคุณภาพดีราคาแพง เช่น โรงเรียนนานาชาติและกวดวิชา แต่เด็กส่วนใหญ่เข้าไม่ถึง 2) สถานการณ์การศึกษาของไทย - คุณภาพการศึกษาของเด็กไทยอยู่ในระดับต่า จากผลการทดสอบของ PISA Test และ ธนาคารโลก พบว่าคะแนนของเด็กไทยอยู่ในลาดับที่ 54 จาก 70 ของเอเชีย และระดับคุณภาพ การศึกษาอยู่ในลาดับที่ 6 ของอาเซียน ขณะที่ทักษะด้านภาษาอังกฤษจาการทดสอบของ Education First ของเด็กไทยอยู่ในลาดับที่ 53 จาก 54 ประเทศทั่วโลก - จานวนครูล้นตลาด จานวนบัณฑิตจากครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์มีอัตราสูงกว่าตาแหน่งวิชาชีพ ครู 2-3 เท่า และมีหลักสูตรผลิตครูมากเกินกว่าความต้องการครูในระบบ (เกือบ 90 หลักสูตร)
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3 - ขาดการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ระบบการศึกษาไทยเน้นวิธีการท่องจาในปริมาณที่อัดแน่น (Content Oriented) วัดผลด้วยข้อสอบแบบปรนัย ซึ่งเป็นการวัดความจาแต่ขาดการคิดวิเคราะห์ อย่างเป็นระบบ ซึ่งปรากฏอยู่ในการศึกษาไทยตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึงระดับอุดมศึกษา - ลงทุนด้านการศึกษามากแต่ผลลัพธ์ที่ได้กลับไม่เป็นที่น่าพอใจ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา งบประมาณการศึกษาของไทยเพิ่มขึ้นถึง 3 เท่า ซี่งสูงกว่า สิงคโปร์ ฮ่องกง เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น สะท้อนให้เห็นว่า ไทยลงทุนด้านการศึกษามากแต่ผลลัพธ์ที่ได้กลับไม่เป็นที่น่าพอใจ - ใช้เวลาเรียนมาก จากการสารวจเด็กไทยใช้เวลาเรียนเฉลี่ย 1,200 ชั่วโมงต่อปี ในขณะที่ค่าเฉลี่ย ของกลุ่มประเทศองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Co-operation and Development - OECD) อยู่ที่เพียง 907 ชั่วโมงต่อปี - เกิด Evil in the Process ที่ผ่านมามีนโยบายด้านการศึกษาที่ดีจานวนมาก แต่ไม่สามารถนาไป ปฏิบัติให้เกิดผลได้จริง - ขาดการลงมือปฏิบัติและทดลอง การศึกษาไทยมุ่งเน้นตารา ทฤษฎี และการเรียนในห้องเรียน ขาดการลงมือปฏิบัติและทดลอง ส่งผลให้เด็กไม่สามารถนาความรู้ที่มีไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตจริง - ใช้หลักสูตรเหมือนกันทั้งประเทศ (one size fit all) และเป็นการศึกษาที่เน้นให้เนื้อหาสาระ ความรู้ (content-based) มากกว่าสอนทักษะการเรียนรู้ หลักสูตรการศึกษาออกแบบให้ เหมือนกันทั้งประเทศโดยไม่ได้คานึงถึงความต้องการของแต่ละพื้นที่ เน้นให้ความรู้ที่เป็นเนื้อหา มากกว่าเรียนทักษะการเรียนรู้ และให้เด็กต้องเรียนรู้ในทุกรายวิชาซึ่งกระบวนการเรียนรู้แบบนี้ เหมาะกับโลกที่มีความแน่นอนและเปลี่ยนแปลงช้าเช่นในอดีต ในปัจจุบัน การเน้นให้เด็กเรียนทุก รายวิชาไม่สามารถทาให้เด็กมีทักษะเชี่ยวชาญได้ในทุกเรื่องตามเป้าหมายของหลักสูตรได้ - หน่วยที่เล็กที่สุด คือ ครอบครัว ล่มสลาย ด้วยสภาพสังคมในปัจจุบันผู้ปกครองต้องทางานหนัก เพื่อให้มีรายได้ที่พอต่อการใช้จ่าย จึงไม่มีเวลาดูแลอบรมบุตรในเรื่องประสบการณ์ชีวิต และเอา ความหวังในการอบรมบุตรทั้งหมดไปฝากไว้ที่ครู - ครูมีภาระมาก นอกจากภาระงานสอนและการดูแลเด็กแล้ว ครูยังต้องทารายงานและแบบประเมิน นอกจากนี้ยังต้องแบกรับโครงการต่างๆ ที่มอบหมายมาจากส่วนกลาง ซึ่งในปัจจุบันมีมากกว่า 200 โครงการ - สายสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนและโรงเรียนกับชุมชนขาดออกจากกัน และไม่มีความไว้ วางในต่อกัน - ขาดการเรียนรู้ระหว่างรุ่น (Intergeneration Learning) เด็กปฏิเสธแนวคิดของคนรุ่นเก่า ขณะที่ ผู้ใหญ่มีอคติต่อแนวคิดของเด็ก ส่งผลให้ขาดการส่งต่อคุณค่าและอุดมการณ์ของชาติจากรุ่นสู่รุ่น - ขาดความต่อเนื่องเชิงนโยบาย ในช่วง 15 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยมีรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการถึง 16 คน เฉลี่ยคิดเป็นเวลา 10 เดือน ต่อรัฐมนตรี 1 คน จึงส่งผลกระทบต่อ ความต่อเนื่องของนโยบายด้านการศึกษาไทย - เด็กมีทักษะปรับตัวรับเทคโนโลยีได้เร็วกว่าหลักสูตรการศึกษา เห็นได้จากเด็กหลายคนมี ธุรกิจค้าขายออนไลน์ควบคู่ไปกับการศึกษาในห้องเรียน และตามสถิติจานวนมีเด็กจานวนไม่น้อยที่
  • 4. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4 เลือกออกไปประกอบอาชีพโดยไม่เรียนต่อในระดับอุดมศึกษา ซึ่งมหาวิทยาลัยไม่ใช่เป้าหมายใหญ่ ของชีวิตอีกต่อไป - เด็กไทยจานวนมากเรียนไม่จบการศึกษาภาคบังคับ (drop out) จากข้อมูล มีเด็กจานวนกว่า ร้อยละ 30 หรือคาดว่าไม่ต่ากว่าปีละ 1 แสนคนที่ออกจากระบบการศึกษากลางคัน 2. ข้อเสนอแนวทางการปฏิรูปการศึกษาไทย หมวดที่ 1 การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง - กระจายอานาจการบริหารสู่โรงเรียนและคณะกรรมการการศึกษา เพื่อให้ชุมชนและภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วม - แยกบทบาทระหว่างผู้จัดการศึกษา คือโรงเรียน ผู้จัดการเงิน และผู้จัดการนโยบายออกจากกัน - จัดตั้งสถาบันวิจัยระบบการศึกษา ซึ่งควรเป็นหน่วยงานอิสระที่คิดนอกกรอบจากระบบราชการ และระบบการศึกษาแบบเดิม - จัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาครูอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยมีงานวิจัยมารองรับการทา หลักสูตรและตั้งกลไกในการพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง - ปรับปรุงเงื่อนไขและคุณสมบัติของครูผู้สอน เปิดโอกาสให้ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ที่ไม่ได้ สาเร็จการศึกษาด้านครุศาสตร์หรือศึกษาศาสตร์โดยตรงสามารถประกอบวิชาชีพครูได้ - ให้เด็กที่ความรู้ไม่ผ่านเกณฑ์ซ้าชั้นได้ ที่ผ่านมา มีข้อกาหนดว่าหากเด็กสอบตกซ้าชั้นเป็น ความผิดของครู ดังนั้น จึงเกิดเหตุการณ์ที่เมื่อเด็กสอบไม่ผ่าน ครูก็จะมาเฉลยข้อสอบให้เด็กฟังแล้ว สอบใหม่ จึงทาให้เด็กทุกคนผ่านโดยที่ไม่ได้มีความรู้ที่ได้มาตรฐาน - เปิ ดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ที่สามารถสะท้อนความต้องการต่อระบบการศึกษาได้เข้ามีส่วนร่วม ในการปฏิรูปการศึกษา เช่น กลุ่มธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) ที่รวมตัวเป็นเครือข่าย ขับเคลื่อนด้านการศึกษา - สร้างการศึกษาพื้นฐานให้ได้มาตรฐานและมีประสิทธิภาพ การสร้างเทคโนโลยีใหม่ๆ ในยุค 4.0 มี พื้นฐานจาก Know How เก่า ดังนั้นเพียงเราทาให้การศึกษาที่มีอยู่มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน เด็กก็จะสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได้
  • 5. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5 หมวดที่ 2 ใช้เทคโนโลยีในการสร้างการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกระบบ - การจัดทาหลักสูตรวิชาพื้นฐานเข้าสู่ระบบออนไลน์ (Massive Open Online Course : MOOC) โดยให้นักเรียนทั่วประเทศสามารถเข้าถึงความรู้ได้ และการจัดทา Big Data เพื่อใช้ วิเคราะห์การจัดหลักสูตรใหม่โดยการมีส่วนร่วมของครูและนักเรียน - ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการออกแบบการศึกษา ยกตัวอย่างบริษัทเอกชนด้านเทคโนโลยีขนาด ใหญ่ อาทิ Google, Walmart, GE ฯลฯ ร่วมกันจัดทาหลักสูตรการศึกษาเพื่อสร้างบุคลากรที่มีความ เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเข้าสู่ระบบธุรกิจได้โดยตรง หมวดที่ 3 การออกแบบหลักสูตรการศึกษา - ปรับเปลี่ยนเป้ าหมายการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะและทักษะของเด็กให้เหมาะสมกับโลก ที่กาลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังเช่นในหลายประเทศที่พัฒนาแล้ว อาทิ สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และฟินแลนด์ มีการกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะ ประกอบไป ด้วยทักษะการใช้ชีวิต การประกอบอาชีพ สารสนเทศและเทคโนโลยี โดยเด็กสามารถมีส่วนร่วมใน การออกแบบหลักสูตรการเรียนของตน มีทักษะการคิดเชิงวิพากษ์อย่างเป็นระบบ มีความคิด สร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมกับสังคม เป็นต้น - นโยบายการศึกษาควรตอบโจทย์ 4 เป้ าหมายใหม่ คือ 1) เรียนรู้ตลอดชีวิต การศึกษาในยุคใหม่จะไม่ใช่เพียงการศึกษาภาคบังคับ ต้องครอบคลุมตั้งแต่ ประถมวัยถึงผู้สูงอายุ และต้อง Re-skill คนวัยทางาน 2) ผลสัมฤทธิ์เป็นที่ยอมรับ ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาต้องสูงในระดับที่ยอมรับได้และต้องเสมอภาค การปฏิรูปต้องเห็นผลที่ตัวเด็กเพื่อให้พ่อแม่ยอมรับ 3) พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ต้องสร้างการศึกษาที่ทาให้คนมีทักษะที่ยากแก่การถูกทดแทนโดย เทคโนโลยี เช่น ตามหลัก Head Hand Heart (Head คือ ความคิดสร้างสรรค์ Hand คือ ทักษะที่ ต้องใช้สัมผัสละเอียด เช่น ศัลยแพทย์ Heart คือ การดูแลเอาใจใส่ มนุษยสัมพันธ์ และการ ทางานร่วมกัน) และฝึกให้เรียนวิธีการเรียนรู้สิ่งต่างๆ (Learning how to learn) มากกว่าเรียน เนื้อหา 4) เสมอภาคทุกระดับ ลดความเหลื่อมล้า เพิ่มการเข้าถึงของเด็กยากจน - ปรับบทบาทของผู้เล่นในระบบการศึกษา 1) เด็กเป็นเจ้าของการเรียนรู้ 2) พ่อแม่ต้องส่งเสริมให้ลูกค้นพบตัวเอง ทาตามเป้าหมาย 3) ครูต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนรู้ 4) โรงเรียน เป็นพื้นที่แห่งการเติบโตของเด็กและครู 5) มหาวิทยาลัย ต้องเป็นแหล่งฝึกทักษะใหม่ เปิดตลาดวัยทางาน
  • 6. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6 6) รัฐ เป็นทีมสนับสนุน ร่วมลงทุนระยะยาว นอกเหนือจากการลงทุนในสถานศึกษา เช่น ให้พ่อแม่ มีเวลาเลี้ยงบุตรหลังคลอดได้นานขึ้น และสร้างแหล่งเรียนรู้สาธารณะใหม่ๆ เช่น ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ 7) ภาคธุรกิจ ต้องปรับตัวเป็นองค์กรพัฒนาคน พัฒนาศักยภาพพนักงานอยู่ตลอด - เลิกใช้หลักสูตรเดียวเหมือนกันทั้งประเทศ ให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการออกแบบการศึกษาเพื่อ สร้างบุคลากรเพื่อตอบสนองความต้องการของท้องที่ได้ และให้แต่ละโรงเรียนกาหนดหลักสูตรเอง ได้ - เปลี่ยนความคิดของส่วนกลางที่จะให้การศึกษา เป็นการไปสร้างพื้นที่การเรียนรู้ใหม่ๆ เพื่อให้เด็กสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข โดยนาเทคโนโลยี AI และนวัตกรรมมาเป็น ตัวช่วย และต้องเปลี่ยนวิธีการสอน ทาให้ห้องเรียนไม่น่าเบื่อ ยกตัวอย่าง การนาบอร์ดเกมเข้ามา เป็นสื่อการสอน - เลิกใช้ระบบการสอบวัดผลแบบปรนัย เปลี่ยนการออกข้อสอบเป็นแบบเขียนตอบเพื่อให้เด็กได้ หัดคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ไม่ใช่เพียงการท่องจาเพื่อนาไปสอบเท่านั้น - เพิ่มการลงมือปฏิบัติและทดลอง นอกเหนือจากการเรียนรู้ทฤษฎีภายในห้องเรียนแล้ว เด็กควร ได้ลงมือปฏิบัติและทดลองจริง เพื่อฝึกทักษะและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ - กลับสู่บูรพาสิกขาลัย คือ จะต้องมีความเป็นตะวันออกเข้าไปผสมผสานในหลักสูตร ต้องเน้นระบบ คุณค่าของชาติที่กาลังจะเลือนหายจากเด็กในยุคปัจจุบัน - ข้อเสนอของภาคีเพื่อการศึกษาไทย (TEP) 1) เด็กรู้จักตนเอง สามารถเลือกเรียนได้ตามความชอบและความถนัด 2) เด็กเป็นเจ้าของการเรียนรู้ 3) เรียนรู้การทางานเป็นทีม 4) เป็นพลเมืองที่มีส่วนร่วม 5) มีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 6) มีคุณธรรม หมวดที่ 4 การเปลี่ยนทัศนะของสังคม - ผู้ปกครองต้องมีทัศนคติใหม่ในการส่งเสริมศักยภาพของเด็ก ไม่กดดันเด็กให้ต้องแข่งขันใน ระบบการศึกษา - ครูและโรงเรียนต้องเป็นผู้สร้างแรงบันดาลใจและเสริมสร้างศักยภาพของเด็ก - ท้องถิ่นต้องมีส่วนร่วมในการออกแบบการศึกษาและสร้างเครือข่าย นักเรียน ผู้ปกครอง และ ครูต้องมีการสื่อสารกันอย่างเป็นระบบ
  • 7. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 7 หมวดที่ 5 ข้อเสนอต่อผู้ที่จะปฏิรูปการศึกษา - สามารถปฏิรูปได้หลายระดับ การปฏิรูปการศึกษาเช่นเดียวกับการปฏิรูปเรื่องอื่นๆ สามารถทา ได้ตั้งแต่ระดับแรงสุดจนถึงเบาสุด ขึ้นอยู่กับผู้ตัดสินใจจะเลือกแนวทางใดและต้องเตรียมรับมือกับ แรงเสียดทานที่จะเกิดขึ้น สาหรับการปฏิรูปการศึกษา สามารถมีระดับการเปลี่ยนแปลงจากแรงไป เบาได้ เช่น 1. เปลี่ยนเชิงโครงสร้าง แยกบทบาทผู้ซื้อออกจากผู้ให้บริการแบบเดียวกับการปฏิรูป สาธารณสุข 2. การกระจายอานาจสู่โรงเรียนและพื้นที่ (มีกระแสรองรับดีอยู่แล้ว) 3. การทาพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (ทาได้ทันที มีแรงต้านน้อย) - ไม่ควรมุ่งเป้ าที่โครงการประชานิยมระยะสั้น เช่น การแจก Tablet เพื่อการศึกษา หรือการ ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ทั่วประเทศ ซึ่งโครงการลักษณะนี้ที่ผ่านมา ไม่สามารถปฏิรูประบบ การศึกษาไทยได้ - สร้างการปฏิรูปการศึกษาในลักษณะการเคลื่อนไหวทางสังคม (Social Movement หรือ Policy Movement) การปฏิรูปการศึกษา จากการปฏิรูปครั้งที่ผ่านๆ มา ถ้าทาเป็นนโยบายหรือ คาสั่งอย่างเดียวจะไม่สาเร็จ ต้องสร้างเป็นการรณรงค์ขนาดใหญ่โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน - ต้องวางทิศทางการปฏิรูปการศึกษาที่ชัดเจนและเป็นที่ยอมรับในหลักการใหญ่ และเอาจริง เอาจังมากพอจะได้รับความร่วมมือจากข้าราชการ ผู้ปกครอง และภาคส่วนอื่นๆ - ไม่ควรทาปฏิรูปจากบนลงล่าง การปฏิรูปด้วยคาสั่งและนโยบายจะไม่สาเร็จดังเช่นการปฏิรูป การศึกษาที่ผ่านมา แต่ต้องเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนตั้งแต่ขั้นเริ่มต้นของการปฏิรูป แล้ว บุคคลเหล่านี้จะช่วยกันผลักดันการปฏิรูปต่อไปเอง - ต้องเข้าใจภูมิทัศน์ทางการเมืองในกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีระเบียบผูกพัน ซับซ้อนอย่างมาก อันเป็นอุปสรรคใหญ่หลวงต่อการเปลี่ยนแปลงมาเสมอ - ไม่นานโยบายการศึกษามาเป็นประเด็นทางเมือง ควรเน้นความร่วมมือทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่าย ค้านในการปฏิรูประบบการศึกษา และทาให้การศึกษาเป็นวาระแห่งชาติที่ทุกรัฐบาลต้องทางาน ต่อเนื่องกันอย่างเป็นระบบ 3. ตัวอย่างพื้นที่ทดลองปฏิรูปการศึกษา (พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา) พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา หรือ Sand Box เป็นแนวคิดและวิธีปฏิบัติที่สร้างพื้นที่เล็กๆ ขึ้นมา เพื่อทดลองสร้างนวัตกรรมการศึกษาโดยเฉพาะ ก่อนจะขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ พื้นที่นวัตกรรม การศึกษาเป็นเครื่องมือการเปลี่ยนผ่านจากระบบการศึกษาแบบเก่าไปสู่แบบใหม่ โดยมีหลักการคือ 1) ต้องปลดล็อค กระจายอานาจให้โรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษาต่างๆ มีอิสระในการบริหารจัดการ หลักสูตร บุคลากร และการจัดการเรียนการสอนได้เอง ให้โรงเรียนและพื้นที่สร้างหลักสูตรที่เหมาะสมกับ
  • 8. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 8 ท้องถิ่นได้โดยยังสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางที่สาคัญ และ 2) เป็นพื้นที่สาหรับทดลองนวัตกรรม การศึกษาแบบใหม่ ตามแนวทางการจัดทาพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ดังนี้ 1. ใช้หลักสูตรสร้างทักษะศตวรรษที่ 21 ตามบริบทพื้นที่ 2. จัดหาสื่อการสอนรูปแบบใหม่ 3. สร้างภาคีร่วมพัฒนาบุคลากรในพื้นที่ 4. การสอบและการประเมินผลต้องเป็นไปเพื่อการพัฒนา 5. การบริหารจัดการช่วยลดภาระโรงเรียน ปัจจุบันการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาได้ทดลองในพื้นที่นาร่องที่ตอบโจทย์ครอบคลุม ทั่วประเทศ ประกอบด้วยจังหวัด ระยอง ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดของประเทศ มี อาชญากรรมสูง มีเขตเศรษฐกิจพิเศษ และกาลังต้องการบุคลากรที่มีทักษะแบบใหม่ ศรีสะเกษ เป็น จังหวัดใหญ่แต่ยากจน เด็กส่วนใหญ่จบการศึกษามาเป็นแรงงานในภาคเกษตร และ สตูล เป็นจังหวัดที่ มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรม โดยทั้ง 3 จังหวัดมีโรงเรียนในพื้นที่ที่ต้องการปฏิรูป การศึกษา ขณะที่คนในพื้นที่เห็นชอบกับแนวทางการปฏิรูปดังกล่าว ปัจจุบัน มติ ครม.เห็นชอบร่าง พระราชบัญญัติเขตพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและอนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูป การศึกษาแล้ว ผลลัพธ์ของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา - สร้างการศึกษาที่เชื่อมโยงกับสภาพแวดล้อมจุดเด่นของแต่ละพื้นที่มากกว่าการศึกษาชุดเดียว ทั้งประเทศ ให้เด็กได้รับการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงตนเองกับพื้นที่ แก้ปัญหาการอพยพย้ายถิ่นไป เรียนต่อและทางานในเมืองใหญ่ - ทาให้โรงเรียนมีประสิทธิภาพและมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่ดีขึ้นในงบประมาณเท่าเดิม - ได้ Model การปฏิรูปการศึกษาที่อ้างอิงจากงานวิจัยเพื่อนาไปขยายผลในระดับประเทศ (ทีม นโยบายการศึกษา TDRI กาลังขับเคลื่อนเรื่องนี้อยู่) *** ประธานสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864