SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสท์
เพื่อพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยีของผู้เรียน
1. บทนา
ตามที่นายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มีการกาหนดนโยบายที่
เกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม คือ ”การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ซึ่งการปรับเวลา
เรียน เพิ่มเวลารู้ ต้องกระทา โดยไม่กระทบเนื้อหาหลักที่เด็ก ๆ ควรเรียนรู้ ครูต้องใช้ความสามารถ
ในการออกแบบการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สาระที่ต้องรู้ครบถ้วนอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2558) จากนโยบายลดเวลาเรียนดังกล่าว จึง
นามาสู่การปฏิบัติโดยกาหนดให้โรงเรียนลดการเรียนภาควิชาการ หลังจากนั้น โรงเรียนจะต้องจัด
กิจกรรมสร้างสรรค์ต่าง ๆ ให้ผู้เรียนปฏิบัติ และควรเป็นกิจกรรมที่มีความหลากหลายที่ช่วยเพิ่มพูน
ทักษะการคิดวิเคราะห์ ความมีน้าใจต่อกัน การทางานเป็นทีม การจัดกิจกรรมควรมีการกระตุ้นให้
ผู้เรียนได้ค้นหาศักยภาพและความชอบของตนเอง ซึ่งเชื่อว่าผู้เรียนทุกคนมีความพิเศษ มี
ความสามารถในแบบฉบับของตนเอง การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ เป็นกรอบวิสัยทัศน์ ด้าน
การศึกษา เพื่อเตรียมความพร้ อมให้ แก่ผู้เรียนเข้าสู่การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2558) การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เป็นหน้าที่ของผู้สอนที่
จะต้องออกแบบกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ซึ่งสอดคล้องกับหลายประเทศที่
เป็นผู้นาด้านการศึกษาของโลก ที่ เห็นพ้องต้องกันกับแนวคิดสาคัญในเรื่องของจิตสานึกต่อโลก
ความรู้พื้นฐานการประกอบอาชีพ ความรู้พื้นฐานด้านพลเมือง สุขภาพ สิ่งแวดล้อม และทักษะที่
จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและ
เทคโนโลยี ทักษะการทางาน ทักษะ ชีวิตที่ใช้ได้จริง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จะช่วยให้ผู้เรียน
สามารถ เรียนรู้ และปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา (ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์, 2553) การ
เรียนรู้ของผู้เรียนได้เปลี่ยนแปลงไป เนื่องมาจากมีความหลากหลายของแหล่งการเรียนรู้สื่อและ
เทคโนโลยีเช่น Internet, Computer, Tablet, Smart Phone และ อื่นๆ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และ
เข้าถึงเนื้อหาสารสนเทศได้ทุกที่ทุกเวลา ตามความพร้อม ความสามารถของผู้เรียน การเรียนรู้ใน
ลักษณะนี้เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดย จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย
เช่น การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่ม การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน การเรียนรู้จากกิจกรรม
การปฏิบัติจริง จากประสบการณ์ตรง การใช้คาถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียน คิดวิเคราะห์ การสืบค้น
ข้อมูล เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได้ มีการจัด
กิจกรรมโดยให้ผู้เรียนทุกคนได้เรียนรู้ร่วมกัน ครูจะเปลี่ยนบทบาทจากผู้สอนมาเป็นผู้อานวยความ
สะดวก ชี้แนะ ให้คาปรึกษา คอยให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เรียนเพื่อให้ประสบผลสาเร็จ (วิจารณ์
พาณิช, 2558)
จากที่กล่าวมา การลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เป็นการตอบสนองนโยบายของนายกรัฐมนตรี
และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งผู้สอนจักต้องดาเนินการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี สอดคล้อง
กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ว่าการรู้เท่าทันสื่อเป็นทักษะสาคัญสาหรับการดาเนินชีวิตใน
ศตวรรษที่ 21 เนื่องจากสื่อสมัยใหม่มีรูปแบบที่หลากหลาย ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ผู้เรียนจึง
จาเป็นต้องเรียนรู้วิธีการในการเข้าถึง การประเมิน การวิเคราะห์ และการสร้างสื่อ เพื่อให้สามารถ
ตัดสินใจเลือกและรับข่าวสารได้อย่างถูกต้อง (เทอดศักดิ์ ไม้เท้าทอง, 2557) และนาทฤษฎีคอน
สตรัคติวิสต์มาปรับใช้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการจัดการเรียน
การสอนโดยใช้ผู้เรียนเป็นสาคัญ
1. ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
จากนโยบายการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ได้มีผู้ให้ความหมายเพื่อไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน
ดังนี้
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2558) ลดเวลาเรียน
หมายถึงการลดเวลาเรียนภาควิชาการและการลดเวลาของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็น
ผู้รับความรู้ เช่น การบรรยาย การสาธิต การศึกษาใบความรู้ ให้น้อยลง เพิ่มเวลารู้ หมายถึง การ
เพิ่มเวลาและโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง มีประสบการณ์ตรง คิดวิเคราะห์ ทางาน เป็นทีม
และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุขจากกิจกรรมสร้างสรรค์ที่หลากหลายมากขึ้น
วรากรณ์ สามโกเศศ (2558) การลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้หมายถึง การจัดสัดส่วนเวลาของ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้ให้น้อยลงและเพิ่มเวลาของกิจกรรมการเรียนรู้ที่
ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติจริง และสร้างความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนา
ตามความสนใจ ความถนัดและความต้องการได้เพิ่มพูนทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะชีวิต ความมี
น้าใจ การทางานเป็นทีม และมีความสุขในการเรียนรู้
กมล รอดคล้าย (2558) กล่าวถึงรูปแบบการจัดกิจกรรมหลังเลิกเรียนว่า จะกาหนด
รูปแบบตัวอย่างประมาณ 5-6 รูปแบบ เพื่อให้โรงเรียนนาร่องนาไปปรับใช้ตามบริบทและความ
พร้อมของแต่ละโรงเรียน โดยใช้แนวคิด “สอนน้อย แต่เรียนรู้มาก : Teach Less Learn More” อาทิ
การทาการบ้านในโรงเรียน การเรียนกับเพื่อนที่เก่งกว่า การช่วยสอนเสริมเด็กที่เรียนไม่ทัน การจัด
กิจกรรมดนตรี กีฬา ศิลปะ เป็นต้น
การุณ สกุลประดิษฐ์ (2558) การปรับลดชั่วโมงเรียนบางวิชาให้น้อยลง แต่ต้องไม่
กระทบเนื้อหาหลักที่เด็กควรเรียนรู้ ซึ่ง 8 กลุ่มสาระจะยังคงมีอยู่ไม่เปลี่ยนแปลง และหลังจากบ่าย
สองจะให้เด็กมุ่งเน้นการฝึกปฏิบัติมากขึ้น
จากที่กล่าวมาในขั้นต้น สามารถสรุปได้ว่า ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ หมายถึง การจัด
สัดส่วนเวลาของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยปรับตัดเนื้อหาภายในรายวิชาที่มีความซ้าซ้อน โดย
ไม่กระทบกับเนื้อหาหลัก และตัวชี้วัด ซึ่งการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็น
ผู้รับความรู้ ผู้เรียนมีโอกาสได้ลงมือปฏิบัติจริง สร้างความรู้ด้วยตนเอง มีประสบการณ์ตรง พัฒนา
ตามความสนใจ ความถนัด สามารถเพิ่มพูนทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะชีวิต ความมีน้าใจ การ
ทางานเป็นทีม และ มีความสุขในการทากิจกรรมที่หลากหลาย
วัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
(สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2558)
1) เพื่อขับเคลื่อนการนาหลักสูตรสถานศึกษา ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตาม
หลักการ ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2) เพื่อให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมและพัฒนา
ผู้เรียนให้มี คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ และได้รับการพัฒนาเต็ม
ตามศักยภาพ ตามความสนใจและถนัดของผู้เรียนแต่ละบุคคล
3) เพื่อให้สถานศึกษาสามารถการบริหารจัดการเวลาเรียน และจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน
เพิ่มเวลารู้” ได้อย่างเหมาะสม ทั้งด้านวิชาการ ด้านปฏิบัติ ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพ ตามความสนใจและถนัดของแต่ละบุคคล
4) เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
พัฒนา ตนเองตามความสนใจและความถนัดอย่างเต็มตามศักยภาพ และมีความสุขกับการเรียนรู้
5) เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษามีความพึงพอใจในการจัด
การศึกษาของโรงเรียนและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว จะเห็นได้ว่า การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้เป็นนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการ ที่มุ่งเน้นให้สถานศึกษาจัดการกิจกรรมการเรียนการสอน โดยพัฒนาความรู้
ทางด้านวิชาการและด้านการปฏิบัติ อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพ ตามหลักการของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ และมีความสุขกับ
การเรียนรู้
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory)
ความหมายของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory)
ทิฎิ์ภัทรา สุดแก้ว (2554) ได้กล่าวถึงทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory)
หมายถึง กระบวนการหรือการเรียนรู้ซึ่งเกิดขึ้นได้ด้วยตัวผู้เรียนเองโดยการสร้างองค์ความรู้ที่
ผู้เรียนได้นาจากสิ่งที่เป็นประสบการณ์หรือสิ่งที่ก่อเกิดขึ้นใหม่ทางปัญญา ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนเกิด
การดูดซึมทางปัญญาและการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็น
แนวคิดในการจัดการศึกษาแนวหนึ่ง ที่เป็นการสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนต้องสร้างความรู้ใหม่นั้น
ด้วยตนเอง ด้วยการเชื่อมประสบการณ์ที่มีอยู่แล้วกับความรู้ใหม่ ซึ่งอาศัยบรรยากาศที่เหมาะสม
การทางานร่วมกัน
มัณฑนา ศรีเทพ(2553) ได้กล่าวถึงทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์(Constructivist Theory)
หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ที่ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการดูดซึมทางปัญญาและการเชื่อมโยงความรู้
เดิมกับความรู้ใหม่จนเกิดการปรับขยายโครงสร้างทางปัญญาและการนาไปสู่การสร้างความรู้ได้
ด้วยตน
พวงเพชร ศรีคีรินทร์ (2552) ได้กล่าวถึงทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory)
หมายถึง เป็นแนวคิดในการจัดการศึกษาแนวหนึ่งที่เน้นตรงการสร้างองค์ความรู้ โดยผู้เรียน
สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง อาศัยประสบการณ์เดิม กับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน โดยครูผู้สอนเป็นผู้
จัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนที่เหมาะสม
สุมาลี ชัยเจริญ (2551) ได้กล่าวถึงทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory)
หมายถึง การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน โดยมีผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้
จากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบเห็นกับความรู้ความเข้าใจเดิมที่มาก่อน โดยพยายามนาความ
เข้าใจเกี่ยวกับเหตุการณ์และปรากฏการณ์ที่ตนพบเห็นมาสร้างเป็นโครงสร้างทางปัญญา
(Cognitive Structure) หรือโครงสร้างของความรู้ในสมอง ซึ่งประกอบด้วยความหมายของสิ่งต่าง
ๆ ที่ใช้ภาษาหรือเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสิ่งที่บุคคลมีประสบการณ์ อาจจะเป็นความเข้าใจหรือ
ความรู้ของแต่ละบุคคล
จากที่กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์(Constructivist Theory)
หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง ครูผู้สอนเป็นผู้จัด
กิจกรรมต่างๆ ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอาศัยประสบการณ์เดิมที่ตนมี โครงสร้าง
ปัญญาที่มีอยู่แล้วเป็นพื้นฐานซึ่งอาศัยความรู้การรับรู้จากสภาพแวดล้อมหรือการสอนภายนอก
เท่านั้น
กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
1. กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา (Cognitive constructivism)
กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา มีรากฐานทางปรัชญาของทฤษฎี มาจากความ
พยายามที่จะเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ ด้วยกระบวนการที่พิสูจน์อย่างมี
เหตุผล เป็นความรู้ ที่เกิดจากการไตร่ตรอง ซึ่งถือเป็นปรัชญาปฏิบัตินิยม ประกอบกับรากฐานทาง
จิตวิทยาการเรียนรู้ที่มีอิทธิพลต่อพื้นฐานแนวคิดนี้นักจิตวิทยาพัฒนาการชาวสวิส คือ เพียเจต์
(Jean Piaget) ทฤษฏีของเพียเจต์ จะแบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ ช่วงอายุ (Ages) และ ลาดับขั้น
(Stages) ซึ่งทั้งสององค์ประกอบนี้จะทานายว่าเด็กจะสามารถหรือไม่สามารถเข้าใจสิ่งหนึ่งสิ่งใด
เมื่อมีอายุแตกต่างกัน และทฤษฏีเกี่ยวกับด้านพัฒนาการที่จะอธิบายว่าผู้เรียนจะพัฒนา
ความสามารถทางการรู้คิด (Cognitive abilities) ทฤษฏีพัฒนาการที่จะเน้นจุดดังกล่าวเพราะว่า
เป็นพื้นฐานหลักสาหรับวิธีการของคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา โดยด้านการจัดการเรียนรู้นั้นมี
แนวคิดว่า มนุษย์เราต้อง “สร้าง” ความรู้ด้วยตนเองโดยผ่านทางประสบการณ์ ซึ่งประสบการณ์
เหล่านี้จะกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างโครงสร้างทางปัญญา หรือเรียกว่า สกีมา (Schemas) รูปแบบการ
ทาความเข้าใจ (Mental model) ในสมอง สกีมาเหล่านี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (Change) ขยาย
(Enlarge) และซับซ้อนขึ้นได้โดยผ่านทางกระบวนการ การดูดซึม (Assimilation) และการ
ปรับเปลี่ยน (Accommodation) (อนุชา โสมาบุตร, 2556) โดยมีกระบวนการ ดังนี้
1. การดูดซึมเข้าสู่โครงสร้างทางปัญญา (Assimilation)
2. การปรับโครงสร้างทางปัญญา (Accommodation)
2. กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม (Social constructivism)
วีกอทสกี (Vygotsky, 2007) ได้กล่าวว่า เด็กจะพัฒนาในกลุ่มของสังคมที่จัดขึ้น การใช้
เทคโนโลยีที่เหมาะสมควรจะเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันมากกว่าที่จะแยกผู้เรียนจากคนอื่นๆ
ครูตามแนวคิดกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ ควรจะสร้างบริบทสาหรับการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถได้รับ
การส่งเสริมในกิจกรรมที่น่าสนใจซึ่งกระตุ้นและเอื้ออานวยต่อการเรียนรู้แทนที่ครูผู้สอนที่เข้ามาสู่
กิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับผู้เรียน ไม่ใช่เข้ามายืนมองเด็กสารวจและค้นพบเท่านั้น แต่ครูควร
แนะนาเมื่อผู้เรียนประสบปัญหา กระตุ้นให้ผู้เรียนปฏิบัติงานในกลุ่มในการที่จะคิดพิจารณา
ประเด็นคาถาม และสนับสนุนด้วยการกระตุ้น แนะนา ให้พวกเขาต่อสู้กับปัญหา และเกิดความท้า
ทาย และนั่นเป็นรากฐานของสถานการณ์ในชีวิตจริง (Real life situation) ที่จะทาให้ผู้เรียน เกิด
ความสนใจ และได้รับความพึงพอใจในผลของงานที่พวกเขาได้ลงมือกระทา ดังนั้น ครูจะคอยช่วย
เอื้อให้ผู้เรียนเกิดความเจริญทางด้านสติปัญญา (Cognitive growth) และการเรียนรู้ในทุกชั้นเรียน
ซึ่งกลยุทธ์ทางเรียนรู้ที่สอดคล้องกับแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคมของวีกอทสกี (Vygotsky)
อาจจะไม่จาเป็นต้องจัดกิจกรรมที่เหมือนกันทุกอย่างก็ได้ กิจกรรมและรูปแบบอาจเปลี่ยนแปลง
ตามความเหมาะสม ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม (Social constructivism) ดังนี้แนวคิด
ของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) มีดังนี้(สาคร อัฒจักร, ม.ป.ป.)
1. ความรู้คือการสร้างโครงสร้างทางปัญญาที่สามารถคลี่คลายสถานการณ์ที่เป็นปัญหา
และใช้เป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาหรืออธิบายสถานการณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องได้
2. นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยวิธีที่ต่าง ๆ กันโดยอาศัยประสบการณ์เดิม โครงสร้างทาง
ปัญญาที่มีอยู่ ความสนใจและแรงจูงใจภายในตนเองเป็นจุดเริ่มต้น
3. ครูมีหน้าที่จัดการให้นักเรียนได้ปรับขยายโครงสร้างทางปัญญาของนักเรียนเองภายใต้
สมมติฐาน ต่อไปนี้
1) สถานการที่เป็นปัญหาและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา
2) ความขัดแย้งทางปัญญาเป็นแรงจูงใจให้เกิดกิจกรรมไตร่ตรอง เพื่อขจัดความขัดแย้ง
3) การไตร่ตรองบนฐานแห่งประสบการณ์และโครงสร้างทางปัญญาที่อยู่ภายใต้การมี
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม กระตุ้นให้มีการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา
ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21
วิจารณ์ พาณิช (2555) ได้กล่าวถึง ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ดังนี้
ทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21
ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และ
การเป็ นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy)
ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ความรู้
ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy)
1.ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม
2.ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
3.ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ
4.ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x
7C 3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C
ได้แก่ 1) Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ
ทักษะในการแก้ปัญหา) 2) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้ างสรรค์และ
นวัตกรรม) 3) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่าง
กระบวนทัศน์) 4) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การ
ทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา) 5) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะ
ด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) 6) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้าน
คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) 7) Career and Learning Skills (ทักษะ
อาชีพ และทักษะการเรียนรู้) “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” ที่พัฒนาโดยองค์กรภาคีเพื่อทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 (p21.org, 2007) ซึ่งประกอบด้วย 3 ทักษะ สาคัญได้แก่ 1) ทักษะการเรียนรู้และ
นวัตกรรม 2) ทักษะชีวิตและการประกอบอาชีพ และ 3) ทักษะทางด้านข้อมูลข่าวสาร การสื่อสาร
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21”ประกอบด้วยทักษะที่สาคัญ
ดังนี้ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะชีวิตและการประกอบอาชีพและทักษะทางด้านข้อมูล
ข่าวสาร การสื่อสาร เทคโนโลยี การที่ผู้เรียนจะมีทักษะทั้งสามประการให้ดียิ่งนั้นผู้เรียนต้อง
ประกอบไปด้วย ทักษะเบื้องต้นดังต่อไปนี้ ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมี
วิจารณญาณ ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการสื่อสาร และการร่วมมือการทางานเป็นทีม เพื่อ
เตรียมความพร้อมของผู้เรียนเข้าสู่โลกการทางานที่มีความซับซ้อนมากขึ้นในปัจจุบัน และผู้เรียน
จาเป็นต้องมีความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้เกี่ยวกับสื่อและเทคโนโลยี เพื่อใช้ในการสืบค้นข้อมูล
ข่าวสารที่เผยแพร่ในปัจจุบัน ในด้านการดารงชีวิตผู้เรียนต้อง มี ความยืดหยุ่น มีการปรับตัว มีการ
ริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง มีทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือ
ผู้ผลิต (Productivity) ความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ
(Responsibility) ทักษะเหล่านี้เมื่อผู้เรียนได้พัฒนาและปรับตัวไว้ก่อน จะให้เกิดความพร้อมที่จะ
ดาเนินชีวิตในศตวรรษที่ 21
ประโยชน์/ข้อดี ข้อเสีย
ณรงค์ ขุ้มทอง (2558) กล่าวว่า การลดเวลาเรียนเพิ่มเวลาเรียนรู้ สิ่งที่ผู้รับผิดชอบตั้งแต่
คณะกระทรวงศึกษาธิการสานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานขับเคลื่อนให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนและน่าจะ
สอดคล้องทักษะชีวิต 5 ด้าน ดังนี้1) ผู้เรียนเกิดทักษะการคิด (Thinking Skill) 2) ผู้เรียนเกิด
ทักษะการสื่อสาร (Communication Skill) 3) ผู้เรียนเกิดทักษะการมีส่วนร่วม (Participation Skill)
4) ผู้เรียนเกิดทักษะการแก้ปัญหา (Problem Solving Skill) 5) ผู้เรียนเกิดทักษะจิตสาธารณะ
(Public Mind Skill)
วรากรณ์ สามโกเศศ (2558) กล่าวว่า ข้อดีของการให้ลดจานวนชั่วโมงเรียนที่เป็นทางการ
ลง และเพิ่มเวลาในรูปแบบของการทากิจกรรมนอกห้องเรียนแทน จะทาให้เด็กมีความเครียด
น้อยลง อีกทั้งเด็กจะได้เรียนรู้ด้วยตัวเองและมีเวลาของตัวเองมากยิ่งขึ้น ส่วนข้อเสียก็คือ สาหรับ
โรงเรียนที่ไม่มีโครงการที่ดี และไม่ได้มีการดูแลที่ดี และครูก็ไม่รู้วิธีการว่าจะชดเชยวิชาที่หายไป
ด้วยการทากิจกรรมอย่างไร มีการลดเวลาลง ก็เพื่อนาเวลานั้นไปเรียนวิชาเดียวกัน แต่เป็นการ
เรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อไม่ให้เครียดมากเกินไป
กมล รอดคล้าย (2558) กล่าวว่า ในช่วงเช้านักเรียนจะได้เรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ส่วนช่วงบ่ายภายหลังเวลา 14.00 น. เป็นต้นไป จะเป็นกิจกรรมที่เน้นปฏิบัติและบูรณาการ
เบื้องต้น สพฐ.ได้กาหนดกิจกรรมให้โรงเรียนเลือกนาไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่
ทั้งสิ้น 4 กิจกรรม ดังนี้1)กิจกรรมเสริมสร้างทักษะ ที่เน้นให้เด็กทากิจกรรมนอกห้องเรียน โดย
กิจกรรมจะเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เด็กได้เรียนรู้ในช่วงเช้า เพื่อให้เด็กมีทักษะและลงมือปฏิบัติจริง อาทิ
การทาโครงงาน การวาดรูป เล่นละครประวัติศาสตร์ เป็นต้น 2) กิจกรรมเสรี ให้โรงเรียนจัดตาม
ความเหมาะสม และความพร้อม อาทิ ชมรมจิตอาสา ชมรมกีฬา ฯลฯ 3) กิจกรรมสอนอาชีพ ซึ่งมี
โรงเรียนในสังกัด สพฐ.กว่าหมื่นโรงมีความต้องการเรื่องดังกล่าว โดยโรงเรียนอาจชักชวน
ผู้ปกครอง หรือภูมิปัญญาชาวบ้านเข้ามาร่วมให้ความรู้และสอนอาชีพแก่นักเรียน รวมถึงกิจกรรม
ที่เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะชีวิตด้วย 4) กิจกรรมสอนเสริมวิชาการ ซึ่งไม่ใช่การติวเด็ก แต่เป็นการ
ดูแลเด็กที่มีปัญหาเรียนอ่อน หรือสอนการบ้าน เป็นต้น
ปฏิมา ปัทมเกตุ (2558) กล่าวว่า ข้อดีของการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลาเรียนรู้ มุ่งเน้นให้
นักเรียนได้มีโอกาสทากิจกรรมนอกห้องเรียนมากขึ้น และลดภาวะตึงเครียดในเนื้อหาวิชาหลัก
สรุปได้ว่า ประโยชน์และข้อดีของการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ คือ ผู้เรียนมีโอกาสที่กิจกรรม
นอกห้องเรียน ได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยผู้ปกครองมีส่วนร่วมเป็นวิทยากรท้องถิ่นหรือภูมิปัญญา
ชาวบ้าน ได้ทากิจกรรมตามความพร้อมและเหมาะสม ไม่ตึงเครียดกับเนื้อหาวิชาหลัก ซึ่งส่งผลให้
ผู้เรียน มีทักษะการเรียนรู้การใช้ชีวิต เรียนรู้อย่างมีความสุข เกิดความภาคภูมิใจในถิ่นเกิด และมี
คุณธรรมจริยธรรม
ส่วนข้อเสียของการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ คือ มีงบประมาณไม่เพียงพอกับการจัด
กิจกรรม บางกิจกรรม มีเวลาน้อยเกินไปซึ่งอาจทาให้เนื้อหาบางส่วนของรายวิชาหายไป รวมทั้ง
ครูไม่ทราบวิธีการจัดกิจกรรมที่แน่นอน ในช่วงเวลาดังกล่าว อาจเป็นช่องทางที่จะทาให้ครูหา
รายได้เสริมจากการรับสอนพิเศษมากกว่าเดิม และมีโอกาสที่นักเรียนจะไปมั่วสุมในช่วงเวลาหลัง
เลิกเรียน
การนานโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ไปใช้จริง
โรงเรียนกุดข้าวปุ้ นวิทยา (2559) ได้ขับเคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สู่การ
ปฏิบัติ สาหรับสถานศึกษา มีการดาเนินงานที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย
นักเรียนได้เรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยใช้เวลาเรียนทั้งด้านวิชาการ และการ
ปฏิบัติ กิจกรรมอย่างเหมาะสม มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีทักษะชีวิต และมี
ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความถนัด ความสนใจ ตามศักยภาพของตนเองแต่ละ
คน มีการประเมินตนเอง และนาผลการประเมินไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง มี
ความสุขในการเรียนรู้ มีภาระงาน การบ้าน เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และ
ตัวชี้วัด มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ผลการทดสอบ PISA และผลการทดสอบคุณภาพ
การศึกษาต่าง ๆ ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และให้ความร่วมมือในการดาเนินงานตามนโยบาย“ลด
เวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” มีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนตามนโยบาย “ลดเวลา
เรียน เพิ่มเวลารู้” และมีความพึงพอใจต่อคุณภาพของนักเรียน
ปราณี คงพิกุล (2558) กล่าวไว้ว่า แนวทางในการปรับกิจกรรมคือ 1) เปลี่ยนไปเป็นการ
เรียนสาระการเรียนรู้เสริมอีก 3 สาระ ซึ่งนักเรียนจะได้ออกมานอกห้องเรียนปกติ มาเรียนรู้ใน
สนามกีฬา ห้องสมุด ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องดนตรี ห้องศิลปะ หรือในมุมอื่นที่เหมาะสม โดยเนื้อหา
ดังกล่าว การประเมินผลก็เป็นการประเมินจากผลงานหรือกิจกรรมกลุ่มอยู่แล้ว 2) จัดให้มีกิจกรรม
ชมรม เช่นชมรมดนตรี กีฬา ศิลปะ สภานักเรียน ชมรมบาเพ็ญประโยชน์ ลูกเสือ ฯลฯ รวมทั้ง
โรงเรียนต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับเด็ก 3) การสอนการบ้านหรือการ
สอนเสริมสาหรับเด็กเรียนอ่อน โดยเพื่อนหรือครูทาให้เมื่อเด็กกลับบ้านก็จะไม่ต้องทาการบ้านจน
ดึก และเป็นภาระแก่ครอบครัวเวลาเรียนหลังจาก 14.30 นาฬิกา โดยประมาณจะสิ้นสุดตามเวลา
เลิกเรียนเดิมของแต่ละโรงเรียน นักเรียนก็จะเลิกเรียนและกลับบ้านตามปกติ ผู้ปกครองมารับ
นักเรียนได้ตามเวลาเดิม ไม่ได้ปล่อยให้เด็กออกนอกโรงเรียนหรือมีเวลาว่างจนเป็นอิสระ และไม่ได้
เรียนรู้อะไรเลย กิจกรรมเสริมในช่วงเวลาดังกล่าวนี้โรงเรียนจะต้องไม่เก็บค่าใช้จ่ายใดๆเลยจาก
นักเรียน
จากที่กล่าวมาในข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ไปใช้จริงใน
โรงเรียนนั้น ควรคานึงถึงความพร้อม ความต้องการ ความจาเป็น ต้องมีการดาเนินงานที่เน้น
การมีส่วนร่วมของทุกฝ่ าย โดยบทบาทของสถานศึกษา ควรขับเคลื่อนโดยกาหนดตัวชี้วัด
ความสาเร็จที่ชัดเจน และสามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้ มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ช่วยเสริม
ความรู้และทักษะผู้เรียนตามความพร้อมและความชอบของแต่ละคน มีการจัดกิจกรรมที่ยืดหยุ่น
ตามสถานการณ์ เรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ นาผลการประเมินมา
พัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่องผู้เรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมอย่างเหมาะสม มีความสามารถใน
การคิดวิเคราะห์ มีทักษะชีวิต มีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความถนัดตาม
ศักยภาพของตนเอง มีการประเมินตนเอง มีความสุขในการเรียนรู้ และสามารถนาความรู้ที่ได้รับ
ไปใช้ได้จริง
บรรณานุกรม
Finding IT Consulting. (มมป.). ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory). (Online)
เรียกใช้เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2559 จาก http://www.finding.co.th/it-solutions/human-
resources-hr/14-it-solutions/human-resources-hr/85-constructivist-theory.html
Fisik san Boakanok. (มมป.). เอกสารประกอบวิชา Education Thechnology and
communication. (Online) เรียกใช้เมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2559 จาก
http://www.aowwa.com/innovation/lesson5.pdf
http://www.novabizz.com. (2015). ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม. (Online) เรียกใช้เมื่อ
24 กุมภาพันธ์ 2559 จาก
http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Behavioral_Learning_Theories.htm
MSU Knowlage Managment. (2554). MSU Knowlage Managment. (Online) เรียกใช้เมื่อ 18
กุมภาพันธ์ 2559 จาก http://blog.msu.ac.th: http://blog.msu.ac.th/?p=4833
p21.org. (2007). FRAMEWORK FOR 21ST CENTURY LEARNING. (Online) เรียกใช้เมื่อ 20
Feb 2016 จาก http://www.p21.org: http://www.p21.org/about-us/our-mission
Vygotsky, and Luria, Alexander. “Tool and symbol in child development.” [Online]
Avaliable at : http://www.marxists.org/archive/vygotsky/works/1934/tool-
symbol.htm, 16 May 2007.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ ปี 2542. เรียกใช้เมื่อ 20
กุมภาพันธ์ 2559 จาก http://www.moe.go.th/main2/plan/p-r-b42-01.htm
กิดานันท์ มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: อรุณการ
พิมพ์.
ฉลอง ทับศิริ. (มมป.). การออกแบบระบการสอน. เรียกใช้เมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2559 จาก
home.dsd.go.th/techno/trainingsystem/.../instructional_design.doc
บ้านจอมยุทธ์. (ม.ป.ป.). ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์. เข้าถึงได้จาก
http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-
2/constructivist_theory/index.html
วิจารณ์ พาณิช. (2555). วิถีการสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิ
สดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
วิชาการ.คอม. (ม.ป.ป.). ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21. เข้าถึงได้จาก
http://www.vcharkarn.com/varticle/60454
สาคร อัฒจักร . (ม.ป.ป.). กระบวนการพัฒนาและผลิตเทคโนโลยีการเรียนการสอน. เข้าถึงได้จาก
ศูนย์พัฒนาทรัพยากรการศึกษา(CARD):
http://www.elearning.msu.ac.th/opencourse/0503780/Unit03/unit03_014.htm
สุมาลี ชัยเจริญ. (2554). เทคโนโลยีการศึกษา หลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ. ขอนแก่น: คลังนานา
วิทยา.
สุมาลี ชัยเจริญ. (2557). การออกแบบการสอน หลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ. เมืองขอนแก่น:
แอนนาออฟเชต.
อนุชา โสมาบุตร. (25 กันยายน 2556). เรียกใช้เมื่อ 7 มีนาคม 2559 จาก
https://teacherweekly.wordpress.com/2013/09/25/constructivist-theory/
Wadsworth, B. J. (1996). Piaget’s Theory of Cognitive and Affective Development:
Foundation of Constructivism. Fifth Edition. New York : Longman.
แสงดาว เขตบรรพต , ครู คศ.1 สัมภาษณ์ , 2 มีนาคม 2559
ปรานอม บรรดาจันทร์ . ครู คศ.3 สัมถาษณ์ , 4 มีนาคม 2559

More Related Content

What's hot

รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...Wichai Likitponrak
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การเขียนแผน
การเขียนแผนการเขียนแผน
การเขียนแผนsujitrapa
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวkomjankong
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2Yodhathai Reesrikom
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรtanongsak
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3kanwan0429
 

What's hot (18)

รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
School curiculum
School curiculumSchool curiculum
School curiculum
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
การเขียนแผน
การเขียนแผนการเขียนแผน
การเขียนแผน
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 

Viewers also liked

วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55krupornpana55
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนChainarong Maharak
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Charuni Samat
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51oieseau1
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
Social Agents for Learning in Virtual Environments - GALA2016
Social Agents for Learning in Virtual Environments - GALA2016Social Agents for Learning in Virtual Environments - GALA2016
Social Agents for Learning in Virtual Environments - GALA2016Manuel Gentile
 
วิธีสอนแบบตรง : 8 วิธีการสอน
วิธีสอนแบบตรง : 8 วิธีการสอนวิธีสอนแบบตรง : 8 วิธีการสอน
วิธีสอนแบบตรง : 8 วิธีการสอนJirapat Chomvilai
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
ทักษะชีวิต
ทักษะชีวิตทักษะชีวิต
ทักษะชีวิตkrupornpana55
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 

Viewers also liked (20)

วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
 
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียน
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
 
Sun3
Sun3Sun3
Sun3
 
Social Agents for Learning in Virtual Environments - GALA2016
Social Agents for Learning in Virtual Environments - GALA2016Social Agents for Learning in Virtual Environments - GALA2016
Social Agents for Learning in Virtual Environments - GALA2016
 
วิธีสอนแบบตรง : 8 วิธีการสอน
วิธีสอนแบบตรง : 8 วิธีการสอนวิธีสอนแบบตรง : 8 วิธีการสอน
วิธีสอนแบบตรง : 8 วิธีการสอน
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
Human resources trend
Human resources trendHuman resources trend
Human resources trend
 
Trend 2016
Trend 2016Trend 2016
Trend 2016
 
ทักษะชีวิต
ทักษะชีวิตทักษะชีวิต
ทักษะชีวิต
 
Concept map
Concept mapConcept map
Concept map
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
2016 key theme
2016 key theme2016 key theme
2016 key theme
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 

Similar to การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสท์ เพื่อพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษท

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8fernfielook
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8nattawad147
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8wanneemayss
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมWanlapa Kst
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอrainacid
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8Dook dik
 

Similar to การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสท์ เพื่อพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษท (20)

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
งาน2 8
งาน2 8งาน2 8
งาน2 8
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสท์ เพื่อพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษท

  • 1. การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสท์ เพื่อพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยีของผู้เรียน 1. บทนา ตามที่นายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มีการกาหนดนโยบายที่ เกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม คือ ”การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ซึ่งการปรับเวลา เรียน เพิ่มเวลารู้ ต้องกระทา โดยไม่กระทบเนื้อหาหลักที่เด็ก ๆ ควรเรียนรู้ ครูต้องใช้ความสามารถ ในการออกแบบการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สาระที่ต้องรู้ครบถ้วนอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2558) จากนโยบายลดเวลาเรียนดังกล่าว จึง นามาสู่การปฏิบัติโดยกาหนดให้โรงเรียนลดการเรียนภาควิชาการ หลังจากนั้น โรงเรียนจะต้องจัด กิจกรรมสร้างสรรค์ต่าง ๆ ให้ผู้เรียนปฏิบัติ และควรเป็นกิจกรรมที่มีความหลากหลายที่ช่วยเพิ่มพูน ทักษะการคิดวิเคราะห์ ความมีน้าใจต่อกัน การทางานเป็นทีม การจัดกิจกรรมควรมีการกระตุ้นให้ ผู้เรียนได้ค้นหาศักยภาพและความชอบของตนเอง ซึ่งเชื่อว่าผู้เรียนทุกคนมีความพิเศษ มี ความสามารถในแบบฉบับของตนเอง การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ เป็นกรอบวิสัยทัศน์ ด้าน การศึกษา เพื่อเตรียมความพร้ อมให้ แก่ผู้เรียนเข้าสู่การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2558) การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เป็นหน้าที่ของผู้สอนที่ จะต้องออกแบบกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ซึ่งสอดคล้องกับหลายประเทศที่ เป็นผู้นาด้านการศึกษาของโลก ที่ เห็นพ้องต้องกันกับแนวคิดสาคัญในเรื่องของจิตสานึกต่อโลก ความรู้พื้นฐานการประกอบอาชีพ ความรู้พื้นฐานด้านพลเมือง สุขภาพ สิ่งแวดล้อม และทักษะที่ จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและ เทคโนโลยี ทักษะการทางาน ทักษะ ชีวิตที่ใช้ได้จริง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จะช่วยให้ผู้เรียน สามารถ เรียนรู้ และปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา (ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์, 2553) การ เรียนรู้ของผู้เรียนได้เปลี่ยนแปลงไป เนื่องมาจากมีความหลากหลายของแหล่งการเรียนรู้สื่อและ เทคโนโลยีเช่น Internet, Computer, Tablet, Smart Phone และ อื่นๆ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และ เข้าถึงเนื้อหาสารสนเทศได้ทุกที่ทุกเวลา ตามความพร้อม ความสามารถของผู้เรียน การเรียนรู้ใน ลักษณะนี้เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดย จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่ม การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน การเรียนรู้จากกิจกรรม การปฏิบัติจริง จากประสบการณ์ตรง การใช้คาถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียน คิดวิเคราะห์ การสืบค้น ข้อมูล เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได้ มีการจัด กิจกรรมโดยให้ผู้เรียนทุกคนได้เรียนรู้ร่วมกัน ครูจะเปลี่ยนบทบาทจากผู้สอนมาเป็นผู้อานวยความ
  • 2. สะดวก ชี้แนะ ให้คาปรึกษา คอยให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เรียนเพื่อให้ประสบผลสาเร็จ (วิจารณ์ พาณิช, 2558) จากที่กล่าวมา การลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เป็นการตอบสนองนโยบายของนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งผู้สอนจักต้องดาเนินการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี สอดคล้อง กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ว่าการรู้เท่าทันสื่อเป็นทักษะสาคัญสาหรับการดาเนินชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 เนื่องจากสื่อสมัยใหม่มีรูปแบบที่หลากหลาย ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ผู้เรียนจึง จาเป็นต้องเรียนรู้วิธีการในการเข้าถึง การประเมิน การวิเคราะห์ และการสร้างสื่อ เพื่อให้สามารถ ตัดสินใจเลือกและรับข่าวสารได้อย่างถูกต้อง (เทอดศักดิ์ ไม้เท้าทอง, 2557) และนาทฤษฎีคอน สตรัคติวิสต์มาปรับใช้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ผู้เรียนเป็นสาคัญ 1. ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ จากนโยบายการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ได้มีผู้ให้ความหมายเพื่อไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน ดังนี้ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2558) ลดเวลาเรียน หมายถึงการลดเวลาเรียนภาควิชาการและการลดเวลาของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็น ผู้รับความรู้ เช่น การบรรยาย การสาธิต การศึกษาใบความรู้ ให้น้อยลง เพิ่มเวลารู้ หมายถึง การ เพิ่มเวลาและโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง มีประสบการณ์ตรง คิดวิเคราะห์ ทางาน เป็นทีม และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุขจากกิจกรรมสร้างสรรค์ที่หลากหลายมากขึ้น วรากรณ์ สามโกเศศ (2558) การลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้หมายถึง การจัดสัดส่วนเวลาของ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้ให้น้อยลงและเพิ่มเวลาของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติจริง และสร้างความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ตามความสนใจ ความถนัดและความต้องการได้เพิ่มพูนทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะชีวิต ความมี น้าใจ การทางานเป็นทีม และมีความสุขในการเรียนรู้ กมล รอดคล้าย (2558) กล่าวถึงรูปแบบการจัดกิจกรรมหลังเลิกเรียนว่า จะกาหนด รูปแบบตัวอย่างประมาณ 5-6 รูปแบบ เพื่อให้โรงเรียนนาร่องนาไปปรับใช้ตามบริบทและความ พร้อมของแต่ละโรงเรียน โดยใช้แนวคิด “สอนน้อย แต่เรียนรู้มาก : Teach Less Learn More” อาทิ การทาการบ้านในโรงเรียน การเรียนกับเพื่อนที่เก่งกว่า การช่วยสอนเสริมเด็กที่เรียนไม่ทัน การจัด กิจกรรมดนตรี กีฬา ศิลปะ เป็นต้น
  • 3. การุณ สกุลประดิษฐ์ (2558) การปรับลดชั่วโมงเรียนบางวิชาให้น้อยลง แต่ต้องไม่ กระทบเนื้อหาหลักที่เด็กควรเรียนรู้ ซึ่ง 8 กลุ่มสาระจะยังคงมีอยู่ไม่เปลี่ยนแปลง และหลังจากบ่าย สองจะให้เด็กมุ่งเน้นการฝึกปฏิบัติมากขึ้น จากที่กล่าวมาในขั้นต้น สามารถสรุปได้ว่า ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ หมายถึง การจัด สัดส่วนเวลาของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยปรับตัดเนื้อหาภายในรายวิชาที่มีความซ้าซ้อน โดย ไม่กระทบกับเนื้อหาหลัก และตัวชี้วัด ซึ่งการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็น ผู้รับความรู้ ผู้เรียนมีโอกาสได้ลงมือปฏิบัติจริง สร้างความรู้ด้วยตนเอง มีประสบการณ์ตรง พัฒนา ตามความสนใจ ความถนัด สามารถเพิ่มพูนทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะชีวิต ความมีน้าใจ การ ทางานเป็นทีม และ มีความสุขในการทากิจกรรมที่หลากหลาย วัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2558) 1) เพื่อขับเคลื่อนการนาหลักสูตรสถานศึกษา ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตาม หลักการ ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2) เพื่อให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมและพัฒนา ผู้เรียนให้มี คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ และได้รับการพัฒนาเต็ม ตามศักยภาพ ตามความสนใจและถนัดของผู้เรียนแต่ละบุคคล 3) เพื่อให้สถานศึกษาสามารถการบริหารจัดการเวลาเรียน และจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ได้อย่างเหมาะสม ทั้งด้านวิชาการ ด้านปฏิบัติ ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ ตามความสนใจและถนัดของแต่ละบุคคล 4) เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ พัฒนา ตนเองตามความสนใจและความถนัดอย่างเต็มตามศักยภาพ และมีความสุขกับการเรียนรู้ 5) เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษามีความพึงพอใจในการจัด การศึกษาของโรงเรียนและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว จะเห็นได้ว่า การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้เป็นนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ ที่มุ่งเน้นให้สถานศึกษาจัดการกิจกรรมการเรียนการสอน โดยพัฒนาความรู้ ทางด้านวิชาการและด้านการปฏิบัติ อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพ ตามหลักการของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการ เรียนรู้ มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ และมีความสุขกับ การเรียนรู้
  • 4. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory) ความหมายของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory) ทิฎิ์ภัทรา สุดแก้ว (2554) ได้กล่าวถึงทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory) หมายถึง กระบวนการหรือการเรียนรู้ซึ่งเกิดขึ้นได้ด้วยตัวผู้เรียนเองโดยการสร้างองค์ความรู้ที่ ผู้เรียนได้นาจากสิ่งที่เป็นประสบการณ์หรือสิ่งที่ก่อเกิดขึ้นใหม่ทางปัญญา ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนเกิด การดูดซึมทางปัญญาและการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็น แนวคิดในการจัดการศึกษาแนวหนึ่ง ที่เป็นการสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนต้องสร้างความรู้ใหม่นั้น ด้วยตนเอง ด้วยการเชื่อมประสบการณ์ที่มีอยู่แล้วกับความรู้ใหม่ ซึ่งอาศัยบรรยากาศที่เหมาะสม การทางานร่วมกัน มัณฑนา ศรีเทพ(2553) ได้กล่าวถึงทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์(Constructivist Theory) หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ที่ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการดูดซึมทางปัญญาและการเชื่อมโยงความรู้ เดิมกับความรู้ใหม่จนเกิดการปรับขยายโครงสร้างทางปัญญาและการนาไปสู่การสร้างความรู้ได้ ด้วยตน พวงเพชร ศรีคีรินทร์ (2552) ได้กล่าวถึงทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory) หมายถึง เป็นแนวคิดในการจัดการศึกษาแนวหนึ่งที่เน้นตรงการสร้างองค์ความรู้ โดยผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง อาศัยประสบการณ์เดิม กับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน โดยครูผู้สอนเป็นผู้ จัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนที่เหมาะสม สุมาลี ชัยเจริญ (2551) ได้กล่าวถึงทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory) หมายถึง การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน โดยมีผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ จากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบเห็นกับความรู้ความเข้าใจเดิมที่มาก่อน โดยพยายามนาความ เข้าใจเกี่ยวกับเหตุการณ์และปรากฏการณ์ที่ตนพบเห็นมาสร้างเป็นโครงสร้างทางปัญญา (Cognitive Structure) หรือโครงสร้างของความรู้ในสมอง ซึ่งประกอบด้วยความหมายของสิ่งต่าง ๆ ที่ใช้ภาษาหรือเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสิ่งที่บุคคลมีประสบการณ์ อาจจะเป็นความเข้าใจหรือ ความรู้ของแต่ละบุคคล จากที่กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์(Constructivist Theory) หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง ครูผู้สอนเป็นผู้จัด กิจกรรมต่างๆ ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอาศัยประสบการณ์เดิมที่ตนมี โครงสร้าง ปัญญาที่มีอยู่แล้วเป็นพื้นฐานซึ่งอาศัยความรู้การรับรู้จากสภาพแวดล้อมหรือการสอนภายนอก เท่านั้น
  • 5. กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ 1. กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา (Cognitive constructivism) กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา มีรากฐานทางปรัชญาของทฤษฎี มาจากความ พยายามที่จะเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ ด้วยกระบวนการที่พิสูจน์อย่างมี เหตุผล เป็นความรู้ ที่เกิดจากการไตร่ตรอง ซึ่งถือเป็นปรัชญาปฏิบัตินิยม ประกอบกับรากฐานทาง จิตวิทยาการเรียนรู้ที่มีอิทธิพลต่อพื้นฐานแนวคิดนี้นักจิตวิทยาพัฒนาการชาวสวิส คือ เพียเจต์ (Jean Piaget) ทฤษฏีของเพียเจต์ จะแบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ ช่วงอายุ (Ages) และ ลาดับขั้น (Stages) ซึ่งทั้งสององค์ประกอบนี้จะทานายว่าเด็กจะสามารถหรือไม่สามารถเข้าใจสิ่งหนึ่งสิ่งใด เมื่อมีอายุแตกต่างกัน และทฤษฏีเกี่ยวกับด้านพัฒนาการที่จะอธิบายว่าผู้เรียนจะพัฒนา ความสามารถทางการรู้คิด (Cognitive abilities) ทฤษฏีพัฒนาการที่จะเน้นจุดดังกล่าวเพราะว่า เป็นพื้นฐานหลักสาหรับวิธีการของคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา โดยด้านการจัดการเรียนรู้นั้นมี แนวคิดว่า มนุษย์เราต้อง “สร้าง” ความรู้ด้วยตนเองโดยผ่านทางประสบการณ์ ซึ่งประสบการณ์ เหล่านี้จะกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างโครงสร้างทางปัญญา หรือเรียกว่า สกีมา (Schemas) รูปแบบการ ทาความเข้าใจ (Mental model) ในสมอง สกีมาเหล่านี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (Change) ขยาย (Enlarge) และซับซ้อนขึ้นได้โดยผ่านทางกระบวนการ การดูดซึม (Assimilation) และการ ปรับเปลี่ยน (Accommodation) (อนุชา โสมาบุตร, 2556) โดยมีกระบวนการ ดังนี้ 1. การดูดซึมเข้าสู่โครงสร้างทางปัญญา (Assimilation) 2. การปรับโครงสร้างทางปัญญา (Accommodation) 2. กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม (Social constructivism) วีกอทสกี (Vygotsky, 2007) ได้กล่าวว่า เด็กจะพัฒนาในกลุ่มของสังคมที่จัดขึ้น การใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมควรจะเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันมากกว่าที่จะแยกผู้เรียนจากคนอื่นๆ ครูตามแนวคิดกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ ควรจะสร้างบริบทสาหรับการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถได้รับ การส่งเสริมในกิจกรรมที่น่าสนใจซึ่งกระตุ้นและเอื้ออานวยต่อการเรียนรู้แทนที่ครูผู้สอนที่เข้ามาสู่ กิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับผู้เรียน ไม่ใช่เข้ามายืนมองเด็กสารวจและค้นพบเท่านั้น แต่ครูควร แนะนาเมื่อผู้เรียนประสบปัญหา กระตุ้นให้ผู้เรียนปฏิบัติงานในกลุ่มในการที่จะคิดพิจารณา ประเด็นคาถาม และสนับสนุนด้วยการกระตุ้น แนะนา ให้พวกเขาต่อสู้กับปัญหา และเกิดความท้า ทาย และนั่นเป็นรากฐานของสถานการณ์ในชีวิตจริง (Real life situation) ที่จะทาให้ผู้เรียน เกิด ความสนใจ และได้รับความพึงพอใจในผลของงานที่พวกเขาได้ลงมือกระทา ดังนั้น ครูจะคอยช่วย เอื้อให้ผู้เรียนเกิดความเจริญทางด้านสติปัญญา (Cognitive growth) และการเรียนรู้ในทุกชั้นเรียน
  • 6. ซึ่งกลยุทธ์ทางเรียนรู้ที่สอดคล้องกับแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคมของวีกอทสกี (Vygotsky) อาจจะไม่จาเป็นต้องจัดกิจกรรมที่เหมือนกันทุกอย่างก็ได้ กิจกรรมและรูปแบบอาจเปลี่ยนแปลง ตามความเหมาะสม ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม (Social constructivism) ดังนี้แนวคิด ของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) มีดังนี้(สาคร อัฒจักร, ม.ป.ป.) 1. ความรู้คือการสร้างโครงสร้างทางปัญญาที่สามารถคลี่คลายสถานการณ์ที่เป็นปัญหา และใช้เป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาหรืออธิบายสถานการณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องได้ 2. นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยวิธีที่ต่าง ๆ กันโดยอาศัยประสบการณ์เดิม โครงสร้างทาง ปัญญาที่มีอยู่ ความสนใจและแรงจูงใจภายในตนเองเป็นจุดเริ่มต้น 3. ครูมีหน้าที่จัดการให้นักเรียนได้ปรับขยายโครงสร้างทางปัญญาของนักเรียนเองภายใต้ สมมติฐาน ต่อไปนี้ 1) สถานการที่เป็นปัญหาและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา 2) ความขัดแย้งทางปัญญาเป็นแรงจูงใจให้เกิดกิจกรรมไตร่ตรอง เพื่อขจัดความขัดแย้ง 3) การไตร่ตรองบนฐานแห่งประสบการณ์และโครงสร้างทางปัญญาที่อยู่ภายใต้การมี ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม กระตุ้นให้มีการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 วิจารณ์ พาณิช (2555) ได้กล่าวถึง ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ดังนี้ ทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และ การเป็ นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ความรู้ ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) 1.ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม 2.ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 3.ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ 4.ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C 3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ 1) Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ ทักษะในการแก้ปัญหา) 2) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้ างสรรค์และ นวัตกรรม) 3) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่าง
  • 7. กระบวนทัศน์) 4) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การ ทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา) 5) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะ ด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) 6) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้าน คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) 7) Career and Learning Skills (ทักษะ อาชีพ และทักษะการเรียนรู้) “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” ที่พัฒนาโดยองค์กรภาคีเพื่อทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 (p21.org, 2007) ซึ่งประกอบด้วย 3 ทักษะ สาคัญได้แก่ 1) ทักษะการเรียนรู้และ นวัตกรรม 2) ทักษะชีวิตและการประกอบอาชีพ และ 3) ทักษะทางด้านข้อมูลข่าวสาร การสื่อสาร จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21”ประกอบด้วยทักษะที่สาคัญ ดังนี้ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะชีวิตและการประกอบอาชีพและทักษะทางด้านข้อมูล ข่าวสาร การสื่อสาร เทคโนโลยี การที่ผู้เรียนจะมีทักษะทั้งสามประการให้ดียิ่งนั้นผู้เรียนต้อง ประกอบไปด้วย ทักษะเบื้องต้นดังต่อไปนี้ ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมี วิจารณญาณ ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการสื่อสาร และการร่วมมือการทางานเป็นทีม เพื่อ เตรียมความพร้อมของผู้เรียนเข้าสู่โลกการทางานที่มีความซับซ้อนมากขึ้นในปัจจุบัน และผู้เรียน จาเป็นต้องมีความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้เกี่ยวกับสื่อและเทคโนโลยี เพื่อใช้ในการสืบค้นข้อมูล ข่าวสารที่เผยแพร่ในปัจจุบัน ในด้านการดารงชีวิตผู้เรียนต้อง มี ความยืดหยุ่น มีการปรับตัว มีการ ริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง มีทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือ ผู้ผลิต (Productivity) ความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility) ทักษะเหล่านี้เมื่อผู้เรียนได้พัฒนาและปรับตัวไว้ก่อน จะให้เกิดความพร้อมที่จะ ดาเนินชีวิตในศตวรรษที่ 21 ประโยชน์/ข้อดี ข้อเสีย ณรงค์ ขุ้มทอง (2558) กล่าวว่า การลดเวลาเรียนเพิ่มเวลาเรียนรู้ สิ่งที่ผู้รับผิดชอบตั้งแต่ คณะกระทรวงศึกษาธิการสานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานขับเคลื่อนให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนและน่าจะ สอดคล้องทักษะชีวิต 5 ด้าน ดังนี้1) ผู้เรียนเกิดทักษะการคิด (Thinking Skill) 2) ผู้เรียนเกิด ทักษะการสื่อสาร (Communication Skill) 3) ผู้เรียนเกิดทักษะการมีส่วนร่วม (Participation Skill) 4) ผู้เรียนเกิดทักษะการแก้ปัญหา (Problem Solving Skill) 5) ผู้เรียนเกิดทักษะจิตสาธารณะ (Public Mind Skill) วรากรณ์ สามโกเศศ (2558) กล่าวว่า ข้อดีของการให้ลดจานวนชั่วโมงเรียนที่เป็นทางการ ลง และเพิ่มเวลาในรูปแบบของการทากิจกรรมนอกห้องเรียนแทน จะทาให้เด็กมีความเครียด น้อยลง อีกทั้งเด็กจะได้เรียนรู้ด้วยตัวเองและมีเวลาของตัวเองมากยิ่งขึ้น ส่วนข้อเสียก็คือ สาหรับ
  • 8. โรงเรียนที่ไม่มีโครงการที่ดี และไม่ได้มีการดูแลที่ดี และครูก็ไม่รู้วิธีการว่าจะชดเชยวิชาที่หายไป ด้วยการทากิจกรรมอย่างไร มีการลดเวลาลง ก็เพื่อนาเวลานั้นไปเรียนวิชาเดียวกัน แต่เป็นการ เรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อไม่ให้เครียดมากเกินไป กมล รอดคล้าย (2558) กล่าวว่า ในช่วงเช้านักเรียนจะได้เรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่วนช่วงบ่ายภายหลังเวลา 14.00 น. เป็นต้นไป จะเป็นกิจกรรมที่เน้นปฏิบัติและบูรณาการ เบื้องต้น สพฐ.ได้กาหนดกิจกรรมให้โรงเรียนเลือกนาไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ ทั้งสิ้น 4 กิจกรรม ดังนี้1)กิจกรรมเสริมสร้างทักษะ ที่เน้นให้เด็กทากิจกรรมนอกห้องเรียน โดย กิจกรรมจะเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เด็กได้เรียนรู้ในช่วงเช้า เพื่อให้เด็กมีทักษะและลงมือปฏิบัติจริง อาทิ การทาโครงงาน การวาดรูป เล่นละครประวัติศาสตร์ เป็นต้น 2) กิจกรรมเสรี ให้โรงเรียนจัดตาม ความเหมาะสม และความพร้อม อาทิ ชมรมจิตอาสา ชมรมกีฬา ฯลฯ 3) กิจกรรมสอนอาชีพ ซึ่งมี โรงเรียนในสังกัด สพฐ.กว่าหมื่นโรงมีความต้องการเรื่องดังกล่าว โดยโรงเรียนอาจชักชวน ผู้ปกครอง หรือภูมิปัญญาชาวบ้านเข้ามาร่วมให้ความรู้และสอนอาชีพแก่นักเรียน รวมถึงกิจกรรม ที่เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะชีวิตด้วย 4) กิจกรรมสอนเสริมวิชาการ ซึ่งไม่ใช่การติวเด็ก แต่เป็นการ ดูแลเด็กที่มีปัญหาเรียนอ่อน หรือสอนการบ้าน เป็นต้น ปฏิมา ปัทมเกตุ (2558) กล่าวว่า ข้อดีของการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลาเรียนรู้ มุ่งเน้นให้ นักเรียนได้มีโอกาสทากิจกรรมนอกห้องเรียนมากขึ้น และลดภาวะตึงเครียดในเนื้อหาวิชาหลัก สรุปได้ว่า ประโยชน์และข้อดีของการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ คือ ผู้เรียนมีโอกาสที่กิจกรรม นอกห้องเรียน ได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยผู้ปกครองมีส่วนร่วมเป็นวิทยากรท้องถิ่นหรือภูมิปัญญา ชาวบ้าน ได้ทากิจกรรมตามความพร้อมและเหมาะสม ไม่ตึงเครียดกับเนื้อหาวิชาหลัก ซึ่งส่งผลให้ ผู้เรียน มีทักษะการเรียนรู้การใช้ชีวิต เรียนรู้อย่างมีความสุข เกิดความภาคภูมิใจในถิ่นเกิด และมี คุณธรรมจริยธรรม ส่วนข้อเสียของการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ คือ มีงบประมาณไม่เพียงพอกับการจัด กิจกรรม บางกิจกรรม มีเวลาน้อยเกินไปซึ่งอาจทาให้เนื้อหาบางส่วนของรายวิชาหายไป รวมทั้ง ครูไม่ทราบวิธีการจัดกิจกรรมที่แน่นอน ในช่วงเวลาดังกล่าว อาจเป็นช่องทางที่จะทาให้ครูหา รายได้เสริมจากการรับสอนพิเศษมากกว่าเดิม และมีโอกาสที่นักเรียนจะไปมั่วสุมในช่วงเวลาหลัง เลิกเรียน การนานโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ไปใช้จริง โรงเรียนกุดข้าวปุ้ นวิทยา (2559) ได้ขับเคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สู่การ ปฏิบัติ สาหรับสถานศึกษา มีการดาเนินงานที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย
  • 9. นักเรียนได้เรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยใช้เวลาเรียนทั้งด้านวิชาการ และการ ปฏิบัติ กิจกรรมอย่างเหมาะสม มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีทักษะชีวิต และมี ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความถนัด ความสนใจ ตามศักยภาพของตนเองแต่ละ คน มีการประเมินตนเอง และนาผลการประเมินไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง มี ความสุขในการเรียนรู้ มีภาระงาน การบ้าน เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และ ตัวชี้วัด มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ผลการทดสอบ PISA และผลการทดสอบคุณภาพ การศึกษาต่าง ๆ ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และให้ความร่วมมือในการดาเนินงานตามนโยบาย“ลด เวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” มีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนตามนโยบาย “ลดเวลา เรียน เพิ่มเวลารู้” และมีความพึงพอใจต่อคุณภาพของนักเรียน ปราณี คงพิกุล (2558) กล่าวไว้ว่า แนวทางในการปรับกิจกรรมคือ 1) เปลี่ยนไปเป็นการ เรียนสาระการเรียนรู้เสริมอีก 3 สาระ ซึ่งนักเรียนจะได้ออกมานอกห้องเรียนปกติ มาเรียนรู้ใน สนามกีฬา ห้องสมุด ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องดนตรี ห้องศิลปะ หรือในมุมอื่นที่เหมาะสม โดยเนื้อหา ดังกล่าว การประเมินผลก็เป็นการประเมินจากผลงานหรือกิจกรรมกลุ่มอยู่แล้ว 2) จัดให้มีกิจกรรม ชมรม เช่นชมรมดนตรี กีฬา ศิลปะ สภานักเรียน ชมรมบาเพ็ญประโยชน์ ลูกเสือ ฯลฯ รวมทั้ง โรงเรียนต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับเด็ก 3) การสอนการบ้านหรือการ สอนเสริมสาหรับเด็กเรียนอ่อน โดยเพื่อนหรือครูทาให้เมื่อเด็กกลับบ้านก็จะไม่ต้องทาการบ้านจน ดึก และเป็นภาระแก่ครอบครัวเวลาเรียนหลังจาก 14.30 นาฬิกา โดยประมาณจะสิ้นสุดตามเวลา เลิกเรียนเดิมของแต่ละโรงเรียน นักเรียนก็จะเลิกเรียนและกลับบ้านตามปกติ ผู้ปกครองมารับ นักเรียนได้ตามเวลาเดิม ไม่ได้ปล่อยให้เด็กออกนอกโรงเรียนหรือมีเวลาว่างจนเป็นอิสระ และไม่ได้ เรียนรู้อะไรเลย กิจกรรมเสริมในช่วงเวลาดังกล่าวนี้โรงเรียนจะต้องไม่เก็บค่าใช้จ่ายใดๆเลยจาก นักเรียน จากที่กล่าวมาในข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ไปใช้จริงใน โรงเรียนนั้น ควรคานึงถึงความพร้อม ความต้องการ ความจาเป็น ต้องมีการดาเนินงานที่เน้น การมีส่วนร่วมของทุกฝ่ าย โดยบทบาทของสถานศึกษา ควรขับเคลื่อนโดยกาหนดตัวชี้วัด ความสาเร็จที่ชัดเจน และสามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้ มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ช่วยเสริม ความรู้และทักษะผู้เรียนตามความพร้อมและความชอบของแต่ละคน มีการจัดกิจกรรมที่ยืดหยุ่น ตามสถานการณ์ เรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ นาผลการประเมินมา พัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่องผู้เรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมอย่างเหมาะสม มีความสามารถใน
  • 10. การคิดวิเคราะห์ มีทักษะชีวิต มีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความถนัดตาม ศักยภาพของตนเอง มีการประเมินตนเอง มีความสุขในการเรียนรู้ และสามารถนาความรู้ที่ได้รับ ไปใช้ได้จริง บรรณานุกรม Finding IT Consulting. (มมป.). ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory). (Online) เรียกใช้เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2559 จาก http://www.finding.co.th/it-solutions/human- resources-hr/14-it-solutions/human-resources-hr/85-constructivist-theory.html Fisik san Boakanok. (มมป.). เอกสารประกอบวิชา Education Thechnology and communication. (Online) เรียกใช้เมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2559 จาก http://www.aowwa.com/innovation/lesson5.pdf http://www.novabizz.com. (2015). ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม. (Online) เรียกใช้เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2559 จาก http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Behavioral_Learning_Theories.htm MSU Knowlage Managment. (2554). MSU Knowlage Managment. (Online) เรียกใช้เมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2559 จาก http://blog.msu.ac.th: http://blog.msu.ac.th/?p=4833 p21.org. (2007). FRAMEWORK FOR 21ST CENTURY LEARNING. (Online) เรียกใช้เมื่อ 20 Feb 2016 จาก http://www.p21.org: http://www.p21.org/about-us/our-mission Vygotsky, and Luria, Alexander. “Tool and symbol in child development.” [Online] Avaliable at : http://www.marxists.org/archive/vygotsky/works/1934/tool- symbol.htm, 16 May 2007. กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ ปี 2542. เรียกใช้เมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2559 จาก http://www.moe.go.th/main2/plan/p-r-b42-01.htm กิดานันท์ มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: อรุณการ พิมพ์. ฉลอง ทับศิริ. (มมป.). การออกแบบระบการสอน. เรียกใช้เมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2559 จาก home.dsd.go.th/techno/trainingsystem/.../instructional_design.doc บ้านจอมยุทธ์. (ม.ป.ป.). ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์. เข้าถึงได้จาก http://www.baanjomyut.com/library_2/extension- 2/constructivist_theory/index.html
  • 11. วิจารณ์ พาณิช. (2555). วิถีการสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิ สดศรี-สฤษดิ์วงศ์. วิชาการ.คอม. (ม.ป.ป.). ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21. เข้าถึงได้จาก http://www.vcharkarn.com/varticle/60454 สาคร อัฒจักร . (ม.ป.ป.). กระบวนการพัฒนาและผลิตเทคโนโลยีการเรียนการสอน. เข้าถึงได้จาก ศูนย์พัฒนาทรัพยากรการศึกษา(CARD): http://www.elearning.msu.ac.th/opencourse/0503780/Unit03/unit03_014.htm สุมาลี ชัยเจริญ. (2554). เทคโนโลยีการศึกษา หลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ. ขอนแก่น: คลังนานา วิทยา. สุมาลี ชัยเจริญ. (2557). การออกแบบการสอน หลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ. เมืองขอนแก่น: แอนนาออฟเชต. อนุชา โสมาบุตร. (25 กันยายน 2556). เรียกใช้เมื่อ 7 มีนาคม 2559 จาก https://teacherweekly.wordpress.com/2013/09/25/constructivist-theory/ Wadsworth, B. J. (1996). Piaget’s Theory of Cognitive and Affective Development: Foundation of Constructivism. Fifth Edition. New York : Longman. แสงดาว เขตบรรพต , ครู คศ.1 สัมภาษณ์ , 2 มีนาคม 2559 ปรานอม บรรดาจันทร์ . ครู คศ.3 สัมถาษณ์ , 4 มีนาคม 2559