SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
1
www.tanitsorat.com
2
3
4
กองทัพสหรัฐอเมริกา จะต้องมีขนาดเล็กลง แบนราบลง แต่ยังมีความ
คล่องตัวและยืดหยุ่น สามารถวางกาลังได้อย่างรวดเร็ว มีการใช้งานเทค
โลโลยีที่ทันสมัยในอนาคต และกองทัพสหรัฐอเมริกายังคงเป็นกาลังระดับ
โลกในแง่ความมั่นคงและการสร้างเสถียรภาพ จะปรับสมดุลใหม่ใน
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก จะยังคงปรากฏตัวอยู่ทั่วโลก เน้นย้าในการ
เสริมสร้างเพื่อนและพันธมิตรใหม่ ๆ จะมีการ ลงทุนในไซเบอร์ ในอวกาศ
ในระบบที่ไม่เปิดเผยตัวตน ลงทุนในหน่วยปฏิบัติการพิเศษ ลงทุนใน
เทคโนโลยีใหม่และจะลงทุนในความสามารถในการเคลื่อนย้ายเดินทางได้
อย่างรวดเร็วหากมีความจาเป็น
5
• ยุทธศาสตร์ในการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติในปี 2015 ได้พูดถึง
จีนอย่างเปิดเผยว่า “สหรัฐฯ มีความจาเป็นในการปกป้ องธุรกิจและ
เครือข่ายไซเบอร์จากการโจรกรรมความลับทางการค้าทางไซเบอร์เพื่อ
ผลประโยชน์ทางการค้าไม่ว่าโดยภาคเอกชนหรือภาครัฐจีน” สิ่งที่
น่าสนใจจากประโยคที่กล่าวคือการสหรัฐประกาศชัดในการปกป้ อง
ความเป็นส่วนตัวจากการโจรกรรมข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
• นโยบายของสหรัฐยืนยันว่าจะใช้กฎหมายระหว่างประเทศกับพื้นที่ใน
โลกไซเบอร์ โดยมองว่า “โลกไซเบอร์ต้องมีการวางบรรทัดฐานระยะยาว
ในระดับประเทศในการการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา, เสรีภาพใน
โลกออนไลน์,และพื้นฐานที่ต้องเคารพกัน 6
แนวโน้มสถานการณ์โลกปี ปี 2015
การก่อการร้าย
ปัญหาการก่อการร้ายยังคงจะยืดเยื้อต่อไป มีความเป็นไปได้
สูงเช่นเดียวกัน ที่จะมีการโจมตีในรูปแบบใหม่จากกลุ่มก่อการร้าย คือจะ
เป็นการโจมตีทางอินเตอร์เน็ต ทาลายเครือข่ายอินเตอร์เน็ตของระบบ
โครงสร้างพื้นฐานสาคัญของสหรัฐ อาทิ เครือข่ายสาธารณูปโภค และ
สถาบันการเงิน เป็นต้น มีการรุกคืบของกลุ่มISIS และปัญหาความ
ขัดแย้งระหว่างมุสลิมชีอะห์และมุสลิมสุหนี่ ปฏิบัติการของกลุ่ม ISIS ได้
ลุกลามเข้าไปในซีเรีย ทาให้สงครามกลางเมืองในซีเรีย มีแนวโน้มทวีความ
รุนแรงมากขึ้น กลุ่มต่อต้านรัฐบาลซีเรีย ที่ทางตะวันตกสนับสนุน ก็อ่อนแอ
ลง ในขณะที่กลุ่มที่สนับสนุนอัลกออิดะห์และ ISIS ก็แข็งแกร่งขึ้นเรื่อยๆ
7
ตะวันออกกลาง
ปัญหาความวุ่นวายในตะวันออกกลาง ที่กาลังจะลุกลามบาน
ปลายออกไปเรื่อยๆ
สถานการณ์ในลิเบียก็น่าเป็นห่วง กลุ่มหัวรุนแรงรุกคืบ และ
ใกล้จะเป็นสงครามกลางเมือง รัฐบาลกลางก็อ่อนแอมาก
ในอียิปต์ มีแนวโน้มปัญหาความวุ่นวายมากขึ้น กลุ่มหัวรุนแรง
มีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ
การเมือง เป็นผลมาจากสงครามกลางเมืองในซีเรีย ส่วนใน
ตุรกี กลุ่มแบ่งแยกดินแดนชาวเคิร์ดขัดแย้งมากขึ้นเรื่อยๆกับรัฐบาลตุรกี
8
แนวโน้มสถานการณ์โลกปี ปี 2015
ปากีสถาน ก็มีทีท่าว่าจะมีปัญหามากขึ้น โดยเฉพาะจากกลุ่ม
นักรบตาลิบันในปากีสถาน
จุดอันตรายอีกจุดคือ อิหร่าน ซึ่งแม้ว่าขณะนี้ยังมีความ
พยายามเจรจากับอิหร่านเรื่องการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ มีแนวโน้มการ
เจรจากับอิหร่านจะกลายเป็นวิกฤตอีกครั้ง ความตึงเครียดจะเกิดขึ้นอีก
หากอิสราเอลจะตัดสินใจโจมตีโรงงานนิวเคลียร์ของอิหร่าน
นอกจากนี้ยังมีปัญหาความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับ
ปาเลสไตน์ ซึ่งยืดเยื้อมานาน ซึ่งในปีนี้ไม่มีทีท่าว่าจะสงบลง
9
แนวโน้มสถานการณ์โลกปี ปี 2015
ยูเครน
วิกฤตยูเครนยังจะไม่จบ ปีที่แล้ว ถือว่าเป็นสถานการณ์ที่วิกฤต
สุด เมื่อรัสเซียบุกยึดคาบสมุทรไครเมีย และเกิดความตึงเครียดอย่างหนัก
ทางตะวันออกของยูเครน และทาให้รัสเซียกับตะวันตกขัดแย้งกันอย่างหนัก
ปีนี้รัสเซียจะยังคงเดินหน้านับสนุน Donetsk และ Luhansk
ให้แยกตัวออกมาจากยูเครน สถานการณ์ในปีนี้ยังไม่แน่นอน
นอกจากนี้ทางตะวันออกเฉียงใต้ของยูเครนคือ
เขต Kharkiv Zaporizhia ล่อแหลมที่จะเกิดปัญหาหากรัสเซีย
ตัดสินใจที่จะผนวกเขตดังกล่าว
10
แนวโน้มสถานการณ์โลกปี ปี 2015
เอเชียตะวันออก
จุดอันตรายมีอยู่ 3 จุด คือ คาบสมุทรเกาหลี ความขัดแย้งในทะเลจีน
ตะวันออก และความขัดแย้งในทะเลจีนใต้
คาบสมุทรเกาหลี วิกฤตเกาหลีเหนืออาจจะเกิดขึ้นได้จากหลายปัจจัย
ทั้งจากนโยบายทหารของสหรัฐ หรือความวุ่นวายทางการเมืองในเกาหลี
เหนือเอง ซึ่งอาจนาไปสู่วิกฤตอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือครั้งใหม่
ความขัดแย้งระหว่างจีนกับญี่ปุ่น ในกรณีการแย่งชิงเกาะเซนกากุหรือ
เกาะเตียวหยู ยังคงเป็นจุดอันตราย ที่อาจจะนาไปสู่การปะทะกันทางทหาร
ระหว่างประเทศทั้งสองได้
11
แนวโน้มสถานการณ์โลกปี ปี 2015
สุดท้าย ปัญหาในทะเลจีนใต้ ซึ่งเป็นปัญหาใกล้ตัวของ
ประเทศไทยของเรามาก ขณะนี้ยืดเยื้อมานานไม่มีทีท่าจะคลี่คลาย โดยจีน
ยังคงตอกย้าอ้างความเป็นเจ้าของ ขณะที่สหรัฐก็ยุให้ประเทศอาเซียน
ทะเลาะกับจีน สถานการณ์เช่นนี้ล่อแหล่มต่อการที่ความขัดแย้งจะลุกลาม
บานปลายได้ในปีนี้
12
แนวโน้มสถานการณ์โลกปี ปี 2015
ยุทธศาสตร์สหรัฐต่อเอเซีย
ยุทธศาสตร์หลักคือ การกระชับความสัมพันธ์กับพันธมิตรทั้ง 5 ในเอเชีย
ซึ่งได้แก่ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย ฟิลิปปินส์ และไทย โดยเน้นกระชับ
ความสัมพันธ์กับพันธมิตรดังกล่าวให้แน่นแฟ้ นยิ่งขึ้น ประเทศที่มี
ความสาคัญคือ ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ ที่ถูกมองว่ากาลังจะเป็นผู้นาในการ
จัดการกับปัญหาทั้งในระดับโลกและภูมิภาค
สหรัฐจะเพิ่มการปฏิสัมพันธ์ในเอเชีย โดยผ่านทางองค์กรในภูมิภาค เวที
หารือใหม่ๆ และการทูตระดับสูง สหรัฐจะดาเนินยุทธศาสตร์ต่อเอเชียผ่าน
ทางพันธมิตร กระชับความสัมพันธ์กับมหาอานาจใหม่ และเพิ่มบทบาทใน
เวทีพหุภาคีต่างๆ ซึ่งรวมทั้ง ASEAN APEC และเวที East Asia
Summit 13
จีน สหรัฐจะเน้นความสัมพันธ์ที่เป็นบวก สร้างสรรค์ และสมบูรณ์
เบ็ดเสร็จกับจีน สหรัฐยินดีที่จีนจะเล่นบทบาทเป็นผู้นาที่รับผิดชอบในการ
แก้ไขปัญหาต่างๆ ร่วมกับสหรัฐจะยังคงเฝ้ าระวังเกี่ยวกับการพัฒนา
แสนยานุภาพทางทหารของจีน และเตรียมรับมือกับผลกระทบ เพื่อป้ องกัน
ไม่ให้ผลประโยชน์ของสหรัฐและพันธมิตรได้รับผลกระทบในทางลบ
อินเดีย พัฒนาความสัมพันธ์ในลักษณะหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ มี
ผลประโยชน์ร่วมกัน ได้เปิดโอกาสในการเป็นหุ้นส่วนกับสหรัฐ ทั้งทางด้าน
เศรษฐกิจและความมั่นคง สหรัฐมองว่า อินเดียกาลังจะมีบทบาทความเป็น
ผู้นาในการจัดการปัญหาของโลก โดยการเป็นสมาชิกของกลุ่ม G20 และ
บทบาทของอินเดียในการสร้างเสถียรภาพในเอเชียใต้
14
ยุทธศาสตร์สหรัฐต่อเอเชีย(ต่อ)
ประเทศที่สหรัฐมองว่า กาลังเป็นศูนย์อานาจใหม่และมีความสาคัญ
มากขึ้นเรื่อยๆ คือ อินโดนีเซีย โดยในเอกสารดังกล่าว ได้พูดถึงอินโดนีเซีย
ว่า เป็นประเทศที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของโลก เป็นสมาชิก G20
และเป็นประชาธิปไตย อินโดนีเซียจึงมีศักยภาพที่จะเป็นหุ้นส่วนที่สาคัญ
กับสหรัฐมากขึ้นเรื่อยๆ ในการจัดการกับปัญหาต่างๆ ในภูมิภาค
15
ยุทธศาสตร์สหรัฐต่อเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประธานาธิบดี Obama ให้ความสาคัญต่อการกาหนด
ยุทธศาสตร์ในระยะยาวต่อภูมิภาค โดยได้เล็งเห็นว่า ศูนย์กลางของ
ภูมิภาคอยู่ที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะอยู่ที่กลุ่มประเทศอาเซียน
สหรัฐได้ดาเนินยุทธศาสตร์ในระดับทวิภาคีและพหุภาคี ในระดับทวิภาคี
สหรัฐมีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้ นกับทั้ง 10 ประเทศ สาหรับในระดับพหุ
ภาคี สหรัฐมุ่งเป้ าไปที่อาเซียน ซึ่งขณะนี้กาลังมีบูรณาการไปเป็นประชาคม
อาเซียน เวทีอาเซียนที่สหรัฐให้ความสาคัญมากที่สุดในขณะนี้คือ เวที
East Asia Summit หรือ EAS สหรัฐเน้นว่า การเสริมสร้างสถาบัน
ภูมิภาคให้เข้มแข็ง ถือเป็นยุทธศาสตร์ระยะยาวของสหรัฐ สหรัฐสนับสนุน
การที่อาเซียนจัดตั้ง EAS เพราะจะทาให้ประเทศในภูมิภาคใกล้ชิดกัน
16
บทสรุป
ไทยจะวางกลยุทธ์อย่างไร
ภายใต้การแข่งขันของ 2 ขั้วมหาอานาจ
• ภายใต้การแข่งขันของสหรัฐ-จีน ที่จะเข้ามาในภูมิภาคอาเซียน ประเทศ
ไทยจะสามารถรักษาความสมดุลได้อย่างไรเพราะทั้ง 2ประเทศต่างมุ่ง
หมายที่จะใช้ไทยเป็นประตู ไปสู่ประเทศอาเซียน
• เป็นความท้าทายของไทยและอาเซียนจะมีวิธีถ่วงดุลอย่างไรกับประเทศ
จีนและสหรัฐ อย่างไร และจะใช้ประโยชน์กับการเป็นหุ้นส่วนทั้งด้าน
เศรษฐกิจและความั่งคงของภูมิภาค
17
END 18
www.tanitsorat.com

More Related Content

Viewers also liked

แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยKlangpanya
 
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลกภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลกKlangpanya
 
เอกสาร East & South East Asia Monitor ครั้งที่ ุ9 ประจำเดือน กันยายน 2558
เอกสาร East & South East Asia Monitor ครั้งที่ ุ9 ประจำเดือน กันยายน 2558เอกสาร East & South East Asia Monitor ครั้งที่ ุ9 ประจำเดือน กันยายน 2558
เอกสาร East & South East Asia Monitor ครั้งที่ ุ9 ประจำเดือน กันยายน 2558Klangpanya
 
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์Klangpanya
 
พุทธโคดม : บทวิเคราะห์ทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ
พุทธโคดม : บทวิเคราะห์ทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจพุทธโคดม : บทวิเคราะห์ทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ
พุทธโคดม : บทวิเคราะห์ทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจKlangpanya
 
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย Klangpanya
 
เอกสารวิเคราะห์รายไตรมาส Monitor East & South East Asia ครั้งที่ 2 ประจำเดือน...
เอกสารวิเคราะห์รายไตรมาส Monitor East & South East Asia ครั้งที่ 2 ประจำเดือน...เอกสารวิเคราะห์รายไตรมาส Monitor East & South East Asia ครั้งที่ 2 ประจำเดือน...
เอกสารวิเคราะห์รายไตรมาส Monitor East & South East Asia ครั้งที่ 2 ประจำเดือน...Klangpanya
 
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนKlangpanya
 
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 

Viewers also liked (9)

แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
 
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลกภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
 
เอกสาร East & South East Asia Monitor ครั้งที่ ุ9 ประจำเดือน กันยายน 2558
เอกสาร East & South East Asia Monitor ครั้งที่ ุ9 ประจำเดือน กันยายน 2558เอกสาร East & South East Asia Monitor ครั้งที่ ุ9 ประจำเดือน กันยายน 2558
เอกสาร East & South East Asia Monitor ครั้งที่ ุ9 ประจำเดือน กันยายน 2558
 
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
 
พุทธโคดม : บทวิเคราะห์ทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ
พุทธโคดม : บทวิเคราะห์ทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจพุทธโคดม : บทวิเคราะห์ทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ
พุทธโคดม : บทวิเคราะห์ทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ
 
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
 
เอกสารวิเคราะห์รายไตรมาส Monitor East & South East Asia ครั้งที่ 2 ประจำเดือน...
เอกสารวิเคราะห์รายไตรมาส Monitor East & South East Asia ครั้งที่ 2 ประจำเดือน...เอกสารวิเคราะห์รายไตรมาส Monitor East & South East Asia ครั้งที่ 2 ประจำเดือน...
เอกสารวิเคราะห์รายไตรมาส Monitor East & South East Asia ครั้งที่ 2 ประจำเดือน...
 
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

American national security strategy 2015

  • 2. 2
  • 3. 3
  • 4. 4
  • 5. กองทัพสหรัฐอเมริกา จะต้องมีขนาดเล็กลง แบนราบลง แต่ยังมีความ คล่องตัวและยืดหยุ่น สามารถวางกาลังได้อย่างรวดเร็ว มีการใช้งานเทค โลโลยีที่ทันสมัยในอนาคต และกองทัพสหรัฐอเมริกายังคงเป็นกาลังระดับ โลกในแง่ความมั่นคงและการสร้างเสถียรภาพ จะปรับสมดุลใหม่ใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก จะยังคงปรากฏตัวอยู่ทั่วโลก เน้นย้าในการ เสริมสร้างเพื่อนและพันธมิตรใหม่ ๆ จะมีการ ลงทุนในไซเบอร์ ในอวกาศ ในระบบที่ไม่เปิดเผยตัวตน ลงทุนในหน่วยปฏิบัติการพิเศษ ลงทุนใน เทคโนโลยีใหม่และจะลงทุนในความสามารถในการเคลื่อนย้ายเดินทางได้ อย่างรวดเร็วหากมีความจาเป็น 5
  • 6. • ยุทธศาสตร์ในการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติในปี 2015 ได้พูดถึง จีนอย่างเปิดเผยว่า “สหรัฐฯ มีความจาเป็นในการปกป้ องธุรกิจและ เครือข่ายไซเบอร์จากการโจรกรรมความลับทางการค้าทางไซเบอร์เพื่อ ผลประโยชน์ทางการค้าไม่ว่าโดยภาคเอกชนหรือภาครัฐจีน” สิ่งที่ น่าสนใจจากประโยคที่กล่าวคือการสหรัฐประกาศชัดในการปกป้ อง ความเป็นส่วนตัวจากการโจรกรรมข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต • นโยบายของสหรัฐยืนยันว่าจะใช้กฎหมายระหว่างประเทศกับพื้นที่ใน โลกไซเบอร์ โดยมองว่า “โลกไซเบอร์ต้องมีการวางบรรทัดฐานระยะยาว ในระดับประเทศในการการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา, เสรีภาพใน โลกออนไลน์,และพื้นฐานที่ต้องเคารพกัน 6
  • 7. แนวโน้มสถานการณ์โลกปี ปี 2015 การก่อการร้าย ปัญหาการก่อการร้ายยังคงจะยืดเยื้อต่อไป มีความเป็นไปได้ สูงเช่นเดียวกัน ที่จะมีการโจมตีในรูปแบบใหม่จากกลุ่มก่อการร้าย คือจะ เป็นการโจมตีทางอินเตอร์เน็ต ทาลายเครือข่ายอินเตอร์เน็ตของระบบ โครงสร้างพื้นฐานสาคัญของสหรัฐ อาทิ เครือข่ายสาธารณูปโภค และ สถาบันการเงิน เป็นต้น มีการรุกคืบของกลุ่มISIS และปัญหาความ ขัดแย้งระหว่างมุสลิมชีอะห์และมุสลิมสุหนี่ ปฏิบัติการของกลุ่ม ISIS ได้ ลุกลามเข้าไปในซีเรีย ทาให้สงครามกลางเมืองในซีเรีย มีแนวโน้มทวีความ รุนแรงมากขึ้น กลุ่มต่อต้านรัฐบาลซีเรีย ที่ทางตะวันตกสนับสนุน ก็อ่อนแอ ลง ในขณะที่กลุ่มที่สนับสนุนอัลกออิดะห์และ ISIS ก็แข็งแกร่งขึ้นเรื่อยๆ 7
  • 8. ตะวันออกกลาง ปัญหาความวุ่นวายในตะวันออกกลาง ที่กาลังจะลุกลามบาน ปลายออกไปเรื่อยๆ สถานการณ์ในลิเบียก็น่าเป็นห่วง กลุ่มหัวรุนแรงรุกคืบ และ ใกล้จะเป็นสงครามกลางเมือง รัฐบาลกลางก็อ่อนแอมาก ในอียิปต์ มีแนวโน้มปัญหาความวุ่นวายมากขึ้น กลุ่มหัวรุนแรง มีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ การเมือง เป็นผลมาจากสงครามกลางเมืองในซีเรีย ส่วนใน ตุรกี กลุ่มแบ่งแยกดินแดนชาวเคิร์ดขัดแย้งมากขึ้นเรื่อยๆกับรัฐบาลตุรกี 8 แนวโน้มสถานการณ์โลกปี ปี 2015
  • 9. ปากีสถาน ก็มีทีท่าว่าจะมีปัญหามากขึ้น โดยเฉพาะจากกลุ่ม นักรบตาลิบันในปากีสถาน จุดอันตรายอีกจุดคือ อิหร่าน ซึ่งแม้ว่าขณะนี้ยังมีความ พยายามเจรจากับอิหร่านเรื่องการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ มีแนวโน้มการ เจรจากับอิหร่านจะกลายเป็นวิกฤตอีกครั้ง ความตึงเครียดจะเกิดขึ้นอีก หากอิสราเอลจะตัดสินใจโจมตีโรงงานนิวเคลียร์ของอิหร่าน นอกจากนี้ยังมีปัญหาความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับ ปาเลสไตน์ ซึ่งยืดเยื้อมานาน ซึ่งในปีนี้ไม่มีทีท่าว่าจะสงบลง 9 แนวโน้มสถานการณ์โลกปี ปี 2015
  • 10. ยูเครน วิกฤตยูเครนยังจะไม่จบ ปีที่แล้ว ถือว่าเป็นสถานการณ์ที่วิกฤต สุด เมื่อรัสเซียบุกยึดคาบสมุทรไครเมีย และเกิดความตึงเครียดอย่างหนัก ทางตะวันออกของยูเครน และทาให้รัสเซียกับตะวันตกขัดแย้งกันอย่างหนัก ปีนี้รัสเซียจะยังคงเดินหน้านับสนุน Donetsk และ Luhansk ให้แยกตัวออกมาจากยูเครน สถานการณ์ในปีนี้ยังไม่แน่นอน นอกจากนี้ทางตะวันออกเฉียงใต้ของยูเครนคือ เขต Kharkiv Zaporizhia ล่อแหลมที่จะเกิดปัญหาหากรัสเซีย ตัดสินใจที่จะผนวกเขตดังกล่าว 10 แนวโน้มสถานการณ์โลกปี ปี 2015
  • 11. เอเชียตะวันออก จุดอันตรายมีอยู่ 3 จุด คือ คาบสมุทรเกาหลี ความขัดแย้งในทะเลจีน ตะวันออก และความขัดแย้งในทะเลจีนใต้ คาบสมุทรเกาหลี วิกฤตเกาหลีเหนืออาจจะเกิดขึ้นได้จากหลายปัจจัย ทั้งจากนโยบายทหารของสหรัฐ หรือความวุ่นวายทางการเมืองในเกาหลี เหนือเอง ซึ่งอาจนาไปสู่วิกฤตอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือครั้งใหม่ ความขัดแย้งระหว่างจีนกับญี่ปุ่น ในกรณีการแย่งชิงเกาะเซนกากุหรือ เกาะเตียวหยู ยังคงเป็นจุดอันตราย ที่อาจจะนาไปสู่การปะทะกันทางทหาร ระหว่างประเทศทั้งสองได้ 11 แนวโน้มสถานการณ์โลกปี ปี 2015
  • 12. สุดท้าย ปัญหาในทะเลจีนใต้ ซึ่งเป็นปัญหาใกล้ตัวของ ประเทศไทยของเรามาก ขณะนี้ยืดเยื้อมานานไม่มีทีท่าจะคลี่คลาย โดยจีน ยังคงตอกย้าอ้างความเป็นเจ้าของ ขณะที่สหรัฐก็ยุให้ประเทศอาเซียน ทะเลาะกับจีน สถานการณ์เช่นนี้ล่อแหล่มต่อการที่ความขัดแย้งจะลุกลาม บานปลายได้ในปีนี้ 12 แนวโน้มสถานการณ์โลกปี ปี 2015
  • 13. ยุทธศาสตร์สหรัฐต่อเอเซีย ยุทธศาสตร์หลักคือ การกระชับความสัมพันธ์กับพันธมิตรทั้ง 5 ในเอเชีย ซึ่งได้แก่ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย ฟิลิปปินส์ และไทย โดยเน้นกระชับ ความสัมพันธ์กับพันธมิตรดังกล่าวให้แน่นแฟ้ นยิ่งขึ้น ประเทศที่มี ความสาคัญคือ ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ ที่ถูกมองว่ากาลังจะเป็นผู้นาในการ จัดการกับปัญหาทั้งในระดับโลกและภูมิภาค สหรัฐจะเพิ่มการปฏิสัมพันธ์ในเอเชีย โดยผ่านทางองค์กรในภูมิภาค เวที หารือใหม่ๆ และการทูตระดับสูง สหรัฐจะดาเนินยุทธศาสตร์ต่อเอเชียผ่าน ทางพันธมิตร กระชับความสัมพันธ์กับมหาอานาจใหม่ และเพิ่มบทบาทใน เวทีพหุภาคีต่างๆ ซึ่งรวมทั้ง ASEAN APEC และเวที East Asia Summit 13
  • 14. จีน สหรัฐจะเน้นความสัมพันธ์ที่เป็นบวก สร้างสรรค์ และสมบูรณ์ เบ็ดเสร็จกับจีน สหรัฐยินดีที่จีนจะเล่นบทบาทเป็นผู้นาที่รับผิดชอบในการ แก้ไขปัญหาต่างๆ ร่วมกับสหรัฐจะยังคงเฝ้ าระวังเกี่ยวกับการพัฒนา แสนยานุภาพทางทหารของจีน และเตรียมรับมือกับผลกระทบ เพื่อป้ องกัน ไม่ให้ผลประโยชน์ของสหรัฐและพันธมิตรได้รับผลกระทบในทางลบ อินเดีย พัฒนาความสัมพันธ์ในลักษณะหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ มี ผลประโยชน์ร่วมกัน ได้เปิดโอกาสในการเป็นหุ้นส่วนกับสหรัฐ ทั้งทางด้าน เศรษฐกิจและความมั่นคง สหรัฐมองว่า อินเดียกาลังจะมีบทบาทความเป็น ผู้นาในการจัดการปัญหาของโลก โดยการเป็นสมาชิกของกลุ่ม G20 และ บทบาทของอินเดียในการสร้างเสถียรภาพในเอเชียใต้ 14 ยุทธศาสตร์สหรัฐต่อเอเชีย(ต่อ)
  • 15. ประเทศที่สหรัฐมองว่า กาลังเป็นศูนย์อานาจใหม่และมีความสาคัญ มากขึ้นเรื่อยๆ คือ อินโดนีเซีย โดยในเอกสารดังกล่าว ได้พูดถึงอินโดนีเซีย ว่า เป็นประเทศที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของโลก เป็นสมาชิก G20 และเป็นประชาธิปไตย อินโดนีเซียจึงมีศักยภาพที่จะเป็นหุ้นส่วนที่สาคัญ กับสหรัฐมากขึ้นเรื่อยๆ ในการจัดการกับปัญหาต่างๆ ในภูมิภาค 15 ยุทธศาสตร์สหรัฐต่อเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • 16. ประธานาธิบดี Obama ให้ความสาคัญต่อการกาหนด ยุทธศาสตร์ในระยะยาวต่อภูมิภาค โดยได้เล็งเห็นว่า ศูนย์กลางของ ภูมิภาคอยู่ที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะอยู่ที่กลุ่มประเทศอาเซียน สหรัฐได้ดาเนินยุทธศาสตร์ในระดับทวิภาคีและพหุภาคี ในระดับทวิภาคี สหรัฐมีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้ นกับทั้ง 10 ประเทศ สาหรับในระดับพหุ ภาคี สหรัฐมุ่งเป้ าไปที่อาเซียน ซึ่งขณะนี้กาลังมีบูรณาการไปเป็นประชาคม อาเซียน เวทีอาเซียนที่สหรัฐให้ความสาคัญมากที่สุดในขณะนี้คือ เวที East Asia Summit หรือ EAS สหรัฐเน้นว่า การเสริมสร้างสถาบัน ภูมิภาคให้เข้มแข็ง ถือเป็นยุทธศาสตร์ระยะยาวของสหรัฐ สหรัฐสนับสนุน การที่อาเซียนจัดตั้ง EAS เพราะจะทาให้ประเทศในภูมิภาคใกล้ชิดกัน 16 บทสรุป
  • 17. ไทยจะวางกลยุทธ์อย่างไร ภายใต้การแข่งขันของ 2 ขั้วมหาอานาจ • ภายใต้การแข่งขันของสหรัฐ-จีน ที่จะเข้ามาในภูมิภาคอาเซียน ประเทศ ไทยจะสามารถรักษาความสมดุลได้อย่างไรเพราะทั้ง 2ประเทศต่างมุ่ง หมายที่จะใช้ไทยเป็นประตู ไปสู่ประเทศอาเซียน • เป็นความท้าทายของไทยและอาเซียนจะมีวิธีถ่วงดุลอย่างไรกับประเทศ จีนและสหรัฐ อย่างไร และจะใช้ประโยชน์กับการเป็นหุ้นส่วนทั้งด้าน เศรษฐกิจและความั่งคงของภูมิภาค 17