SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปี การศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน คุณค่าของเพนิซิลิน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นายกิตตินันท์ รังสรรค์ เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม
(ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นายกิตตินันท์ รังสรรค์ เลขที่ 44
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
คุณค่าของเพนิซิลิน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Benefit of penicillin
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายกิตตินันท์ รังสรรค์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน 3สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล
ของการทาโครงงาน)
ตั้งแต่อดีตมีการติดเชื้อในมนุษย์และทาให้ผู้คนล้มตายเป็ นจานวนมา
ก การค้นพบเกิดขึ้นมาจากความผิดพลาดขณะที่ อเล็คซานเดอร์ เฟลมิง
กาลังทาการทดลองเชื้อแบคทีเรีย สเตปฟิโลคอกคัส (Staphylococcus)
ที่ ท า ใ ห้ เ กิ ด โ ร ค เ ซ ฟ ติ ซี เ มี ย (Septicemia)
ห รื อ ภ า ว ก า ร ณ์ ติ ด เ ชื้ อ ใ น ก ร ะ แ ส เ ลื อ ด
เขาได้เพาะเชื้อแบคทีเรียใส่พืชทะเลลงบนจานทดลอง และปิดฝาให้สนิท
เ ก็ บ ไ ว้ ใ น อุ ณ ห ภู มิ 37 อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี ย ส
แ ต่ แ ล้ ว วัน ห นึ่ ง ผู้ ช่ ว ย ข อ ง เ ข า ไ ด้ ลื ม ปิ ด ฝ า จ า น ท ด ล อ ง
ทาให้พบว่ามีเชื้อราสีเขียวชนิดหนึ่งขึ้นที่จานเต็มไปหมด บริเวณรอบ ๆ
เ ชื้ อ ร า นี้ ก ล า ย เ ป็ น ว ง ใ ส ๆ
แ ล ะ แ บ ค ที เ รี ย ส เ ต ป ฟิ โ ล ค อ ก คัส ถู ก ฆ่ า เ ป็ น ว ง ก ว้ า ง
ซึ่งต่อมาพบว่าราเหล่านี้ก็คือ ราเพนนิซิลเลียม (Pennicillium family)
นาไปใช้เป็ นยาปฏิชีวนะช่วยชีวิตผู้คนได้มากมายพนิซิลลิน (Penicillin,
ย่ อ ว่ า พี ซี เ อ็ น / PCN ห รื อ เ พ็ น / Pen)
3
เป็ นกลุ่มยาปฏิชีวนะที่มีโครงสร้างทางเคมีที่เรียกว่า เบต้า-แลคแตม
( Beta-lactam antibiotics)
วงการแพทย์นายานี้มาใช้ต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งยานี้ถูกค้นพบครั้งแรกใ
น ปี ค.ศ. 1897 (พ.ศ.2440) โดยแ พท ย์ชาวฝรั่ งเ ศสชื่อ Ernest
Duchesne
การสังเ คราะห์ยาเพนิซิลลินได้จากต้นกาเนิดของเชื้อราที่มีชื่อว่า
Penicillium
ยาเพนิซิลลินยังสามารถแบ่งออกเป็ นชนิดย่อยได้อีกเช่น เพนิซิลลิน
วี (Penicillin V) ซึ่ งจะพ บ ไ ด้ใน รู ป แ บ บ ขอ งย ารับ ป ร ะท าน ,
ส่วน เพนิ ซิลลิน จี (Penicillin G), โปรเคนเ พนิซิลลิน (Procaine
penicillin) แ ละ เ บน ซ าทีน เ พนิ ซิลลิน (Benzathine penicillin)
จะพบเห็นในรูปแบบยาฉีดเป็ นส่วน มาก
ยาเพนิซิลลินถือเป็ นยาปฏิชีวนะกลุ่มแรกที่ถูกนามาใช้บาบัดรักษาการติดเ
ชื้ อ จ า ก แ บ ค ที เ รี ย ก ลุ่ ม Staphylococci แ ล ะ Streptococci
สาหรับเชื้อที่ตอบสนองต่อเพนิซิลลินได้ดีจะเป็ นแบคทีเรียกลุ่ม แกรมบวก
(Gram positive) ปั จจุ บัน ยัง มี ก าร ใ ช้ ย า ก ลุ่ ม เ พ นิ ซิ ล ลิ น อ ยู่
ถึงแม้จะมีเชื้อหลายตัวเ กิดการดื้อยาด้วยผลของการใช้ยาที่ผิดวิธี
แต่ก็ยังมีแบคทีเรียบางกลุ่มที่ตอบสนองกับยานี้
องค์การอนามัยโลก(WHO)ได้จัดให้ยาเพนิซิลลินเป็ นกลุ่มยาจาเป็ นขั้นพื้
น ฐ า น ส า ห รั บ ชุ ม ช น
คณะกรรมการอาหารและยาของไทยก็ได้บรรจุยาเพนิซิลลินลงในบัญชียา
หลักแห่งชาติเช่นกัน
ก่อนการใช้ยานี้แพทย์จะเป็ นผู้คัดกรองและเลือกใช้ชนิดของเพนิซิลลินที่เ
หมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละรายไป
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ทราบถึงการกาเนิดของราเพนิซิลิน
2.ทราบถึงประโยชน์ของเพนิซิลิน
3.รู้ประโยชน์ของเพนิซิลิน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต
เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ทาการเพาะเลี้ยงเชื้อและทาการศึกษาประโยชน์ของราเพนิซิลิน
4
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
เพนิซิลินออกฤทธิ์โดยการขัดขวางการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรียโ
ดยเฉพาะแบคทีเรียแกรมบวก โดยการยับยั้งการสร้างครอสลิงก์
(crosslink) ระหว่างสายของเปบทิโดไกลแคน(peptidoglycan)
ทาให้ผนังเซลล์แบคทีเรียอ่อนแอและถูกทาลาย
ปัจจุบันนี้พบการดื้อยาของแบคทีเรียที่มีต่อยาเพนิซิลิน
ผ่านกลไกที่ตัวของแบคทีเรียสร้างสารเคมีมาทาลายส่วนประกอบของยา
ทาให้ยาไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ เช่น เอนไซม์บีตา-แลคแทมเมส(β-
lactamase)
ที่แบคทีเรียบางชนิดสร้างขึ้นจะไปตัดวงบีตาแลคแทมในโมเลกุลของเพนิ
ซิลินหรือยากลุ่มบีตาแลคแทมอื่นๆ ได้
จึงต้องใช้ยาอื่นในการรักษาแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาเหล่านี้
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเพนิซิลลินคือ
ตัวยาจะยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
โดยจะเข้าไปยับยั้งการสร้างสารเปบทิโดกลัยแคน (Peptidoglycan)
ซึ่งเป็ นตัวประกอบสาคัญของผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
จากการก่อกวนนี้ทาให้การสร้างผนังเซลล์ในแบคทีเรียหยุดชะงัก
ไม่สามารถเจริญ
เติบโตหรือแพร่พันธุ์ได้และทาให้แบคทีเรียตายลงในที่สุดและยาเพนิซิลลิ
นสามารถก่อให้เกิดผลไม่พึงประสงค์ (ผลข้างเคียง/อาการข้างเคียง)
โดยรวมได้ดังนี้เช่น อาจพบอาการหายใจลาบาก
มีไข้ ปวดตามข้อ เป็ นลม ผื่นคันตามผิวหนัง ปวดและเป็ นตะ
คริวที่ท้อง ภาวะชัก ปัสสาวะน้อยลง ท้องเสียหรือถ่ายเหลว ภาวะซึมเศร้า
คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล สับสน จิต/ประสาทหลอน ปวดศีรษะ คันบริเว
ณอวัยวะเพศ แผลในปากในลิ้น
กรณียาฉีดจะพบอาการปวดบริเวณเนื้อเยื่อที่ได้รับการฉีดยา
ยาเพนิซิลลินมีปฏิกิริยาระหว่างยากับยาตัวอื่นดังนี้เช่น
 การใช้ยากลุ่มเพนิซิลลินร่วมกับยาต้านเชื้อแบคทีเรียชนิดอื่นเช่น Er
ythromycin, Tetracy cline
อาจทาให้ประสิทธิภาพในการต้านเชื้อแบคทีเรียของเพนิซิลลินน้อยล
ง จึงควรเลี่ยงการใช้ยาร่วมกัน
 การใช้ยากลุ่มเพนิซิลลินร่วมกับยา Methotrexate สามารถทาให้ระ
ดับยา Methotrexate ในกระแสเลือดเพิ่มมากขึ้น
จนอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงที่รุนแรงตามมา
หากไม่มีความจาเป็ นใดๆควรเลี่ยงการใช้ยาร่วมกัน
หรือแพทย์ปรับขนาดการใช้ให้เหมาะสมเป็ นกรณีๆไป
5
 การใช้ยากลุ่มเพนิซิลลินร่วมกับยาเม็ดคุมกาเนิดที่มีส่วนประกอบขอ
ง
Ethinyl Estradiol อาจทาให้ประสิทธิภาพในการคุมกาเนิดด้อยลง
ไป ดังนั้นขณะใช้ยาทั้ง 2
กลุ่มนี้ร่วมกันควรใช้วิธีอื่นในการป้ องกันการตั้งครรภ์ด้วยเช่น
การใช้ถุงยางอนามัยชาย
 การใช้ยากลุ่มเพนิซิลลินร่วมกับยาต้านการแข็งตัวของเลือดเช่น Wa
rfarin อาจก่อให้เกิดภาวะตกเลือดได้ง่าย
โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคไต โรคตับ การใช้ยาร่วมกันจะต้อง
คอยเฝ้าระวังและควบคุมกลไกการแข็งตัวของเลือดให้อยู่ในระดับป
กติอยู่เสมอ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
ทาการศึกษาข้อมูลประโยชน์และโทษ ทาการเพาะเลี้ยง นาไปใช้ประโยชน์
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. หลอดแก้ว 7.
เครื่องมือบรรจุอาหารใส่ขวดแก้ว
2. ขวดแก้วเล็ก 8.
กระบอกฉีดบรรจุอาหาร (self-refillingsyringe)
3. Flask 9. สาลี
4. หม้อนึ่งความดันไอ (autoclave) 10. Aluminium
foil
5. บิกเกอร์ขนาดใหญ่ 11. เครื่องชั่งสารเคมี
6. มีด 12. หม้อต้มน้า
งบประมาณ
2000บาท
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช
อบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ
มูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโคร
งงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงา
น
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ได้รู้ประโยชน์มากมาของเพนิซิิน ได้ยาตัวใหม่ๆ
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพรวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
Applied And Environmental Microbiology

More Related Content

What's hot (19)

Nong gusjubujubu
Nong gusjubujubuNong gusjubujubu
Nong gusjubujubu
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
931 pre12
931 pre12931 pre12
931 pre12
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
 
Menopause
MenopauseMenopause
Menopause
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
Work1 pp
Work1 ppWork1 pp
Work1 pp
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
M6 78 60_6
M6 78 60_6M6 78 60_6
M6 78 60_6
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 

Similar to กิตตินันท์ รังสรรค์

หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for healthSirintra Chaiwong
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม0636830815
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Ffim Radchasan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5Papitchaya_19
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ pimrapat_55
 
2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeya2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeyassusera60940
 
2560 project พิชญา[1]
2560 project พิชญา[1]2560 project พิชญา[1]
2560 project พิชญา[1]Rutnapa Chonnatee
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพpaifahnutya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 

Similar to กิตตินันท์ รังสรรค์ (20)

หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for health
 
Do you-know-green-tea
Do you-know-green-teaDo you-know-green-tea
Do you-know-green-tea
 
Cf
CfCf
Cf
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
At1
At1At1
At1
 
2561 project (5)
2561 project  (5)2561 project  (5)
2561 project (5)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeya2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeya
 
2560 project พิชญา[1]
2560 project พิชญา[1]2560 project พิชญา[1]
2560 project พิชญา[1]
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
Woonkrathi
WoonkrathiWoonkrathi
Woonkrathi
 

กิตตินันท์ รังสรรค์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปี การศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน คุณค่าของเพนิซิลิน ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นายกิตตินันท์ รังสรรค์ เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นายกิตตินันท์ รังสรรค์ เลขที่ 44 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) คุณค่าของเพนิซิลิน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Benefit of penicillin ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายกิตตินันท์ รังสรรค์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน 3สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ตั้งแต่อดีตมีการติดเชื้อในมนุษย์และทาให้ผู้คนล้มตายเป็ นจานวนมา ก การค้นพบเกิดขึ้นมาจากความผิดพลาดขณะที่ อเล็คซานเดอร์ เฟลมิง กาลังทาการทดลองเชื้อแบคทีเรีย สเตปฟิโลคอกคัส (Staphylococcus) ที่ ท า ใ ห้ เ กิ ด โ ร ค เ ซ ฟ ติ ซี เ มี ย (Septicemia) ห รื อ ภ า ว ก า ร ณ์ ติ ด เ ชื้ อ ใ น ก ร ะ แ ส เ ลื อ ด เขาได้เพาะเชื้อแบคทีเรียใส่พืชทะเลลงบนจานทดลอง และปิดฝาให้สนิท เ ก็ บ ไ ว้ ใ น อุ ณ ห ภู มิ 37 อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี ย ส แ ต่ แ ล้ ว วัน ห นึ่ ง ผู้ ช่ ว ย ข อ ง เ ข า ไ ด้ ลื ม ปิ ด ฝ า จ า น ท ด ล อ ง ทาให้พบว่ามีเชื้อราสีเขียวชนิดหนึ่งขึ้นที่จานเต็มไปหมด บริเวณรอบ ๆ เ ชื้ อ ร า นี้ ก ล า ย เ ป็ น ว ง ใ ส ๆ แ ล ะ แ บ ค ที เ รี ย ส เ ต ป ฟิ โ ล ค อ ก คัส ถู ก ฆ่ า เ ป็ น ว ง ก ว้ า ง ซึ่งต่อมาพบว่าราเหล่านี้ก็คือ ราเพนนิซิลเลียม (Pennicillium family) นาไปใช้เป็ นยาปฏิชีวนะช่วยชีวิตผู้คนได้มากมายพนิซิลลิน (Penicillin, ย่ อ ว่ า พี ซี เ อ็ น / PCN ห รื อ เ พ็ น / Pen)
  • 3. 3 เป็ นกลุ่มยาปฏิชีวนะที่มีโครงสร้างทางเคมีที่เรียกว่า เบต้า-แลคแตม ( Beta-lactam antibiotics) วงการแพทย์นายานี้มาใช้ต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งยานี้ถูกค้นพบครั้งแรกใ น ปี ค.ศ. 1897 (พ.ศ.2440) โดยแ พท ย์ชาวฝรั่ งเ ศสชื่อ Ernest Duchesne การสังเ คราะห์ยาเพนิซิลลินได้จากต้นกาเนิดของเชื้อราที่มีชื่อว่า Penicillium ยาเพนิซิลลินยังสามารถแบ่งออกเป็ นชนิดย่อยได้อีกเช่น เพนิซิลลิน วี (Penicillin V) ซึ่ งจะพ บ ไ ด้ใน รู ป แ บ บ ขอ งย ารับ ป ร ะท าน , ส่วน เพนิ ซิลลิน จี (Penicillin G), โปรเคนเ พนิซิลลิน (Procaine penicillin) แ ละ เ บน ซ าทีน เ พนิ ซิลลิน (Benzathine penicillin) จะพบเห็นในรูปแบบยาฉีดเป็ นส่วน มาก ยาเพนิซิลลินถือเป็ นยาปฏิชีวนะกลุ่มแรกที่ถูกนามาใช้บาบัดรักษาการติดเ ชื้ อ จ า ก แ บ ค ที เ รี ย ก ลุ่ ม Staphylococci แ ล ะ Streptococci สาหรับเชื้อที่ตอบสนองต่อเพนิซิลลินได้ดีจะเป็ นแบคทีเรียกลุ่ม แกรมบวก (Gram positive) ปั จจุ บัน ยัง มี ก าร ใ ช้ ย า ก ลุ่ ม เ พ นิ ซิ ล ลิ น อ ยู่ ถึงแม้จะมีเชื้อหลายตัวเ กิดการดื้อยาด้วยผลของการใช้ยาที่ผิดวิธี แต่ก็ยังมีแบคทีเรียบางกลุ่มที่ตอบสนองกับยานี้ องค์การอนามัยโลก(WHO)ได้จัดให้ยาเพนิซิลลินเป็ นกลุ่มยาจาเป็ นขั้นพื้ น ฐ า น ส า ห รั บ ชุ ม ช น คณะกรรมการอาหารและยาของไทยก็ได้บรรจุยาเพนิซิลลินลงในบัญชียา หลักแห่งชาติเช่นกัน ก่อนการใช้ยานี้แพทย์จะเป็ นผู้คัดกรองและเลือกใช้ชนิดของเพนิซิลลินที่เ หมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละรายไป วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ทราบถึงการกาเนิดของราเพนิซิลิน 2.ทราบถึงประโยชน์ของเพนิซิลิน 3.รู้ประโยชน์ของเพนิซิลิน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ทาการเพาะเลี้ยงเชื้อและทาการศึกษาประโยชน์ของราเพนิซิลิน
  • 4. 4 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) เพนิซิลินออกฤทธิ์โดยการขัดขวางการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรียโ ดยเฉพาะแบคทีเรียแกรมบวก โดยการยับยั้งการสร้างครอสลิงก์ (crosslink) ระหว่างสายของเปบทิโดไกลแคน(peptidoglycan) ทาให้ผนังเซลล์แบคทีเรียอ่อนแอและถูกทาลาย ปัจจุบันนี้พบการดื้อยาของแบคทีเรียที่มีต่อยาเพนิซิลิน ผ่านกลไกที่ตัวของแบคทีเรียสร้างสารเคมีมาทาลายส่วนประกอบของยา ทาให้ยาไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ เช่น เอนไซม์บีตา-แลคแทมเมส(β- lactamase) ที่แบคทีเรียบางชนิดสร้างขึ้นจะไปตัดวงบีตาแลคแทมในโมเลกุลของเพนิ ซิลินหรือยากลุ่มบีตาแลคแทมอื่นๆ ได้ จึงต้องใช้ยาอื่นในการรักษาแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาเหล่านี้ กลไกการออกฤทธิ์ของยาเพนิซิลลินคือ ตัวยาจะยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย โดยจะเข้าไปยับยั้งการสร้างสารเปบทิโดกลัยแคน (Peptidoglycan) ซึ่งเป็ นตัวประกอบสาคัญของผนังเซลล์ของแบคทีเรีย จากการก่อกวนนี้ทาให้การสร้างผนังเซลล์ในแบคทีเรียหยุดชะงัก ไม่สามารถเจริญ เติบโตหรือแพร่พันธุ์ได้และทาให้แบคทีเรียตายลงในที่สุดและยาเพนิซิลลิ นสามารถก่อให้เกิดผลไม่พึงประสงค์ (ผลข้างเคียง/อาการข้างเคียง) โดยรวมได้ดังนี้เช่น อาจพบอาการหายใจลาบาก มีไข้ ปวดตามข้อ เป็ นลม ผื่นคันตามผิวหนัง ปวดและเป็ นตะ คริวที่ท้อง ภาวะชัก ปัสสาวะน้อยลง ท้องเสียหรือถ่ายเหลว ภาวะซึมเศร้า คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล สับสน จิต/ประสาทหลอน ปวดศีรษะ คันบริเว ณอวัยวะเพศ แผลในปากในลิ้น กรณียาฉีดจะพบอาการปวดบริเวณเนื้อเยื่อที่ได้รับการฉีดยา ยาเพนิซิลลินมีปฏิกิริยาระหว่างยากับยาตัวอื่นดังนี้เช่น  การใช้ยากลุ่มเพนิซิลลินร่วมกับยาต้านเชื้อแบคทีเรียชนิดอื่นเช่น Er ythromycin, Tetracy cline อาจทาให้ประสิทธิภาพในการต้านเชื้อแบคทีเรียของเพนิซิลลินน้อยล ง จึงควรเลี่ยงการใช้ยาร่วมกัน  การใช้ยากลุ่มเพนิซิลลินร่วมกับยา Methotrexate สามารถทาให้ระ ดับยา Methotrexate ในกระแสเลือดเพิ่มมากขึ้น จนอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงที่รุนแรงตามมา หากไม่มีความจาเป็ นใดๆควรเลี่ยงการใช้ยาร่วมกัน หรือแพทย์ปรับขนาดการใช้ให้เหมาะสมเป็ นกรณีๆไป
  • 5. 5  การใช้ยากลุ่มเพนิซิลลินร่วมกับยาเม็ดคุมกาเนิดที่มีส่วนประกอบขอ ง Ethinyl Estradiol อาจทาให้ประสิทธิภาพในการคุมกาเนิดด้อยลง ไป ดังนั้นขณะใช้ยาทั้ง 2 กลุ่มนี้ร่วมกันควรใช้วิธีอื่นในการป้ องกันการตั้งครรภ์ด้วยเช่น การใช้ถุงยางอนามัยชาย  การใช้ยากลุ่มเพนิซิลลินร่วมกับยาต้านการแข็งตัวของเลือดเช่น Wa rfarin อาจก่อให้เกิดภาวะตกเลือดได้ง่าย โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคไต โรคตับ การใช้ยาร่วมกันจะต้อง คอยเฝ้าระวังและควบคุมกลไกการแข็งตัวของเลือดให้อยู่ในระดับป กติอยู่เสมอ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ทาการศึกษาข้อมูลประโยชน์และโทษ ทาการเพาะเลี้ยง นาไปใช้ประโยชน์ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. หลอดแก้ว 7. เครื่องมือบรรจุอาหารใส่ขวดแก้ว 2. ขวดแก้วเล็ก 8. กระบอกฉีดบรรจุอาหาร (self-refillingsyringe) 3. Flask 9. สาลี 4. หม้อนึ่งความดันไอ (autoclave) 10. Aluminium foil 5. บิกเกอร์ขนาดใหญ่ 11. เครื่องชั่งสารเคมี 6. มีด 12. หม้อต้มน้า งบประมาณ 2000บาท
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช อบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ มูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโคร งงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงา น 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ได้รู้ประโยชน์มากมาของเพนิซิิน ได้ยาตัวใหม่ๆ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพรวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) Applied And Environmental Microbiology