SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ ายโครงงานคอมพิวเตอร์

1.เป็ นกิจกรรมการเรี ยนให้นกเรี ยนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบติดวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎีตาม
                           ั                        ั ั
เนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรื อจากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว

2.นกเรียนทุกคนพิจารณาจดทาโครงงานดวยตนเอง หรือเป็นกลุ่มโดยใชระยะเวลาส้ ันๆ เป็นภาคเรียน หรือ
   ั                  ั ํ        ้                         ้
มากว่าก็ได้ แล้วแต่โครงงานเล็กหรื อใหญ่

3. นักเรี ยนเป็ นผูพิจารณาริ เริ่ มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบติดวยตนเองตามความ
                   ้                                                              ั ้
ถนด สนใจ และความพร้อม
  ั

4. นักเรี ยนเป็ นผูเ้ สนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผนปฏิบติงานและการแปลผล รายงานผลต่อ
                                                             ั
                                                               ํ
อาจารย์ที่ปรึ กษา เพื่อดําเนินงานร่ วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กาหนดไว้

5. เป็ นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู ้ ความสามารถของนักเรี ยนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้งการใช้จ่ายเงิน
ดาเนินงานดวย
 ํ        ้

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
         คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในงานวิจยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์ จึงมี
                                                   ั
ความหลากหลายเป็ นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรมและลักษณะของประโยชน์หรื อผลงาที่ได้
ซึ่ งอาจแบ่งเป็ นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ

1. โครงงานพัฒนาสื่ อเพือการศึกษา(Educational Media)
                       ่
         เป็ น โครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ ในการผลิตสื่ อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรี ยน หรื อ
หน่วยการเรี ยน ซึ่ งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึ กหัด บททบทวนและคําถามคําตอบไว้พร้อม ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยน
แบบรายบุคคลหรื อรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยนี้ ถือว่าเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นอุปกรณ์การ
สอน ไม่ใช่เป็ นครู ผสอน ซึ่ งอาจเป็ นการพัฒนาบทเรี ยนแบบ Online ให้นกเรี ยนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้
                    ู้                                              ั
                                                                         ่
    โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการ สอนในวิชาต่าง ๆ ไม่วาจะเป็ นสาขา
คอมพิวเตอร์ วิชาคณิ ตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรี ยนอาจคัดเลือกหัวข้อ
ที่นกเรี ยนทัวไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็ นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรี ยน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรม
    ั        ่      ํ
สอนวิธีการใช้งาน ระบบสุ ริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ




      2. โครงงานพฒนาเครื่องมือ(Tools Development)
                 ั
      เป็ น โครงงานเพื่อพัฒนาเครื่ องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่ งโดยส่ วนใหญ่จะเป็ นในรู ป
ซอฟตแวร์ ตวอยางของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟตแวร์วาดรูป ซอฟตแวร์พิมพงาน ซอฟตแวร์ช่วยการ
    ์     ั ่                                ์              ์       ์       ์
มองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็ นต้น สําหรับซอฟต์แวร์ เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็ นโปรแกรมประมวลผล
ภาษา ซึ่ งจะเป็ นเครื่ องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นไปได้โดยง่าย ซึ่ งรู ปที่
ได้สามารถนําไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สําหรับซอฟต์แวร์ ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วย
                                                                                       ํ
ในการออกแบบสิ่ งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D
3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎ◌ี (Theory Experiment)
      เป็ น โครงงานใช้คอมพิวเตอร์ ในการจําองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็ นโครงงานที่ผทาต้องศึกษา
                                                                                  ู้ ํ
รวบรวมความรู ้ หลักการ ข้อเท็จจริ งและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้ งในเรื่ องที่ตองการศึกษา แล้วเสนอ
                                                                                 ้
                                         ่
เป็ นแนวคิด แบบจําลอง หลักการ ซึ่ งอาจอยูในรู ปของสมการ สู ตร หรื อคําอธิ บายก็ได้ พร้อมทั้งนําเสนอ
                                                                     ่ ู้ ํ
วิธีการจําลองทฤษฎีดวยคอมพิวเตอร์ การทําโครงงานประเภทนี้มีจุดสําคัญอยูที่ผทาต้องมีความรู ้เรื่ องนั้น ๆ
                   ้
เป็ นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่ องการไหลของเหลว การทดลองเรื่ องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า
ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอนเอ เป็นตน
                   ็        ้




      4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน(Application)
      เป็ น โครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริ งในชีวต ประจําวัน เช่น
                                                                                 ิ
ซอฟต์แวร์ สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์ สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์ สาหรับการระบุ
           ํ                                       ํ                        ํ
คนร้าย เป็ นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรื ออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่ง
                                                  ่
อาจจะสร้างใหม่หรื อปรับปรุ งดัดแปลงของเดิมที่มีอยูแล้วให้มี ประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้
จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผูใช้ก่อนแล้วนํา ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนา
                                       ้
สิ่ งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทํางานหรื อทดสอบคุณภาพของสิ่ งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุ ง
แก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นกเรี ยนต้องใช้ความรู ้เกี่ยวกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ภาษา
                                       ั
โปรแกรม และเครื่ องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วธีทางวิศวกรรมฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ในการ
                                                         ิ
พฒนาดวย
 ั   ้
5. โครงงานพฒนาเกม(Game Development)
           ั
      เป็ น โครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์ เกมเพื่อความรู ้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกม
หมากฮอส เกมการคํานวณเลข ซึ่ งเกมที่พฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็ นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึ ก
                                    ั
คิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้
เล่น พร้อมทั้งให้ความรู ้สอดแทรกไปด้วย ผูพฒนาควรจะได้ทาการสํารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกม
                                         ้ ั          ํ
               ่ ั่
ต่าง ๆ ที่มีอยูทวไปและนํามาปรับปรุ งหรื อพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้ป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผเู ้ ล่นก
ล่มต่าง ๆ




ผสืบคน : น.ส.สุ ลกขณา แสงอรุ ณ วันที่สืบค้น: 26/ก.ค./55
 ู้ ้            ั

   ่
แหลงที่มา   http://www.gotoknow.org/blogs/posts/314100 (ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ )

http://blog.eduzones.com/jipatar/85915 (ประเภทของโครงงาน)
http://namkwanmay.wordpress.com/2011/02/08/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%
80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B
8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0
%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7/ (ประเภทของโครงงาน)


รายชื่อผู้จัดทํา น.ส.สุลกขณา แสงอรุณ เลขที่ 23, น.ส.ณินทิรา ตันตยานุสรณ์ เลขที่ 19,
                        ั
น.ส. จุฬาทพย์ แสงบุญ เลขที่ 30 (ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/14)
          ิ

More Related Content

What's hot

3 120816125653-phpapp02
3 120816125653-phpapp023 120816125653-phpapp02
3 120816125653-phpapp02Sky Aloha'
 
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานNatnicha Nuanlaong
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์siratanap
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานKtmaneewan
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Kamonthip Konkaew
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์siratanap
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานMind Kyn
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4kanatakenta
 

What's hot (14)

3 120816125653-phpapp02
3 120816125653-phpapp023 120816125653-phpapp02
3 120816125653-phpapp02
 
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
K3
K3K3
K3
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
K3
K3K3
K3
 
K4
K4K4
K4
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 

Viewers also liked

ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานJar 'zzJuratip
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่  5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่  5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทJar 'zzJuratip
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Jar 'zzJuratip
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวJuratip Sangboon
 
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานJar 'zzJuratip
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้Jar 'zzJuratip
 
ข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่น
ข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่นข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่น
ข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่นKuNg Pw
 
ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79
ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79
ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79Korrakot Intanon
 

Viewers also liked (18)

ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
 
คณิต 50
คณิต 50คณิต 50
คณิต 50
 
สังคม 50
สังคม 50สังคม 50
สังคม 50
 
อังกฤษ 50
อังกฤษ 50อังกฤษ 50
อังกฤษ 50
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่  5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่  5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
 
ไทย 50
ไทย 50ไทย 50
ไทย 50
 
วิทย์ 50
วิทย์ 50วิทย์ 50
วิทย์ 50
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
 
Pat7.3
Pat7.3Pat7.3
Pat7.3
 
Pat7.1
Pat7.1Pat7.1
Pat7.1
 
Pat7.3
Pat7.3Pat7.3
Pat7.3
 
ข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่น
ข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่นข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่น
ข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่น
 
ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79
ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79
ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79
 
Blog
BlogBlog
Blog
 

Similar to ใบงานท 3

ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3minimalistknont
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานPuifai Sineenart Phromnin
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Rattana Wongphu-nga
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานPerm Ton
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์miiztake
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Rattana Wongphu-nga
 

Similar to ใบงานท 3 (17)

K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
K311
K311K311
K311
 
03
0303
03
 
03
0303
03
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
03
0303
03
 
03
0303
03
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
 
K3
K3K3
K3
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
K3
K3K3
K3
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 

ใบงานท 3

  • 1. ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ ายและประเภทของโครงงาน ขอบข่ ายโครงงานคอมพิวเตอร์ 1.เป็ นกิจกรรมการเรี ยนให้นกเรี ยนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบติดวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎีตาม ั ั ั เนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรื อจากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว 2.นกเรียนทุกคนพิจารณาจดทาโครงงานดวยตนเอง หรือเป็นกลุ่มโดยใชระยะเวลาส้ ันๆ เป็นภาคเรียน หรือ ั ั ํ ้ ้ มากว่าก็ได้ แล้วแต่โครงงานเล็กหรื อใหญ่ 3. นักเรี ยนเป็ นผูพิจารณาริ เริ่ มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบติดวยตนเองตามความ ้ ั ้ ถนด สนใจ และความพร้อม ั 4. นักเรี ยนเป็ นผูเ้ สนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผนปฏิบติงานและการแปลผล รายงานผลต่อ ั ํ อาจารย์ที่ปรึ กษา เพื่อดําเนินงานร่ วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กาหนดไว้ 5. เป็ นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู ้ ความสามารถของนักเรี ยนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้งการใช้จ่ายเงิน ดาเนินงานดวย ํ ้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในงานวิจยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์ จึงมี ั ความหลากหลายเป็ นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรมและลักษณะของประโยชน์หรื อผลงาที่ได้ ซึ่ งอาจแบ่งเป็ นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ 1. โครงงานพัฒนาสื่ อเพือการศึกษา(Educational Media) ่ เป็ น โครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ ในการผลิตสื่ อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรี ยน หรื อ หน่วยการเรี ยน ซึ่ งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึ กหัด บททบทวนและคําถามคําตอบไว้พร้อม ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยน แบบรายบุคคลหรื อรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยนี้ ถือว่าเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นอุปกรณ์การ สอน ไม่ใช่เป็ นครู ผสอน ซึ่ งอาจเป็ นการพัฒนาบทเรี ยนแบบ Online ให้นกเรี ยนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ ู้ ั ่ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการ สอนในวิชาต่าง ๆ ไม่วาจะเป็ นสาขา คอมพิวเตอร์ วิชาคณิ ตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรี ยนอาจคัดเลือกหัวข้อ
  • 2. ที่นกเรี ยนทัวไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็ นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรี ยน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรม ั ่ ํ สอนวิธีการใช้งาน ระบบสุ ริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ 2. โครงงานพฒนาเครื่องมือ(Tools Development) ั เป็ น โครงงานเพื่อพัฒนาเครื่ องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่ งโดยส่ วนใหญ่จะเป็ นในรู ป ซอฟตแวร์ ตวอยางของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟตแวร์วาดรูป ซอฟตแวร์พิมพงาน ซอฟตแวร์ช่วยการ ์ ั ่ ์ ์ ์ ์ มองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็ นต้น สําหรับซอฟต์แวร์ เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็ นโปรแกรมประมวลผล ภาษา ซึ่ งจะเป็ นเครื่ องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นไปได้โดยง่าย ซึ่ งรู ปที่ ได้สามารถนําไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สําหรับซอฟต์แวร์ ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วย ํ ในการออกแบบสิ่ งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D
  • 3. 3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎ◌ี (Theory Experiment) เป็ น โครงงานใช้คอมพิวเตอร์ ในการจําองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็ นโครงงานที่ผทาต้องศึกษา ู้ ํ รวบรวมความรู ้ หลักการ ข้อเท็จจริ งและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้ งในเรื่ องที่ตองการศึกษา แล้วเสนอ ้ ่ เป็ นแนวคิด แบบจําลอง หลักการ ซึ่ งอาจอยูในรู ปของสมการ สู ตร หรื อคําอธิ บายก็ได้ พร้อมทั้งนําเสนอ ่ ู้ ํ วิธีการจําลองทฤษฎีดวยคอมพิวเตอร์ การทําโครงงานประเภทนี้มีจุดสําคัญอยูที่ผทาต้องมีความรู ้เรื่ องนั้น ๆ ้ เป็ นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่ องการไหลของเหลว การทดลองเรื่ องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอนเอ เป็นตน ็ ้ 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน(Application) เป็ น โครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริ งในชีวต ประจําวัน เช่น ิ ซอฟต์แวร์ สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์ สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์ สาหรับการระบุ ํ ํ ํ คนร้าย เป็ นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรื ออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่ง ่ อาจจะสร้างใหม่หรื อปรับปรุ งดัดแปลงของเดิมที่มีอยูแล้วให้มี ประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้ จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผูใช้ก่อนแล้วนํา ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนา ้ สิ่ งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทํางานหรื อทดสอบคุณภาพของสิ่ งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุ ง แก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นกเรี ยนต้องใช้ความรู ้เกี่ยวกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ภาษา ั โปรแกรม และเครื่ องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วธีทางวิศวกรรมฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ในการ ิ พฒนาดวย ั ้
  • 4. 5. โครงงานพฒนาเกม(Game Development) ั เป็ น โครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์ เกมเพื่อความรู ้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกม หมากฮอส เกมการคํานวณเลข ซึ่ งเกมที่พฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็ นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึ ก ั คิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้ เล่น พร้อมทั้งให้ความรู ้สอดแทรกไปด้วย ผูพฒนาควรจะได้ทาการสํารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกม ้ ั ํ ่ ั่ ต่าง ๆ ที่มีอยูทวไปและนํามาปรับปรุ งหรื อพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้ป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผเู ้ ล่นก ล่มต่าง ๆ ผสืบคน : น.ส.สุ ลกขณา แสงอรุ ณ วันที่สืบค้น: 26/ก.ค./55 ู้ ้ ั ่ แหลงที่มา http://www.gotoknow.org/blogs/posts/314100 (ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ ) http://blog.eduzones.com/jipatar/85915 (ประเภทของโครงงาน) http://namkwanmay.wordpress.com/2011/02/08/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9% 80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B 8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0 %B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7/ (ประเภทของโครงงาน) รายชื่อผู้จัดทํา น.ส.สุลกขณา แสงอรุณ เลขที่ 23, น.ส.ณินทิรา ตันตยานุสรณ์ เลขที่ 19, ั น.ส. จุฬาทพย์ แสงบุญ เลขที่ 30 (ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/14) ิ