SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
ใบงานที่ 11 เรื่อง กําหนดและลําดับขั้นตอนการปฏิบัติ
                            --------------------------------------------------------------

  1. การสํ ารวจสภาพนําทีคูเมือง
                     ้ ่

        สํารวจลกษณะของนํา ประสาทสัมผัสของตัวเราเองเป็ นเครื่ องมือแสนวิเศษ เราสามารถใช้ตา ใช้จมูก
               ั        ้
หรือแมแต่หู ตรวจลกษณะของน้ า ซึ่ งเป็ นวิธีที่ง่ายที่สุดและให้ขอสังเกตเบื้องต้นเกี่ยวกับคุณภาพนํ้าได้ดี
      ้          ั         ํ                                   ้




อุปกรณ์
                  ้
ขวดพลาสติกใสกนแบนขนาด 1 ลิตร ตดปากขวดออก
                              ั
แผนวดความข่นใส
   ่ ั        ุ
เทอร์โมมิเตอร์วดอุณหภูมิ
                ั

  สี
                        ํ                   ํ                        ู่ ํ
      โดยธรรมชาติน้ าไม่มีสี สีที่เห็นในน้ าคือสีของสิ่งที่เจือปนอยในน้ า
วิธีการ
1. ตักนํ้าใส่ ขวดพลาสติกขนาด 1 ลิตร และบนทึกสีที่เห็นจากขางขวด ไม่ควรบันทึกสี ดวยการมองดูน้ าจากฝั่ง
                                               ั                  ้                           ้ ํ
เพราะอาจเป็นสีจากพ้ืนใตน้ าหรือตวแปรอื่น
                              ้ ํ     ั
2. ในกรณี ที่น้ าเน่าดําส่ งกลิ่นเหม็นชัดเจน ไม่ตองตักนํ้าขึ้นมาดู บันทึกสี ที่เห็นจากฝั่งนํ้า
                ํ                                ้

  กลิ่น
    เราได้กลิ่นต่างๆเมื่อไอของสสารนั้นลอยแพร่ กระจายออกมากระทบประมาทจมูกของเรา น้ าไม่มีกลิ่นโดย
                                                                                  ํ
                                                        ่
ธรรมชาติ กลิ่นของนํ้าจึงเป็ นสัญญาณบอกว่ามีสิ่งเจือปนอยูในนํ้า
วิธีการ
      ตักนํ้าขึ้นมาดม ลงความเห็นกันในกลุ่มว่ากลิ่นเป็ นอย่างไร ( ถ้านํ้าเหม็นมากจนได้กลิ่นจากริ มฝั่ง ไม่ตองตก
                                                                                                          ้ ั
ขึ้นมา )

   ความขุนใส ่
         แสงแดดจะสามารถส่ องลงสู่ ใต้น้ าได้ลึกหรื อตื้นเพียงใดนั้น ขึ้นอยูกบความขุ่นใสของนํ้า ส่ งผลโดยตรงต่อ
                                        ํ                                  ่ ั
ชีวตพืชและสัตวตามพ้ืนใตน้ า น้ าจะข่นใสแค่ไหนน้ นข้ ึนอยกบปริมาณสารแขวนลอยในน้ า เช่น ตะกอนดิน
      ิ              ์       ้ ํ ํ ุ                   ั      ู่ ั                        ํ
และแพลงก์ตอนสาหร่ าย ตะกอนดินนอกจากจะทําให้น้ าขุ่นแล้ว ยังไปอุดรู ซอกหลืบตามพื้นนํ้าที่สัตว์ชอบอาศัย
                                                           ํ
    ู่ ้
อยดวย
วิธีการ
1. วางแผนวดความข่นใสไวที่กนขวดพลาสติกดานใน
            ่ ั         ุ      ้ ้                 ้
2. ตักนํ้าจากลําธารใส่ จนเต็มขวด
3. วางขวดไว้เฉยๆ ในร่ มเงา รอให้น้ านิ่ง
                                    ํ
4. เมื่อนํ้านิ่งก้มดูจากปากขวด และบันทึกหมายเลขสี จางที่สุดที่มองเห็นบนแผ่นวัดความขุ่นใส

   อุณหภูมิ
       นํ้ายิงร้อน ออกซิ เจนยิงละลายได้นอย สัตว์น้ าจึงหลบพักในนํ้าเย็นใต้ร่มเงาต้นไม้ได้สบายกว่าผืนนํ้ากลาง
             ่                ่         ้          ํ
แดดร้อน และถ้ามีการปล่อยนํ้าร้อนลงนํ้า เช่น นํ้าเสี ยจากโรงงานอุตสาหกรรม ออกซิ เจนในนํ้าจะลดลง
วิธีการ
1. ใช้ขวดพลาสติกตักนํ้ากลางลําธาร แลวนาข้ ึนมาบนฝ่ัง
                                          ้ ํ
2. จุ่มเทอร์ โมมิเตอร์ ลงไปประมาณ 20 วนาที บันทึกอุณหภูมิน้ า
                                           ิ                  ํ

  ความเร็ วของกระแสนํ้า
       ยิงนํ้าไหลเร็ วเท่าไร ออกซิ เจนยิงถ่ายเทในนํ้าได้มาก ดูวธีการวัดความเร็ วกระแสนํ้า จาก การสํารวจกายภาพ
         ่                              ่                      ิ
ลาน้ า พ้ืนใตน้ าที่มีกรวดมาก ทาใหผวน้ าแตกกระเซ็น ช่วยใหออกซิเจนถ่ายเทไดดีข้ ึน ฟังเสี ยงดูก็รู้วานํ้าไหลดี
 ํ ํ               ้ ํ           ํ ้ิ ํ                          ้                ้                 ่
ตรวจคุณภาพนําด้ วยการสํ ารวจชี วตในนํา
                       ้              ิ       ้
       สัตวน้ าตองการออกซิเจนหายใจเช่นเดียวกบสัตวบก และในนํ้าก็มีออกซิ เจนละลายอยูแต่นอยกว่าในอากาศ
             ์ ํ ้                                 ั     ์                                  ่ ้
หลายเท่า สัตว์ส่วนมากชอบอยูในนํ้าสะอาด มีออกซิ เจนสู ง แต่หลายชนิดสามารถปรับตัวให้อยูในที่ที่มี
                                  ่                                                             ่
ออกซิเจนนอยได้ และบางชนิดก็ทนอยไดในที่ที่เกือบไม่มีออกซิเจนเลย ฉะน้ นถาเกิดมลภาวะที่ทาใหออกซิเจน
                 ้                         ู่ ้                                 ั ้               ํ ้
ในน้ าลดลง สัตวที่ตองการออกซิเจนสูงจะอยไม่ได้ ในขณะที่สัตวที่ทนอยไดในภาวะที่ออกซิเจนต่ากวาจะ
     ํ                   ์ ้                    ู่                  ์      ู่ ้                    ํ ่
               ่
สามารถอยูได้อย่างดี เราจึงประเมินระดับมลภาวะในนํ้าได้จากการสังเกตประเภทสัตว์น้ า สัตว์ที่เราใช้วดระดับ
                                                                                         ํ             ั
มลภาวะเรี ยกว่า " สัตวตวบ่งช้ ี "
                             ์ ั
สัตว์น้ าที่เราสํารวจนี้ เป็นสัตวน้ าตวเล็กๆไดแก่ แมลงน้ าและสัตวไม่มีกระดูกสันหลงอื่นๆ พวกมนมก
                     ํ                        ์ ํ ั        ้          ํ         ์                ั             ั ั
เกาะหากินอยูตามพื้นใต้น้ าเฉพะที่ ไม่ค่อยว่ายย้ายถิ่นไกลๆอย่างปลา การสํารวจสัตว์เล็กพวกนี้จึงช่วยให้เรา
                  ่                ํ
สามารถตรวจสอบคุณภาพนํ้าได้อย่างละเอียดแม่นยํา
          นอกจากสัตวน้ า สาหร่ ายหรื อตะไคร่ ในนํ้ายังบอกได้คร่ าวๆถึงปุ๋ ยและสารอินทรี ยที่ถูกปล่อยสู่ ลานํ้า
                          ์ ํ                                                               ์            ํ
อุปกรณ์
  สวิงหรื อกระชอนจับสัตว์น้ า        ํ
  ถาดลึกขนาดใหญ่ หรื อกะละมังสี ขาว
  ถ้วยนํ้าจิ้มพลาสติกสี ขาว 6-10 ใบ
  ช้อนพลาสติก
     ู่ ั
  พกนขนาดเล็ก
        ่
  แวนขยาย
  คู่มือหาชื่อสัตวเ์ ล็กน้ าจืด
                              ํ
วิธีการ
          นักวิทยาศาสตร์ ทวโลกคิดค้นวิธีวดระดับมลภาวะในลํานํ้าด้วยการดูสัตว์เล็กนํ้าจืดต่างๆกันมากมายหลาย
                                ั่             ั
วิธี แต่ละวิธีมีจุดแข็งจุดอ่อนต่างกัน วิธีของนักสื บสายนํ้าเป็ นวิธีที่ใช้ได้ดี แต่ตองใช้นกสื บกลุ่มใหญ่
                                                                                    ้     ั

     กติกาเบืองต้ น้
วิธีตรวจคุณภาพนํ้าของนักสื บสายนํ้ามีขอกําหนดดังนี้
                                           ้
 ใชสัตวตวบ่งช้ ีท้ งหมด 16 กลุ่ม เป็ นสัตว์ที่พบได้ทวไป และสังเกตได้ง่าย สัตว์บ่งชี้แต่ละกลุ่มมีรหัสกลุ่ม A B C
         ้ ์ ั          ั                           ั่
D …จนถึง P
 เก็บสัตว์ 10 ตัวอย่าง ดังนั้นการสํารวจจึงเหมาะสําหรับผูสารวจทีมใหญ่ต้งแต่ 10-20 คนข้ ึนไป ( ผสารวจกลุ่ม
                                                         ้ ํ            ั                         ู้ ํ
เล็กอาจรู้สึกเบื่อที่ไม่มีเพื่อนช่วยเก็บตวอยาง)
                                         ั ่
ข้นตอนการสารวจ
  ั                   ํ
    ข้ นที่ 1 : แบ่งหนาที่
       ั                  ้
          แบ่งผสารวจออกเป็น 5-10 กลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน แยกกันไปเก็บตัวอย่างจากจุดต่างๆในบริ เวณสํารวจ โดย
                 ู้ ํ
ควรเก็บท้ งในพ้ืนที่เป็นแก่งน้ าไหลเป็นระลอก และในที่ที่เป็นแอ่งดวย โดยอาจแบ่งกลุ่มดังนี้
               ั                 ํ                                ้

กลุ่มที่ 1 ไปส่วนที่เป็นโคงลาน้ า
                          ้ ํ ํ

กลุ่มที่ 2 ไปสารวจบริเวณตนน้ า
              ํ          ้ ํ

กลุ่มที่ 3 ไปสํารวจบริ เวณนํ้านิ่ง น้ าไหล
                                      ํ
ข้นที่ 2 : เก็บตวอยาง
         ั                     ั ่
                 ผูสารวจเก็บตัวอย่างดังนี้ (ถ้าแบ่งผูสารวจได้เพียง 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มต้องเก็บ 2 ตวอยาง)
                   ้ ํ                               ้ ํ                                         ั ่
ตกสัตว์ 2-3 กระชอน + เก็บหินเพื่อหาสัตว์ 1-2 ก้อน นํามาเป็ นตัวอย่าง 1 ตวอยาง
   ั                                                                                    ั ่
 ข้ นที่ 3 : สังเกตและบนทึก
       ั                                ั
1. ถ่ายสัตว์ลงถาดใส่ น้ า             ํ
2. สังเกตประเภทสัตว์
3. บันทึกเฉพาะ "สัตวตวบ่งช้ ี" ลงในแบบบนทึก
                                     ์ ั                    ั
4. สารวจใหดีวาไดสังเกตสัตวตวบงช้ ีที่อยในถาดครบหมดแลวหรือไม่ เมื่อบนทึกเรียบร้อยแลว ปล่อยสัตวและ
               ํ           ้ ่ ้            ์ ั ่        ู่                     ้          ั              ้ ์
      ํ ้
นากอนหินไปคืนลาน้ า              ํ ํ
 ข้ นที่ 4 : สรุปผล
           ั
ผูสารวจเอาบันทึกของทุกกลุ่มมารวมกัน นับจํานวนกลุ่มนักสื บที่พบสัตว์ตวบ่งชี้แต่ละกลุ่ม และกาลง " ตาราง
  ้ ํ                                                                                    ั
ประเมินคุณภาพนํ้า"
 ข้นที่ 5 : ประเมินผล
             ั
ประเมินคุณภาพนํ้าโดยพิจารณาจากกราฟ ยิงพบสัตว์ที่ตองการออกซิ เจนสู งมากเท่าไร ยิงแสดงว่านํ้าคุณภาพดี
                                                              ่             ้                       ่
(สะอาด) แต่ถาพบสัตว์ที่ทนภาวะออกซิ เจนตํ่าได้มากเท่าไร ยิงแสดงว่านํ้าคุณภาพไม่ดี (สกปรก)
                             ้                                                ่
                 เพื่อช่วยให้ตีความภาพกราฟง่ายขึ้น เราแบ่งสัตวตวบ่งช้ ีออกเป็นหมวดใหญ่ 4 หมวด ไดแก่
                                                                        ์ ั                             ้
พิจารณาดูวาโดยรวมแล้ ว สั ตว์ ในหมวดใดโดดเด่ นทีสุด คุณภาพนําจะตกอยู่ในเกณฑ์ น้ัน หรือถ้ าความโดดเด่ น
                         ่                                          ่             ้
คาบเกียวระหว่ างสองหมวด แสดงว่ าคุณภาพนําตกอยู่ในเกณฑ์ ระหว่ างนั้น ผูสารวจอาจเปรี ยบเทียบตัวอย่างนํ้า
                    ่                                             ้                          ้ ํ
กับการตีความ
                                                                      ่ ั
                  ความสามารถในการประเมินคุณภาพนํ้าขึ้นอยูกบความรอบคอบในการสัง เกตลักษณะลํานํ้าและ
รายละเอียดของกิจกรรมต่างๆในบริ เวณพื้นที่น้ น ตลอดจนความรู ้ที่สะสมจากประสบการณ์จริ ง เพราะฉะนั้นยิง
                                                                ั                                             ่
ผูสารวจทําการสํารวจหลายครั้ง จะยิงเกิดความชํานาญจนกลายเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญในที่สุด
     ้ ํ                                          ่
และถ้านักสื บตรวจสอบคุณภาพนํ้าอย่างสมํ่าเสมอ

 ผูสารวจจะสามารถเฝ้ าระวังคุณภาพนํ้าได้วา
    ้ ํ                                   ่
 ยังคงสภาพเดิม (กราฟสังคมสัตว์ไม่เปลี่ยนแปลง)
 กําลังฟื้ นตัว (กราฟสังคมสัตว์มีแนวโน้มมาทางซ้ายมากกว่าการสํารวจครั้งก่อน)
 กําลังเสื่ อมลง (กราฟสังคมสัตว์มีแนวโน้มมาทางขวามากกว่าการสํารวจครั้งก่อน)
อุปกรณ์สํารวจลานํา
                                                           ํ ้

  เครื่องมือสํ ารวจกายภาพลํานําและความเร็วกระแสนํา
                              ้                  ้




1.ไม้วดหรื อด้ามไม้ทาเครื่ องหมายทุกๆ 20 เซนติเมตร
      ั             ํ

2.เชือกวดหรือเชือกผกปมทุกๆ 1 เมตร
        ั          ู

3.วัสดุลอยนํ้าสําหรับวัดความเร็ วกระแสนํ้า

4.นาฬิกาจับเวลาได้เป็ นวินาที

   เครื่องมือตรวจลักษณะนํา
                         ้
5.เทอร์โมมิเตอร์

6.ขวดพลาสติกขนาด 1 ลิตร ตดปากขวดออก
                         ั

7.แผนวดความข่นใส
    ่ ั      ุ

8.ถาด/กะละมังสี ขาวสําหรับใส่ สัตว์

    ่
9.แวนขยาย

10.สวิงหรื อกระชอนสําหรับตักสัตว์

11.ถวยน้ าจิ้ม
    ้ ํ

12.ช้อนพลาสติก

    ู่ ั
13.พกนเล็ก

14.ตูดูสัตว์ทาเอง
     ้       ํ

อ้างอิง : http://www.nectec.or.th/schoolnet/library/webcontest2003/100team/dlns058/good/good.html
2. การทําร่ มกระดาษสาทีบ่อสร้ าง
                         ่

         ข้ ันที่ 1 การทาหัวร่มและต้ ุมร่ม ตัดไม้เนื้ออ่อนที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 2-2.5 นิ้วออกเป็นท่อน
                          ํ
ๆ ให้ได้ความยาวพอประมาณ จากนั้นก็เจาะรู ตรงกลางสําหรับใส่ คนร่ มได้พอดี นําท่อนไม้เนื้ออ่อนที่เจาะรู แล้ว
                                                                      ั
นี้ไปกลึงตามแบบที่กาหนด ซ่ ึงอาจจะเป็นแบบยอดแหลม ยอดป้าน มีช้ นหลายช้ น หรืออื่น ๆ เสร้จแลวจึงผาร่อง
                        ํ                                                 ั       ั                  ้ ่
ตามจํานวนซี่ ร่มที่ตองการ
                      ้




    ข้นที่ 2
      ั            การทําซี่ร่ม นาไมไผที่เตรียมไวมาตดออกเป็นทอนหรือปลอง จากนั้นจึงค่อยตัดตามความยาว
                                 ํ ้ ่              ้ ั            ่            ้
ของซี่ ร่มที่ตองการ กล่าวคือ ถ้าเป็ นซี่ ร่มยาวก็ตองตัดให้ได้ความยามเท่าร่ มที่จะทํา จากน้ นใชมีดขดผวไมไผออก
              ้                                   ้                                        ั ้ ู ิ ้ ่
  ้        ํ             ํ                     ้           ํ ่ ้
ใหหมดทาเครื่องหมายสาหรับเจาะรู โดยใชมีดปาดบนลาไผดานบนใหเ้ ป็นแนวเดียวกนโดยตลอด          ั

    เมื่อทาเครื่องหมายแลวจึงผากระบอกไมไผออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กน จากน้ นก็ปาดเน้ือไมออกโดยปาดให้
          ํ              ้ ่            ้ ่                       ั    ั               ้
ทางปลายซี่ มีลกษณะเรี ยวกว่าด้านบน แลวเหลาเน้ือไมใหเ้ รียบเท่ากนและจกหวไมใหเ้ ป็นซี่ ๆ โดยใชมีด ให้
              ั                      ้           ้              ั   ั ั ้                    ้
ความหนาของแต่ละซี กราว 0.2 เซนติเมตร ฉีกไมออกเป็นซี่ จะไดซี่ร่มยาว ควรเหลาใหเ้ รียบเสมอกนทุกชิ้น
                                            ้                 ้                            ั
เมื่อได้ซี่ร่มสั้นใช้วธีเดียวกับการทําซี่ ร่มยาม แต่ใช้ไม้ไผ่ที่ยามครึ่ งหนึ่งของซี่ ร่มยาว และไม่ตองปาดเน้ือไม ้
                          ิ                                                                            ้
ออกเพียงเหลาใหเ้ รียวบางพอที่จะสอดเขาร่องตุมร่มและ รู ตรงซี่ ร่มยาวได้
                                          ้        ้

      ในการเจาะรู ที่ซี่ร่มสั้นและซี่ ร่มยาวนั้นใช้สว่านเจาะ ควรระวงใหแนวรูที่เจาะเสมอกนทุกซี่ไม ้ การ
                                                                   ั ้                       ั
ประกอบส่ วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เริ่ มต้นด้วยการร้อยมัดซี่ ร่มเข้ากับหัวร่ มและตุมร่ ม โดยซี่ ร่มยาวใช้ร้อยประกอบ
                                                                               ้
หัวร่ ม ซี่ ร่มสั้นใช้ร้อยประกอบตุมร่ ม
                                  ้

      วธีการร้อยก็ทาเหมือน ๆ กน คือ ร้อยซี่ ร่มด้วยด้ายดิบให้มีลกษณะเรี ยงกันเป็ นตับ จากนั้นจึงนําหัวร่ มหรื อ
       ิ                 ํ        ั                             ั
ต้มร่ มที่ผาร่ องเตรี ยมไว้แล้วมาหักออก 1 ช่องสําหรับผูกปมเชือก ใส่ ซี่ร่มลงไปในหัวร่ มและตุมร่ มช่องละ 1 ซี่
           ่                                                                                ้
มดดายดิบที่ร้อยใหแน่น แล้วใส่ ต่อจนครบทุกช่อง เสร็ จแล้วดึงปลายด้ายให้ตึงทั้งสองข้าง มัดให้แน่น และตัด
  ั ้                  ้
                                    เชือกใหเ้ หลือปลายขางละ 1.5 เซนติเมตร
                                                       ้

                                         ข้ นตอบประกอบต่อไปเรียกวา การร้ อยดือ ที่ใช้สาหรับร้อยประกอบซี่ร่ม
                                            ั                           ่                 ํ
                                   ยาวที่มดกบหวร่ม และซี่ ร่มสั้นที่มดกับตุมร่ มเข้าด้วยกัน โดยใชเ้ ขมยาวร้อย
                                              ั ั ั                   ั    ้                         ็
                                   ด้ายระหว่างปลายซี่ ร่มสั้นเข้ากับตรงกลางของปลายซี่ ร่มยาว ที่เจาะรูเตรียมไว ้
                                   จนครบทุกซี่ ให้เหลือด้ายแต่ละข้าวยาวประมาณ 7 เซนติเมตร ไว้สาหรับผูก ํ
                                   กับคันชัวคราว การร้อยดือน้ ีถือเป็นกลไกสาคญในการทาใหร่มกางออกและ
                                               ่                             ํ ั            ํ ้
                                   หุ บเข้าได้

                                       การผ่านโค้งร่ม คือ ขั้นตอนการพันเชือกบริ เวณปลายซี่ ร่มยาม โดยนํา
                                               ่
                                   โครงร่ มที่ผานการร้อยดือมาใส่ คนร่ มชัวคราว จากนั้นจึงใสสลักไม้ตรงหัวร่ ม
                                                                  ั      ่
                                   ใหแน่น กางโครงร่ มออกให้ซี่ร่มโค้งลงพอดี ผูปลายด้ายที่เหลือจากการร้อยซี่
                                     ้
ร่ มให้แน่น พยายามจัดช่องว่างระหว่างซี่ ร่มให้เท่ากัน ใชดายพนที่ปลายซี่ยาม พนวนจนครบทุกซี่และพนข้ ึน
                                                        ้ ้ ั               ั                 ั
รอบใหม่จนครบ 3 รอบ




        ข้นที่ 3 การทํากระดาษปิ ดโครงร่ ม นําโครงร่ มที่ผานขั้นตอนการผ่านโค้งร่ มแล้วปั กลงบนหลักไม้ไผ่
            ั                                            ่
เพื่อที่จะหมุนติดกระดาษไดง่าย จากนั้นทานํ้ามันตะโกหรื อนํ้ายามมะค่าลงตรงหลังซี่ ร่มยาวให้ทว ติดกระดาษ
                          ้                                                                ่ั
สาที่ตดเป็ นรู ปวงกลมทาบลงไปบนโครง แล้วทานํ้ามันตะโกหรื อนํ้ายางมค่าให้ชุ่ม ระวังอย่าให้เปี ยกแฉะ
        ั
จนเกินไป วางกระดาษสา (หรื ออาจจะเป็ นกระดาษชนิดอื่นที่เป็ นกระดาษอ่อน ซี่ งที่บ่อสร้างกําลังนิยมใช้
                     ่
กระดาษจีนกัน) อีกแผนหน่ ึงที่ตดเป็นรูปวงกลมเตรียมไวแลวติดทบลงไปอีกช้ นหน่ ึง กระดาษจะติดเป็นเน้ือ
                              ั                       ้ ้        ั       ั
เดียวกน หากกระดาษสา 2 แผนยงหนาไม่พอก็ติดทบลงไปอีกแผนก็ไดโดยใชวธีเดียวกน เมื่อติดกระดาษสาทบ
          ั                 ่ ั                 ั              ่   ้     ้ิ        ั                  ั
กันจนได้ความหนาตามต้องการแล้ว ก็นากระดาษสามาปิ ดทับเส้นด้ายที่พนรอบซี่ ร่มยาวให้เรี ยบร้อยโดยทานํ้า
                                      ํ                              ั
ยางลงไปด้วย จากนั้นจึงค่อยนําไปผึ่งแดดตากลมจนแห้งสนิท
เมื่อกระดาษสาที่ปิดร่ มแห้งสนิทแล้ว ก็ถึงข้ นตอนการหุบร่ ม โดยดึงสลกไมที่สอดไวตรงหวร่มออกแลว
                                                  ั                          ั ้         ้ ั             ้
ค่อย ๆ ลดร่ มลงทีละน้อย ใชมือรีดตรงหลงซี่ร่มทุกซี่และจดกลีบร่มใหพบไปในทางเดียวกน แลวใชห่วงรัดร่ม
                             ้           ั              ั            ้ ั                ั ้ ้
รัดไวใหแน่น ทิ้งไว้สักพักก็กางร่ มออก เพื่อทานํ้ามันตะโกอีกชั้นหนึ่ง แล้วผึ่งแดดให้แห้งและหุ ดเก็บไว้อีกครั้ง
     ้ ้




        ต่อไปเป็นการทานํามันยางหรือทีในปัจจุบันใช้ นํามันบะหมือ โดยกางร่ มออกอีกครั้งแล้วใช้ผาชุบนํ้ามันทา
                        ้            ่                 ้       ้                             ้
จนทวกระดาษปิดร่มท้งดานในและดานนอก ควรระวังไม่ให้น้ ามันที่ทานั้นชุ่มโชกจนเกินไป เพราะจะทําให้พ้ืน
     ั่               ั ้          ้                         ํ
ร่ มไม่สวย เพียงทาให้ซืมทัวกระดาษก็พอ เสร็จแลวนาไปตากแดดทิ้งไวอีก 3 ชวโมง เมื่อตากจนแหงแลวก็หุบ
                           ่                       ้ ํ                ้      ั่                ้ ้
ร่มเพื่อเตรียมใส่คนร่มต่อไป การทานํ้ามันนี้ก็เพื่อให้ร่มสามารถกันนํ้าได้นนเอง
                   ั                                                     ่ั
ข้นที่ 4 การทําคันร่ ม คันร่ มจะมีขนาดยาวกว่าซี่ ร่มยาวเล็กน้อย กล่าวคือเว้นให้ยาวกว่าซี่ ร่มยาวให้มือ
        ั
สามารถจับถือได้พอดี หรื ออาจยาวกว่านั้นอีกสักเล็กน้อยก็ได้ คนร่มส่วนใหญ่ใชไมไผที่มีลาตนขนาดเล็ก หรือ
                                                             ั               ้ ้ ่ ํ ้
อาจใชไมเ้ น้ืออ่อนก็ได้ โดยที่คนร่มน้ ีจะตองเจาะรูสาหรับใส่ลวดสลกเพื่อใชยดซี่ร่มไวดวย ซึ่ งลวดสลักนี้จะต้อง
      ้                          ั        ้        ํ             ั       ้ึ        ้้
   ่
อยูในตําแหน่งระยะที่ตรงกับตุมร่ มเมื่อกางร่ ม
                               ้




    การประกอบร่ มที่ปิดกระดาษทับโครงเรี ยบร้อยแล้ว เริ่มตนโดยถอดคบร่มชวคราวออกแลวใส่คนร่มจริงลง
                                                               ้            ั      ั่        ้     ั
ไปในตําแหน่งเดิม ให้ลวดสลักอยูระยะตรงกับตุมร่ มดังกล่าวไว้แล้ว ใหตุมร่มอยบนสลกคนร่ม ลวดสลกอยใน
                                ่              ้                        ้ ้     ู่      ั ั          ั ู่
               ้             ่
ระยะที่ตรงกับตุมร่ มให้กางอยูโดยไม่เลื่อนหุ บลง เมื่อใส่ คนร่ มแล้วต้องใช้ตะปูตอบที่หวร่ มจนทะลุถึงคันร่ มเพื่อ
                                                          ั                           ั
กนไมใหคนร่มเคลื่อนที่ จากนั้นก็ตดปลายคันร่ มที่โผล่ออกมาทางหัวร่ มให้เรี ยบร้อย อาจกลึงเพื่อเพิ่มความ
 ั ่ ้ ั                          ั
สวยงามก็ได้

      ข้นที่ 5 การปิดหัวร่ม วัสดุที่นามาปิ ดหัวร่ มอาจใช้ใบลาน ใบตาล หรือกระดาษที่หนาสักหน่อย โดย
        ั                             ํ
นํามาตัดให้มีลกษณะเป็ นปลอกไว้ที่หวร่ ม ตดกระดาษสาเป็นริ้วยาวพนรอบหวร่ม 3-4 รอบ ทานํ้ามันตะโกทับ
               ั                    ั    ั                       ั     ั
แลวพนกระดาษสาทบอีกคร้ ัง แลวนาไปตากแดดใหแหง เสร็ จแล้วทานํ้ามันมะเดื่อตรงหัวร่ มเพื่อให้กระดาษสา
    ้ ั             ั         ้ ํ                  ้ ้
     ้ ่
ที่หุมอยูมีความหนา เหนียวทนทาน
ข้นที่ 6
       ั        การเขียนลาย ใช้พกนจุมลงไปในสี น้ ามันแล้วนํามาเขียนลวดลายต่าง ๆ ลงไป ซ่ ึงส่วนใหญ่
                                  ู่ ั ่         ํ
แล้วจะใช้ความสามารถเฉพาะตัวบวกกับความชํานาญ เขียนลายกันสด ๆ ไมต้องร่ างหรื อดูแบบเลย ร่ มกระดาษ
สาในสมัยก่อนนิยมทาสี แดงและสี ดา ไม่มีการเขียนลายอย่างปั จจุบน ที่มีท้งลายดอกไม้ ทิวทัศน์ต่าง ๆ สัตว์ต่าง
                                ํ                            ั        ั
ๆ อย่างนก มังกร ฯลฯ




     เมื่อสาเร็จทุกข้ นตอนดงที่ไดกล่าวมาแลวน้ ีก็เป็นอนเสร็จ วิธีการทําร่ มกระดาษสาบ่อสร้างที่ดูไปดูมากี่ตลบ
           ํ          ั     ั    ้        ้           ั
ก็ยงคงมองเห็นความยากเย็น แสนเขญซ่อนอยู่ ไดเ้ ห็นข้ นตอนวธีทาแลวรู้สึกเห็นใจคนทาจริง ๆ ยังว่าการทําร่ ม
   ั                               ็                    ั    ิ ํ ้                   ํ
กระดาษสาบ่อสร้างทุกวันนี้ไม่ได้เป็ นการทํางานเบ็ดเสร็ จเหมือน แต่ก่อน กล่าวคือ ชาวบ้านบ่อสร้างมีหน้าที่
ประกอบแต่ละส่วนเขาดวยกนใหเ้ ป็นร่มเท่าน้ น เพราะอุปกรณ์แทบทุกชิ้นสั่งทําสั้งซื้อจากที่อื่น ดังได้ทราบกัน
                        ้ ้ ั               ั
ไปแลวในตอนอื่น ๆ จนมีคนรุ่ นเก่า ๆ ของบ่อสร้างปรารภว่า แต่ก่อนต้องทําเองหมดทุกอย่าง คนรุ่นใหม่ ๆ ทา
     ้                                                                                            ํ
โครงร่ มกันแทบไม่เป็ น คนดอยสะเก็ดก็จะทาเป็นแต่โครงร่มอยางอื่นก็ทาไม่ไดเ้ หมือนกน
                                        ํ                ่        ํ             ั




  อ้างอิง : http://www.edutoday.in.th/upload-files/0002560/html/97a424ed3d/1.html

  3. วิธีการทําสบู่
                  วธีการทาสบ่ ู มีอยู่ 2 วธีคือ
                   ิ     ํ                ิ
        วธีที่ 1 ใช้น้ าด่างสําเร็ จรู ปในท้องตลาด หากสามารถหาซื้ อนํ้าด่าง สําเร็ จรู ปได้ง่ายในท้องตลาด
         ิ             ํ
         วธีที่ 2 ใช้น้ าด่างจากการชะล้างขี้เถ้า วิธีน้ ีได้แบบอย่างมาจากผูอพยพไปตั้งถิ่นฐานในทวีปอเมริ กา
          ิ             ํ                                                  ้
เหนือรุ่นแรกๆ
ส่ วนผสมของสบู่
        1. ไขมน และน้ ามน อาจเป็นไขมนสัตวหรือน้ ามนพืชก็ได้ แต่น้ ามนจากแร่ธาตุใชไมได้ ไขมนสัตว์
                ั       ํ ั           ั      ์      ํ ั           ํ ั            ้ ่        ั
เช่น ไขวว กระบือ น้ ามนหมู ฯลฯ ไขมน พืช เช่น น้ ามนมะพร้าว น้ ามนมะกอก ขาวโพด เมล็ดฝ้าย ถวเหลือง ถว
        ั           ํ ั           ั             ํ ั           ํ ั       ้                ั่       ั่
ลิสง และนํ้ามันละหุ่ง ฯลฯ
       2. นํ้าด่าง นํ้าด่างสําเร็ จรู ปที่ขายในท้องตลาดเรี ยกว่า โซดาไฟ หรื อผลึกโซดา หรื อผลึกโซเดียมไฮดร
อกไซด์ ราคาถูกมีขายทัวไป หรื อนํ้า ด่างที่ได้จากการชะล้างขี้เถ้าเรี ยกว่า โพแทช
                        ่
       3. บอแร็ กซ์ สารบอแร็ กซ์น้ ีไม่จาเป็ นต้องใช้กได้ แต่สารนี้ช่วยให้ สบูมีสีสันสวยงามและทําให้เกิด
                                        ํ             ็                       ่
ฟองมาก มีจาหน่ายตามร้านขายยา หรื อร้านขายของชํา มีชื่อเรี ยกว่า ผงกรอบ หรื อผงนิ่ม ส่ วนใหญ่บรรจุในถุง
          ํ
พลาสติก
      4. นํ้าหอม นํ้าหอมก็ไม่จาเป็ นต้องใช้เช่นกัน แต่ถาใช้จะทําให้สบู่ มีกลิ่นดีข้ ึน ถ้าไขมันที่ใช้ทาสบู่น้ น
                              ํ                        ้                                              ํ       ั
เหมนอบ ใชน้ ามะนาวหรือน้ ามะกรูดผสม จะช่วยใหกลิ่นหอมยงข้ ึนและไม่เน่า
   ็ ั ้ ํ               ํ                       ้          ่ิ
5. นํ้า นํ้าที่ใช้ทาสบู่ได้ดีตองเป็ นนํ้าอ่อน ถ้าเป็ นนํ้ากระด้างจะทํา ให้สบู่ไม่เกิดฟอง จึงขจัดความ
                           ํ          ้
สกปรกไม่ได้ ควรทําให้น้ านั้นหายกระด้าง เสี ยก่อน โดยเติมด่างประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ (15 มิลลิลิตร) ต่อน้ า
                             ํ                                                                               ํ
กระด้าง 1 แกลลอน (3.8 ลิตร) คนให้เข้ากัน ปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 3-4 วน จึงเท เอาส่วนบนออกมา ส่วนน้ า
                                                                                ั                              ํ
และตะกอนที่กนภาชนะเททิ้งไปได้ นํ้าที่เหมาะ ในการทําสบู่มากที่สุดคือนํ้าฝน
               ้
การทําสบู่จากนําด่ างสํ าเร็จรูปในท้ องตลาด
               ้
       อุปกรณ์
                 - ถวย ถงหรือหมอที่ทาดวยเหล็กหรือหมอดินก็ได้ แต่ อยาใชหมออะลูมิเนียม เพราะด่างจะกด
                    ้ ั        ้ ํ ้               ้               ่ ้ ้                         ั
                 - ถวยตวงที่ทาดวยแกวหรือกระเบ้ืองเคลือบ
                    ้        ํ ้ ้
                 - ช้อนกระเบื้องเคลือบหรื อช้อนไม้ และใบพายหรื อกิ่งไม้ ขนาดเล็กสําหรับคน
              - แบบพิมพ์สบู่อาจจะทําด้วยแผ่นไม้หรื อกระดาษแข็งก็ ได้ ขนาดของแบบพิมพ์จะใช้กว้าง
หรือยาวตามตอง การ แต่ส่วนลึกควรจะเป็น 2-3 นิ้ว ดีที่สุด
           ้
                   - ผ้าฝ้ ายหรื อกระดาษมันสําหรับรองรับสบู่ในแบบพิมพ์ โดยตัดผ้าหรื อกระดาษออกเป็ น 2
ชิ้น ชิ้นหนึ่งกว้าง กว่าเล็กน้อย อีกชิ้นหนึ่งยาวกว่าแบบเล็กน้อย ใช้ สําหรับช่วยยกสบู่ออกจากแบบพิมพ์ง่ายขึ้น
อัตราส่ วนของส่ วนผสมทีใช้ ในการทําสบู่ได้ ประมาณ 4 กิโลกรัม
                       ่
                    นํ้ามันหรื อไขแข็งสะอาด                 3 ลิตร หรือ 2.75 กก.
                    บอแร็ กซ์                               57 มิลลิลิตร (1/4 ถวย)
                                                                               ้
                    ผลึกโซดาหรื อนํ้าด่าง                   370 กรัม
                    น้ า
                       ํ                                    1.2 ลิตร
                    นํ้าหอม (เลือกกลิ่นตามต้องการ)          1-4 ช้อนชา
ข้นตอนในการทาสบู่
  ั         ํ
            1. เตรี ยม ไขมัน ถ้าไขมันไม่สะอาด ควรทําให้สะอาดเสี ยก่อน โดยเอาไปต้มกับนํ้าในปริ มาณที่เท่ากัน
ในกาต้มนํ้า เมื่อเดือดแล้วเทส่ วน ผสมผ่านผ้าบาง ๆ หรื อตะแกรงสําหรับกรองลงในภาชนะที่เตรี ยมไว้ แล้วเติม
นํ้าเย็นลงไป 1 ส่วนต่อส่วนผสม 4 ส่วน ปล่อยทิ้งไวใหเ้ ยนโดยไม่ ตองคน ถาจะใหสะอาดยงข้ ึนควรใส่มน
                                                     ้ ็            ้      ้     ้       ิ่            ั
เทศที่หนเป็นแวนลงไปก่อน ที่จะตมส่วนผสม
         ั่         ่                ้
          2. เตรี ยมนํ้าด่างผสม ทําได้โดย ตวงนํ้าตามปริ มาณที่ตองการ แล้วค่อย ๆ เติมด่าง (ผลึก โซดา) ที่จะใช้
                                                               ้
ลงไปในนํ้า ไม่ควรเติมนํ้าลงไปในด่าง เพราะจะเกิดความร้อน และกระเด็นทําให้เปรอะเปื้ อนได้ แล้วปล่อยให้
นํ้าด่างผสมนี้เย็นลงจนปกติ
          3. ค่อย ๆ เติมนํ้าด่างผสมนี้ลงไปในไขมันที่ละลายแล้วในข้อ 1 ขณะที่เติมนี้ตองคนส่ วนผสมทั้งหมด
                                                                                      ้
นี้อย่างช้า ๆ และสมํ่าเสมอในทิศทาง เดียวกัน จนกว่าส่ วนผสมจะข้นตามปกติ ใช้เวลาประมาณ 30 นาที ช่วงน้ ี
เติมนํ้าหอมที่เตรี ยมไว้ลงไปได้ หลังจากนั้นปล่อยไว้ 15-20 นาที จึงค่อย คนหนึ่งครั้ง ทิ้งไว้ 2-3 ชัวโมง เมื่อ
                                                                                                  ่
ส่วนผสมเหนียวดีแลวจึงเทลงในแบบ พิมพ์ ซ่ ึงมีผาหรือกระดาษมนรองอยู่
                      ้                          ้          ั
         4. หาฝาครอบแบบพิมพ์ แล้วทิ้งไว้ประมาณ 2 วัน ไม่ควรมีการ เคลื่อนย้ายหรื อถูกกระทบกระเทือน
สบู่จะยึดกันแน่นสามารถเอาออกจาก แบบพิมพ์ได้
        5. เมื่อ สบู่แขงตวดีแลว นาออกจากแบบพิมพ์ แลวใชเ้ ส้นลวดหรือ เส้นเชือกตดสบู่ออกเป็นชิ้น ๆ ตาม
                       ็ ั    ้ ํ                     ้                         ั
ขนาดที่ตองการ แล้วนําไปวางเรี ยงไว้ให้ อยูในลักษณะที่ลมพัดผ่านได้ทวถึงในบริ เวณที่อุ่นและแห้ง ปล่อยไว้
        ้                                 ่                       ่ั
2-4 สัปดาห์ ก็นาไปใช้ได้
                  ํ
การทดสอบว่ าสบู่จะดีหรือไม่
          - สบู่ที่ดีควรจะแข็ง สี ขาว สะอาด กลิ่นดีและไม่มีรส สามารถขูด เนื้อสบู่ออกเป็ นแผ่นโค้ง ๆ ได้
       - ไม่มนหรือลื่นจนเกินไป เมื่อใชลิ้นแตะดูไม่หยาบหรือสาก
             ั                        ้
การปรับปรุงสบู่ให้ ดีขึน
                       ้
         ถาสบู่ที่ผานข้ นตอนตามเวลาที่ทาทุกช่วงแลว แต่ยงมีส่วนผสมบาง ส่วนไม่แขงตวหรือแยกกนอยู่
           ้       ่ ั                 ํ          ้    ั                      ็ ั        ั
หรื อไม่ดีเพราะสาเหตุใดก็ตาม อาจแก้ไขให้ดี ขึ้นดังนี้
               - ตดสบู่ออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ลงในหมอที่มีน้ าบรรจุอยู่ 2.8 ลิตร พร้อมท้งเทส่วนที่เป็น
                    ั                             ้        ํ                          ั
                  ่
ของเหลวที่เหลืออยูในแบบพิมพ์ลงไปด้วย
                   - นําไปต้มนานประมาณ10 นาที อาจเติมนํ้ามะนาวหรื อนํ้ามัน อื่น ๆ ที่มีกลิ่นหอมลงไปใน
ส่ วนผสมประมาณ 2 ช้อนชา (ถายงไม่ไดเ้ ติม)ต่อจากนั้นจึงเทส่ วนผสมลงในแบบพิมพ์ใหม่อีกครั้งหนึ่ง ปล่อย
                                 ้ ั
ไว ้ 2 อัน แล้วดําเนินการตามที่กล่าวมาแล้ว

การทําสบู่จากนําด่ างทีได้ จากขีเ้ ถ้ า
               ้       ่
          เริ่ มต้นด้วยการทํานํ้าด่างขึ้นเองจากขี้เถ้า
อุปกรณ์
          1. เครื่ องมือสําหรับการชะล้างนํ้าด่าง ประกอบด้วยก้อนหิ น ขนาดย่อม ๆ หลายก้อน
                   - แผนหินราบมีร่องน้ าใหไหลได้
                       ่               ํ ้
                   - ถังไม้ขนาดจุ 19 ลิตร มีรูเล็ก ๆ หลายรู ติดอยูกนถัง
                                                                  ่ ้
                   - ภาชนะรองนํ้าด่าง ไม่ควรใช้ภาชนะที่ทาด้วยอะลูมิเนียม เพราะนํ้าด่างจะกัด
                                                        ํ
                   - กิ่งไม้เล็ก ๆ และฟาง
             - ข้ ีเถา 19 ลิตร ซึ่ งได้จากการเผาไหม้ทุกชนิด ขี้เถ้าจาก ไม้เนื้อแข็งจะใช้ทานํ้าด่างได้ดีที่สุด
                     ้                                                                   ํ
สําหรับชนบทแถบ ชายทะเล ขี้เถ้าจากการเผาสาหร่ ายทะเลใช้ได้ดีมาก เพราะมีธาตุโซเดียมทําให้สบู่แข็งตัวได้ดี
- นํ้าอ่อนปริ มาณ 7.6 ลิตร
         2. วิธีการชะล้ างขีเ้ ถ้ าทํานําด่ าง
                                        ้
              - ตั้งอุปกรณ์ดงแสดงในรู ป โดยที่กนของถังทําเป็ นที่กรอง ขี้เถ้า ใช้กิ่งไม้ไข้วกัน 2 ก่ิง เรียง
                            ั                  ้
เป็นแถว แลวเอาฟางวางลงบนกิ่ง
          ้
                 - ใส่ ข้ ีเถาลงในถง แลวเทน้ าอุนลงในถงเพื่อใหข้ ีเถาเปียก และเหนียว เกลี่ยใหเ้ กิดหลุมตรง
                             ้     ั ้ ํ ่            ั          ้ ้
กลาง แล้วค่อย ๆ เทนํ้าส่ วนที่เหลือลงใน หลุมนั้น ปล่อยให้น้ าซึ มแล้วเติมนํ้าอีก นํ้าด่างสี น้ าตาลจะไหลลงสู่
                                                            ํ                                  ํ
ส่ วนล่าง ของถัง นานประมาณ 1 ชม. นํ้าด่างที่ได้จะมีปริ มาณ 1.8 ลิตร ถ้านํ้าด่างที่ มีความเข้มข้นดีแล้ว
ทดสอบได้โดยเอาไข่ไก่หรื อมันฝรั่งใส่ ลงไป ไข่หรื อมัน จะลอยได้ หรื อถ้าจุ่มขนไก่ลงไป นํ้าด่างจะเกาะติดแต่
     ั
ไม่กดขนไก่ให้หลุด ถ้านํ้าด่างอ่อนไป ควรเทกลับคืนถังอีกครั้ง หรื อเคี่ยวให้ขนด้วยการต้ม
                                                                              ้
                   - ส่วนการทาสบ่ในข้ นต่อไปน้ นดาเนินการเช่นเดียวกนกบ วธีแรก
                             ํ ู ั             ั ํ                 ั ั ิ
ข้ อควรระวังในการใช้ นําด่ าง
                       ้
นํ้า ด่างนี้เป็ นพิษเพราะกัดผิวหนังและทําให้เกิดแผลร้ายแรงได้ ฉะนั้น ไม่ควรให้ถูกผิวหนัง ถ้าถูกต้องรี บล้าง
ทันทีดวยนํ้าเปล่า แล้วล้างด้วย นํ้าส้มอีกครั้งหนึ่ง
         ้
ถ้ ากลืนนําด่ างลงไป ให้ รีบดื่มนําส้ ม นํามะนาวหรือมะกรูดตามลงไป ให้ มาก ๆ แล้วรีบไปพบแพทย์ ดังนั้นควร
          ้                       ้       ้
เกบนําด่างให้พ้นมือเด็ก
    ็ ้
การทดสอบว่ าสบู่จะดีหรือไม่
          - สบู่ที่ดีควรจะแข็ง สี ขาว สะอาด กลิ่นดีและไม่มีรส สามารถขูด เนื้อสบู่ออกเป็ นแผ่นโค้ง ๆ ได้
        - ไม่มนหรือลื่นจนเกินไป เมื่อใชลิ้นแตะดูไม่หยาบหรือสาก
                ั                      ้
การปรับปรุ งสบู่ให้ ดีขึน
                        ้
         ถา สบู่ที่ผานข้ นตอนตามเวลาที่ทาทุกช่วงแลว แต่ยงมีส่วนผสมบาง ส่วนไม่แขงตวหรือแยกกนอยู่
           ้        ่ ั                 ํ          ้    ั                      ็ ั        ั
หรื อไม่ดีเพราะสาเหตุใดก็ตาม อาจแก้ไขให้ดี ขึ้นดังนี้
               - ตดสบู่ออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ลงในหมอที่มีน้ าบรรจุอยู่ 2.8 ลิตร พร้อมท้ งเทส่วนที่เป็น
                    ั                             ้        ํ                           ั
                  ่
ของเหลวที่เหลืออยูในแบบพิมพ์ลงไปด้วย
                   - นําไปต้มนานประมาณ10 นาที อาจเติมนํ้ามะนาวหรื อนํ้ามัน อื่น ๆ ที่มีกลิ่นหอมลงไปใน
ส่ วนผสมประมาณ 2 ช้อนชา (ถายงไม่ไดเ้ ติม)ต่อจากนั้นจึงเทส่ วนผสมลงในแบบพิมพ์ใหม่อีกครั้งหนึ่ง ปล่อย
                                 ้ ั
ไว ้ 2 อัน แล้วดําเนินการตามที่กล่าวมาแล้ว
การทําสบู่จากนําด่ างทีได้ จากขีเ้ ถ้ า
               ้       ่
         เริ่ มต้นด้วยการทํานํ้าด่างขึ้นเองจากขี้เถ้า
อุปกรณ์
          1. เครื่ องมือสําหรับการชะล้างนํ้าด่าง ประกอบด้วยก้อนหิ น ขนาดย่อม ๆ หลายก้อน
                   - แผนหินราบมีร่องน้ าใหไหลได้
                       ่               ํ ้
                   - ถังไม้ขนาดจุ 19 ลิตร มีรูเล็ก ๆ หลายรู ติดอยูกนถัง
                                                                  ่ ้
                   - ภาชนะรองนํ้าด่าง ไม่ควรใช้ภาชนะที่ทาด้วยอะลูมิเนียม เพราะนํ้าด่างจะกัด
                                                        ํ
                   - กิ่งไม้เล็ก ๆ และฟาง
             - ข้ ีเถา 19 ลิตร ซึ่ งได้จากการเผาไหม้ทุกชนิด ขี้เถ้าจาก ไม้เนื้อแข็งจะใช้ทานํ้าด่างได้ดีที่สุด
                     ้                                                                   ํ
สําหรับชนบทแถบ ชายทะเล ขี้เถ้าจากการเผาสาหร่ ายทะเลใช้ได้ดีมาก เพราะมีธาตุโซเดียมทําให้สบู่แข็งตัวได้ดี
                   - นํ้าอ่อนปริ มาณ 7.6 ลิตร
          2. วิธีการชะล้างขี้เถ้าทํานํ้าด่าง
              - ตั้งอุปกรณ์ดงแสดงในรู ป โดยที่กนของถังทําเป็ นที่กรอง ขี้เถ้า ใช้กิ่งไม้ไข้วกัน 2 กิ่ง เรียง
                            ั                  ้
เป็นแถว แลวเอาฟางวางลงบนกิ่ง
          ้
                 - ใส่ ข้ ีเถาลงในถง แลวเทน้ าอุ่นลงในถงเพื่อใหข้ ีเถาเปียก และเหนียว เกลี่ยใหเ้ กิดหลุมตรง
                             ้     ั ้ ํ               ั         ้ ้
กลาง แล้วค่อย ๆ เทนํ้าส่ วนที่เหลือลงใน หลุมนั้น ปล่อยให้น้ าซึ มแล้วเติมนํ้าอีก นํ้าด่างสี น้ าตาลจะไหลลงสู่
                                                             ํ                                 ํ
ส่ วนล่าง ของถัง นานประมาณ 1 ชม. นํ้าด่างที่ได้จะมีปริ มาณ 1.8 ลิตร ถ้านํ้าด่างที่ มีความเข้มข้นดีแล้ว
ทดสอบได้โดยเอาไข่ไก่หรื อมันฝรั่งใส่ ลงไป ไข่หรื อมัน จะลอยได้ หรื อถ้าจุ่มขนไก่ลงไป นํ้าด่างจะเกาะติดแต่
     ั
ไม่กดขนไก่ให้หลุด ถ้านํ้าด่างอ่อนไป ควรเทกลับคืนถังอีกครั้ง หรื อเคี่ยวให้ขนด้วยการต้ม
                                                                              ้
                   - ส่วนการทาสบในข้นตอไปน้ นดาเนินการเช่นเดียวกนกบ วธีแรก
                             ํ ู่ ั ่       ั ํ                 ั ั ิ
ข้ อควรระวังในการใช้ นําด่ าง
                       ้
นํ้า ด่างนี้เป็ นพิษเพราะกัดผิวหนังและทําให้เกิดแผลร้ายแรงได้ ฉะนั้น ไม่ควรให้ถูกผิวหนัง ถ้าถูกต้องรี บล้าง
ทันทีดวยนํ้าเปล่า แล้วล้างด้วย นํ้าส้มอีกครั้งหนึ่ง
         ้
ถ้ ากลืนนําด่ างลงไป ให้ รีบดื่มนําส้ ม นํามะนาวหรือมะกรูดตามลงไป ให้ มาก ๆ แล้วรีบไปพบแพทย์ ดังนั้นควร
          ้                       ้       ้
เกบนําด่างให้พ้นมือเด็ก
    ็ ้

อ้างอิง : http://www.dek-d.com/board/view.php?id=603522



                                                                      น.ส.จุฬาทิพย์ แสงบุญ เลขที่ 30
                                                                      น.ส.ณิ นทิรา ตันตยานุสรณ์ เลขที่ 19
                                                                      น.ส.สุ ลกขณา แสงอรุ ณ เลขที่ 23
                                                                              ั
                                                                                      ม.6/14

More Related Content

Viewers also liked

ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
Jar 'zzJuratip
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
Jar 'zzJuratip
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่  5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่  5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
Jar 'zzJuratip
 
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
Jar 'zzJuratip
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
Juratip Sangboon
 
ข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่น
ข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่นข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่น
ข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่น
KuNg Pw
 
ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79
ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79
ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79
Korrakot Intanon
 

Viewers also liked (18)

ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
 
ใบงานท 3
ใบงานท   3ใบงานท   3
ใบงานท 3
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่  5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่  5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ไทย 50
ไทย 50ไทย 50
ไทย 50
 
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
 
วิทย์ 50
วิทย์ 50วิทย์ 50
วิทย์ 50
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
สังคม 50
สังคม 50สังคม 50
สังคม 50
 
อังกฤษ 50
อังกฤษ 50อังกฤษ 50
อังกฤษ 50
 
คณิต 50
คณิต 50คณิต 50
คณิต 50
 
Pat7.3
Pat7.3Pat7.3
Pat7.3
 
Pat7.1
Pat7.1Pat7.1
Pat7.1
 
Pat7.3
Pat7.3Pat7.3
Pat7.3
 
ข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่น
ข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่นข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่น
ข้อสอบ ภาษาญี่ปุ่น
 
ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79
ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79
ความถนัดทางภาษาญี่ปุ่น (PAT 7.3) รหัสวิชา 79
 
Blog
BlogBlog
Blog
 

Similar to ใบงานที่ 11

โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
krupornpana55
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
Jiraporn
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
Poramate Minsiri
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdf
ssuser09955f
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Jira Boonjira
 
การปรับตัว
การปรับตัวการปรับตัว
การปรับตัว
Dizz Love T
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
พัน พัน
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
Aungkana Na Na
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
อาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1
Cat Capturer
 

Similar to ใบงานที่ 11 (20)

Airdetectiveshandbook
AirdetectiveshandbookAirdetectiveshandbook
Airdetectiveshandbook
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Mold remediation-after-flood
Mold remediation-after-floodMold remediation-after-flood
Mold remediation-after-flood
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdf
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdf
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
การปรับตัว
การปรับตัวการปรับตัว
การปรับตัว
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
K10
K10K10
K10
 
K10
K10K10
K10
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1
 

ใบงานที่ 11

  • 1. ใบงานที่ 11 เรื่อง กําหนดและลําดับขั้นตอนการปฏิบัติ -------------------------------------------------------------- 1. การสํ ารวจสภาพนําทีคูเมือง ้ ่ สํารวจลกษณะของนํา ประสาทสัมผัสของตัวเราเองเป็ นเครื่ องมือแสนวิเศษ เราสามารถใช้ตา ใช้จมูก ั ้ หรือแมแต่หู ตรวจลกษณะของน้ า ซึ่ งเป็ นวิธีที่ง่ายที่สุดและให้ขอสังเกตเบื้องต้นเกี่ยวกับคุณภาพนํ้าได้ดี ้ ั ํ ้ อุปกรณ์ ้ ขวดพลาสติกใสกนแบนขนาด 1 ลิตร ตดปากขวดออก ั แผนวดความข่นใส ่ ั ุ เทอร์โมมิเตอร์วดอุณหภูมิ ั สี ํ ํ ู่ ํ โดยธรรมชาติน้ าไม่มีสี สีที่เห็นในน้ าคือสีของสิ่งที่เจือปนอยในน้ า วิธีการ 1. ตักนํ้าใส่ ขวดพลาสติกขนาด 1 ลิตร และบนทึกสีที่เห็นจากขางขวด ไม่ควรบันทึกสี ดวยการมองดูน้ าจากฝั่ง ั ้ ้ ํ เพราะอาจเป็นสีจากพ้ืนใตน้ าหรือตวแปรอื่น ้ ํ ั 2. ในกรณี ที่น้ าเน่าดําส่ งกลิ่นเหม็นชัดเจน ไม่ตองตักนํ้าขึ้นมาดู บันทึกสี ที่เห็นจากฝั่งนํ้า ํ ้ กลิ่น เราได้กลิ่นต่างๆเมื่อไอของสสารนั้นลอยแพร่ กระจายออกมากระทบประมาทจมูกของเรา น้ าไม่มีกลิ่นโดย ํ ่ ธรรมชาติ กลิ่นของนํ้าจึงเป็ นสัญญาณบอกว่ามีสิ่งเจือปนอยูในนํ้า
  • 2. วิธีการ ตักนํ้าขึ้นมาดม ลงความเห็นกันในกลุ่มว่ากลิ่นเป็ นอย่างไร ( ถ้านํ้าเหม็นมากจนได้กลิ่นจากริ มฝั่ง ไม่ตองตก ้ ั ขึ้นมา ) ความขุนใส ่ แสงแดดจะสามารถส่ องลงสู่ ใต้น้ าได้ลึกหรื อตื้นเพียงใดนั้น ขึ้นอยูกบความขุ่นใสของนํ้า ส่ งผลโดยตรงต่อ ํ ่ ั ชีวตพืชและสัตวตามพ้ืนใตน้ า น้ าจะข่นใสแค่ไหนน้ นข้ ึนอยกบปริมาณสารแขวนลอยในน้ า เช่น ตะกอนดิน ิ ์ ้ ํ ํ ุ ั ู่ ั ํ และแพลงก์ตอนสาหร่ าย ตะกอนดินนอกจากจะทําให้น้ าขุ่นแล้ว ยังไปอุดรู ซอกหลืบตามพื้นนํ้าที่สัตว์ชอบอาศัย ํ ู่ ้ อยดวย วิธีการ 1. วางแผนวดความข่นใสไวที่กนขวดพลาสติกดานใน ่ ั ุ ้ ้ ้ 2. ตักนํ้าจากลําธารใส่ จนเต็มขวด 3. วางขวดไว้เฉยๆ ในร่ มเงา รอให้น้ านิ่ง ํ 4. เมื่อนํ้านิ่งก้มดูจากปากขวด และบันทึกหมายเลขสี จางที่สุดที่มองเห็นบนแผ่นวัดความขุ่นใส อุณหภูมิ นํ้ายิงร้อน ออกซิ เจนยิงละลายได้นอย สัตว์น้ าจึงหลบพักในนํ้าเย็นใต้ร่มเงาต้นไม้ได้สบายกว่าผืนนํ้ากลาง ่ ่ ้ ํ แดดร้อน และถ้ามีการปล่อยนํ้าร้อนลงนํ้า เช่น นํ้าเสี ยจากโรงงานอุตสาหกรรม ออกซิ เจนในนํ้าจะลดลง วิธีการ 1. ใช้ขวดพลาสติกตักนํ้ากลางลําธาร แลวนาข้ ึนมาบนฝ่ัง ้ ํ 2. จุ่มเทอร์ โมมิเตอร์ ลงไปประมาณ 20 วนาที บันทึกอุณหภูมิน้ า ิ ํ ความเร็ วของกระแสนํ้า ยิงนํ้าไหลเร็ วเท่าไร ออกซิ เจนยิงถ่ายเทในนํ้าได้มาก ดูวธีการวัดความเร็ วกระแสนํ้า จาก การสํารวจกายภาพ ่ ่ ิ ลาน้ า พ้ืนใตน้ าที่มีกรวดมาก ทาใหผวน้ าแตกกระเซ็น ช่วยใหออกซิเจนถ่ายเทไดดีข้ ึน ฟังเสี ยงดูก็รู้วานํ้าไหลดี ํ ํ ้ ํ ํ ้ิ ํ ้ ้ ่ ตรวจคุณภาพนําด้ วยการสํ ารวจชี วตในนํา ้ ิ ้ สัตวน้ าตองการออกซิเจนหายใจเช่นเดียวกบสัตวบก และในนํ้าก็มีออกซิ เจนละลายอยูแต่นอยกว่าในอากาศ ์ ํ ้ ั ์ ่ ้ หลายเท่า สัตว์ส่วนมากชอบอยูในนํ้าสะอาด มีออกซิ เจนสู ง แต่หลายชนิดสามารถปรับตัวให้อยูในที่ที่มี ่ ่ ออกซิเจนนอยได้ และบางชนิดก็ทนอยไดในที่ที่เกือบไม่มีออกซิเจนเลย ฉะน้ นถาเกิดมลภาวะที่ทาใหออกซิเจน ้ ู่ ้ ั ้ ํ ้ ในน้ าลดลง สัตวที่ตองการออกซิเจนสูงจะอยไม่ได้ ในขณะที่สัตวที่ทนอยไดในภาวะที่ออกซิเจนต่ากวาจะ ํ ์ ้ ู่ ์ ู่ ้ ํ ่ ่ สามารถอยูได้อย่างดี เราจึงประเมินระดับมลภาวะในนํ้าได้จากการสังเกตประเภทสัตว์น้ า สัตว์ที่เราใช้วดระดับ ํ ั มลภาวะเรี ยกว่า " สัตวตวบ่งช้ ี " ์ ั
  • 3. สัตว์น้ าที่เราสํารวจนี้ เป็นสัตวน้ าตวเล็กๆไดแก่ แมลงน้ าและสัตวไม่มีกระดูกสันหลงอื่นๆ พวกมนมก ํ ์ ํ ั ้ ํ ์ ั ั ั เกาะหากินอยูตามพื้นใต้น้ าเฉพะที่ ไม่ค่อยว่ายย้ายถิ่นไกลๆอย่างปลา การสํารวจสัตว์เล็กพวกนี้จึงช่วยให้เรา ่ ํ สามารถตรวจสอบคุณภาพนํ้าได้อย่างละเอียดแม่นยํา นอกจากสัตวน้ า สาหร่ ายหรื อตะไคร่ ในนํ้ายังบอกได้คร่ าวๆถึงปุ๋ ยและสารอินทรี ยที่ถูกปล่อยสู่ ลานํ้า ์ ํ ์ ํ อุปกรณ์ สวิงหรื อกระชอนจับสัตว์น้ า ํ ถาดลึกขนาดใหญ่ หรื อกะละมังสี ขาว ถ้วยนํ้าจิ้มพลาสติกสี ขาว 6-10 ใบ ช้อนพลาสติก ู่ ั พกนขนาดเล็ก ่ แวนขยาย คู่มือหาชื่อสัตวเ์ ล็กน้ าจืด ํ วิธีการ นักวิทยาศาสตร์ ทวโลกคิดค้นวิธีวดระดับมลภาวะในลํานํ้าด้วยการดูสัตว์เล็กนํ้าจืดต่างๆกันมากมายหลาย ั่ ั วิธี แต่ละวิธีมีจุดแข็งจุดอ่อนต่างกัน วิธีของนักสื บสายนํ้าเป็ นวิธีที่ใช้ได้ดี แต่ตองใช้นกสื บกลุ่มใหญ่ ้ ั กติกาเบืองต้ น้ วิธีตรวจคุณภาพนํ้าของนักสื บสายนํ้ามีขอกําหนดดังนี้ ้ ใชสัตวตวบ่งช้ ีท้ งหมด 16 กลุ่ม เป็ นสัตว์ที่พบได้ทวไป และสังเกตได้ง่าย สัตว์บ่งชี้แต่ละกลุ่มมีรหัสกลุ่ม A B C ้ ์ ั ั ั่ D …จนถึง P เก็บสัตว์ 10 ตัวอย่าง ดังนั้นการสํารวจจึงเหมาะสําหรับผูสารวจทีมใหญ่ต้งแต่ 10-20 คนข้ ึนไป ( ผสารวจกลุ่ม ้ ํ ั ู้ ํ เล็กอาจรู้สึกเบื่อที่ไม่มีเพื่อนช่วยเก็บตวอยาง) ั ่ ข้นตอนการสารวจ ั ํ ข้ นที่ 1 : แบ่งหนาที่ ั ้ แบ่งผสารวจออกเป็น 5-10 กลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน แยกกันไปเก็บตัวอย่างจากจุดต่างๆในบริ เวณสํารวจ โดย ู้ ํ ควรเก็บท้ งในพ้ืนที่เป็นแก่งน้ าไหลเป็นระลอก และในที่ที่เป็นแอ่งดวย โดยอาจแบ่งกลุ่มดังนี้ ั ํ ้ กลุ่มที่ 1 ไปส่วนที่เป็นโคงลาน้ า ้ ํ ํ กลุ่มที่ 2 ไปสารวจบริเวณตนน้ า ํ ้ ํ กลุ่มที่ 3 ไปสํารวจบริ เวณนํ้านิ่ง น้ าไหล ํ
  • 4. ข้นที่ 2 : เก็บตวอยาง ั ั ่ ผูสารวจเก็บตัวอย่างดังนี้ (ถ้าแบ่งผูสารวจได้เพียง 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มต้องเก็บ 2 ตวอยาง) ้ ํ ้ ํ ั ่ ตกสัตว์ 2-3 กระชอน + เก็บหินเพื่อหาสัตว์ 1-2 ก้อน นํามาเป็ นตัวอย่าง 1 ตวอยาง ั ั ่ ข้ นที่ 3 : สังเกตและบนทึก ั ั 1. ถ่ายสัตว์ลงถาดใส่ น้ า ํ 2. สังเกตประเภทสัตว์ 3. บันทึกเฉพาะ "สัตวตวบ่งช้ ี" ลงในแบบบนทึก ์ ั ั 4. สารวจใหดีวาไดสังเกตสัตวตวบงช้ ีที่อยในถาดครบหมดแลวหรือไม่ เมื่อบนทึกเรียบร้อยแลว ปล่อยสัตวและ ํ ้ ่ ้ ์ ั ่ ู่ ้ ั ้ ์ ํ ้ นากอนหินไปคืนลาน้ า ํ ํ ข้ นที่ 4 : สรุปผล ั ผูสารวจเอาบันทึกของทุกกลุ่มมารวมกัน นับจํานวนกลุ่มนักสื บที่พบสัตว์ตวบ่งชี้แต่ละกลุ่ม และกาลง " ตาราง ้ ํ ั ประเมินคุณภาพนํ้า" ข้นที่ 5 : ประเมินผล ั ประเมินคุณภาพนํ้าโดยพิจารณาจากกราฟ ยิงพบสัตว์ที่ตองการออกซิ เจนสู งมากเท่าไร ยิงแสดงว่านํ้าคุณภาพดี ่ ้ ่ (สะอาด) แต่ถาพบสัตว์ที่ทนภาวะออกซิ เจนตํ่าได้มากเท่าไร ยิงแสดงว่านํ้าคุณภาพไม่ดี (สกปรก) ้ ่ เพื่อช่วยให้ตีความภาพกราฟง่ายขึ้น เราแบ่งสัตวตวบ่งช้ ีออกเป็นหมวดใหญ่ 4 หมวด ไดแก่ ์ ั ้ พิจารณาดูวาโดยรวมแล้ ว สั ตว์ ในหมวดใดโดดเด่ นทีสุด คุณภาพนําจะตกอยู่ในเกณฑ์ น้ัน หรือถ้ าความโดดเด่ น ่ ่ ้ คาบเกียวระหว่ างสองหมวด แสดงว่ าคุณภาพนําตกอยู่ในเกณฑ์ ระหว่ างนั้น ผูสารวจอาจเปรี ยบเทียบตัวอย่างนํ้า ่ ้ ้ ํ กับการตีความ ่ ั ความสามารถในการประเมินคุณภาพนํ้าขึ้นอยูกบความรอบคอบในการสัง เกตลักษณะลํานํ้าและ รายละเอียดของกิจกรรมต่างๆในบริ เวณพื้นที่น้ น ตลอดจนความรู ้ที่สะสมจากประสบการณ์จริ ง เพราะฉะนั้นยิง ั ่ ผูสารวจทําการสํารวจหลายครั้ง จะยิงเกิดความชํานาญจนกลายเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญในที่สุด ้ ํ ่ และถ้านักสื บตรวจสอบคุณภาพนํ้าอย่างสมํ่าเสมอ ผูสารวจจะสามารถเฝ้ าระวังคุณภาพนํ้าได้วา ้ ํ ่ ยังคงสภาพเดิม (กราฟสังคมสัตว์ไม่เปลี่ยนแปลง) กําลังฟื้ นตัว (กราฟสังคมสัตว์มีแนวโน้มมาทางซ้ายมากกว่าการสํารวจครั้งก่อน) กําลังเสื่ อมลง (กราฟสังคมสัตว์มีแนวโน้มมาทางขวามากกว่าการสํารวจครั้งก่อน)
  • 5. อุปกรณ์สํารวจลานํา ํ ้ เครื่องมือสํ ารวจกายภาพลํานําและความเร็วกระแสนํา ้ ้ 1.ไม้วดหรื อด้ามไม้ทาเครื่ องหมายทุกๆ 20 เซนติเมตร ั ํ 2.เชือกวดหรือเชือกผกปมทุกๆ 1 เมตร ั ู 3.วัสดุลอยนํ้าสําหรับวัดความเร็ วกระแสนํ้า 4.นาฬิกาจับเวลาได้เป็ นวินาที เครื่องมือตรวจลักษณะนํา ้
  • 6. 5.เทอร์โมมิเตอร์ 6.ขวดพลาสติกขนาด 1 ลิตร ตดปากขวดออก ั 7.แผนวดความข่นใส ่ ั ุ 8.ถาด/กะละมังสี ขาวสําหรับใส่ สัตว์ ่ 9.แวนขยาย 10.สวิงหรื อกระชอนสําหรับตักสัตว์ 11.ถวยน้ าจิ้ม ้ ํ 12.ช้อนพลาสติก ู่ ั 13.พกนเล็ก 14.ตูดูสัตว์ทาเอง ้ ํ อ้างอิง : http://www.nectec.or.th/schoolnet/library/webcontest2003/100team/dlns058/good/good.html
  • 7. 2. การทําร่ มกระดาษสาทีบ่อสร้ าง ่ ข้ ันที่ 1 การทาหัวร่มและต้ ุมร่ม ตัดไม้เนื้ออ่อนที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 2-2.5 นิ้วออกเป็นท่อน ํ ๆ ให้ได้ความยาวพอประมาณ จากนั้นก็เจาะรู ตรงกลางสําหรับใส่ คนร่ มได้พอดี นําท่อนไม้เนื้ออ่อนที่เจาะรู แล้ว ั นี้ไปกลึงตามแบบที่กาหนด ซ่ ึงอาจจะเป็นแบบยอดแหลม ยอดป้าน มีช้ นหลายช้ น หรืออื่น ๆ เสร้จแลวจึงผาร่อง ํ ั ั ้ ่ ตามจํานวนซี่ ร่มที่ตองการ ้ ข้นที่ 2 ั การทําซี่ร่ม นาไมไผที่เตรียมไวมาตดออกเป็นทอนหรือปลอง จากนั้นจึงค่อยตัดตามความยาว ํ ้ ่ ้ ั ่ ้ ของซี่ ร่มที่ตองการ กล่าวคือ ถ้าเป็ นซี่ ร่มยาวก็ตองตัดให้ได้ความยามเท่าร่ มที่จะทํา จากน้ นใชมีดขดผวไมไผออก ้ ้ ั ้ ู ิ ้ ่ ้ ํ ํ ้ ํ ่ ้ ใหหมดทาเครื่องหมายสาหรับเจาะรู โดยใชมีดปาดบนลาไผดานบนใหเ้ ป็นแนวเดียวกนโดยตลอด ั เมื่อทาเครื่องหมายแลวจึงผากระบอกไมไผออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กน จากน้ นก็ปาดเน้ือไมออกโดยปาดให้ ํ ้ ่ ้ ่ ั ั ้ ทางปลายซี่ มีลกษณะเรี ยวกว่าด้านบน แลวเหลาเน้ือไมใหเ้ รียบเท่ากนและจกหวไมใหเ้ ป็นซี่ ๆ โดยใชมีด ให้ ั ้ ้ ั ั ั ้ ้ ความหนาของแต่ละซี กราว 0.2 เซนติเมตร ฉีกไมออกเป็นซี่ จะไดซี่ร่มยาว ควรเหลาใหเ้ รียบเสมอกนทุกชิ้น ้ ้ ั
  • 8. เมื่อได้ซี่ร่มสั้นใช้วธีเดียวกับการทําซี่ ร่มยาม แต่ใช้ไม้ไผ่ที่ยามครึ่ งหนึ่งของซี่ ร่มยาว และไม่ตองปาดเน้ือไม ้ ิ ้ ออกเพียงเหลาใหเ้ รียวบางพอที่จะสอดเขาร่องตุมร่มและ รู ตรงซี่ ร่มยาวได้ ้ ้ ในการเจาะรู ที่ซี่ร่มสั้นและซี่ ร่มยาวนั้นใช้สว่านเจาะ ควรระวงใหแนวรูที่เจาะเสมอกนทุกซี่ไม ้ การ ั ้ ั ประกอบส่ วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เริ่ มต้นด้วยการร้อยมัดซี่ ร่มเข้ากับหัวร่ มและตุมร่ ม โดยซี่ ร่มยาวใช้ร้อยประกอบ ้ หัวร่ ม ซี่ ร่มสั้นใช้ร้อยประกอบตุมร่ ม ้ วธีการร้อยก็ทาเหมือน ๆ กน คือ ร้อยซี่ ร่มด้วยด้ายดิบให้มีลกษณะเรี ยงกันเป็ นตับ จากนั้นจึงนําหัวร่ มหรื อ ิ ํ ั ั ต้มร่ มที่ผาร่ องเตรี ยมไว้แล้วมาหักออก 1 ช่องสําหรับผูกปมเชือก ใส่ ซี่ร่มลงไปในหัวร่ มและตุมร่ มช่องละ 1 ซี่ ่ ้ มดดายดิบที่ร้อยใหแน่น แล้วใส่ ต่อจนครบทุกช่อง เสร็ จแล้วดึงปลายด้ายให้ตึงทั้งสองข้าง มัดให้แน่น และตัด ั ้ ้ เชือกใหเ้ หลือปลายขางละ 1.5 เซนติเมตร ้ ข้ นตอบประกอบต่อไปเรียกวา การร้ อยดือ ที่ใช้สาหรับร้อยประกอบซี่ร่ม ั ่ ํ ยาวที่มดกบหวร่ม และซี่ ร่มสั้นที่มดกับตุมร่ มเข้าด้วยกัน โดยใชเ้ ขมยาวร้อย ั ั ั ั ้ ็ ด้ายระหว่างปลายซี่ ร่มสั้นเข้ากับตรงกลางของปลายซี่ ร่มยาว ที่เจาะรูเตรียมไว ้ จนครบทุกซี่ ให้เหลือด้ายแต่ละข้าวยาวประมาณ 7 เซนติเมตร ไว้สาหรับผูก ํ กับคันชัวคราว การร้อยดือน้ ีถือเป็นกลไกสาคญในการทาใหร่มกางออกและ ่ ํ ั ํ ้ หุ บเข้าได้ การผ่านโค้งร่ม คือ ขั้นตอนการพันเชือกบริ เวณปลายซี่ ร่มยาม โดยนํา ่ โครงร่ มที่ผานการร้อยดือมาใส่ คนร่ มชัวคราว จากนั้นจึงใสสลักไม้ตรงหัวร่ ม ั ่ ใหแน่น กางโครงร่ มออกให้ซี่ร่มโค้งลงพอดี ผูปลายด้ายที่เหลือจากการร้อยซี่ ้
  • 9. ร่ มให้แน่น พยายามจัดช่องว่างระหว่างซี่ ร่มให้เท่ากัน ใชดายพนที่ปลายซี่ยาม พนวนจนครบทุกซี่และพนข้ ึน ้ ้ ั ั ั รอบใหม่จนครบ 3 รอบ ข้นที่ 3 การทํากระดาษปิ ดโครงร่ ม นําโครงร่ มที่ผานขั้นตอนการผ่านโค้งร่ มแล้วปั กลงบนหลักไม้ไผ่ ั ่ เพื่อที่จะหมุนติดกระดาษไดง่าย จากนั้นทานํ้ามันตะโกหรื อนํ้ายามมะค่าลงตรงหลังซี่ ร่มยาวให้ทว ติดกระดาษ ้ ่ั สาที่ตดเป็ นรู ปวงกลมทาบลงไปบนโครง แล้วทานํ้ามันตะโกหรื อนํ้ายางมค่าให้ชุ่ม ระวังอย่าให้เปี ยกแฉะ ั จนเกินไป วางกระดาษสา (หรื ออาจจะเป็ นกระดาษชนิดอื่นที่เป็ นกระดาษอ่อน ซี่ งที่บ่อสร้างกําลังนิยมใช้ ่ กระดาษจีนกัน) อีกแผนหน่ ึงที่ตดเป็นรูปวงกลมเตรียมไวแลวติดทบลงไปอีกช้ นหน่ ึง กระดาษจะติดเป็นเน้ือ ั ้ ้ ั ั เดียวกน หากกระดาษสา 2 แผนยงหนาไม่พอก็ติดทบลงไปอีกแผนก็ไดโดยใชวธีเดียวกน เมื่อติดกระดาษสาทบ ั ่ ั ั ่ ้ ้ิ ั ั กันจนได้ความหนาตามต้องการแล้ว ก็นากระดาษสามาปิ ดทับเส้นด้ายที่พนรอบซี่ ร่มยาวให้เรี ยบร้อยโดยทานํ้า ํ ั ยางลงไปด้วย จากนั้นจึงค่อยนําไปผึ่งแดดตากลมจนแห้งสนิท
  • 10. เมื่อกระดาษสาที่ปิดร่ มแห้งสนิทแล้ว ก็ถึงข้ นตอนการหุบร่ ม โดยดึงสลกไมที่สอดไวตรงหวร่มออกแลว ั ั ้ ้ ั ้ ค่อย ๆ ลดร่ มลงทีละน้อย ใชมือรีดตรงหลงซี่ร่มทุกซี่และจดกลีบร่มใหพบไปในทางเดียวกน แลวใชห่วงรัดร่ม ้ ั ั ้ ั ั ้ ้ รัดไวใหแน่น ทิ้งไว้สักพักก็กางร่ มออก เพื่อทานํ้ามันตะโกอีกชั้นหนึ่ง แล้วผึ่งแดดให้แห้งและหุ ดเก็บไว้อีกครั้ง ้ ้ ต่อไปเป็นการทานํามันยางหรือทีในปัจจุบันใช้ นํามันบะหมือ โดยกางร่ มออกอีกครั้งแล้วใช้ผาชุบนํ้ามันทา ้ ่ ้ ้ ้ จนทวกระดาษปิดร่มท้งดานในและดานนอก ควรระวังไม่ให้น้ ามันที่ทานั้นชุ่มโชกจนเกินไป เพราะจะทําให้พ้ืน ั่ ั ้ ้ ํ ร่ มไม่สวย เพียงทาให้ซืมทัวกระดาษก็พอ เสร็จแลวนาไปตากแดดทิ้งไวอีก 3 ชวโมง เมื่อตากจนแหงแลวก็หุบ ่ ้ ํ ้ ั่ ้ ้ ร่มเพื่อเตรียมใส่คนร่มต่อไป การทานํ้ามันนี้ก็เพื่อให้ร่มสามารถกันนํ้าได้นนเอง ั ่ั
  • 11. ข้นที่ 4 การทําคันร่ ม คันร่ มจะมีขนาดยาวกว่าซี่ ร่มยาวเล็กน้อย กล่าวคือเว้นให้ยาวกว่าซี่ ร่มยาวให้มือ ั สามารถจับถือได้พอดี หรื ออาจยาวกว่านั้นอีกสักเล็กน้อยก็ได้ คนร่มส่วนใหญ่ใชไมไผที่มีลาตนขนาดเล็ก หรือ ั ้ ้ ่ ํ ้ อาจใชไมเ้ น้ืออ่อนก็ได้ โดยที่คนร่มน้ ีจะตองเจาะรูสาหรับใส่ลวดสลกเพื่อใชยดซี่ร่มไวดวย ซึ่ งลวดสลักนี้จะต้อง ้ ั ้ ํ ั ้ึ ้้ ่ อยูในตําแหน่งระยะที่ตรงกับตุมร่ มเมื่อกางร่ ม ้ การประกอบร่ มที่ปิดกระดาษทับโครงเรี ยบร้อยแล้ว เริ่มตนโดยถอดคบร่มชวคราวออกแลวใส่คนร่มจริงลง ้ ั ั่ ้ ั ไปในตําแหน่งเดิม ให้ลวดสลักอยูระยะตรงกับตุมร่ มดังกล่าวไว้แล้ว ใหตุมร่มอยบนสลกคนร่ม ลวดสลกอยใน ่ ้ ้ ้ ู่ ั ั ั ู่ ้ ่ ระยะที่ตรงกับตุมร่ มให้กางอยูโดยไม่เลื่อนหุ บลง เมื่อใส่ คนร่ มแล้วต้องใช้ตะปูตอบที่หวร่ มจนทะลุถึงคันร่ มเพื่อ ั ั กนไมใหคนร่มเคลื่อนที่ จากนั้นก็ตดปลายคันร่ มที่โผล่ออกมาทางหัวร่ มให้เรี ยบร้อย อาจกลึงเพื่อเพิ่มความ ั ่ ้ ั ั สวยงามก็ได้ ข้นที่ 5 การปิดหัวร่ม วัสดุที่นามาปิ ดหัวร่ มอาจใช้ใบลาน ใบตาล หรือกระดาษที่หนาสักหน่อย โดย ั ํ นํามาตัดให้มีลกษณะเป็ นปลอกไว้ที่หวร่ ม ตดกระดาษสาเป็นริ้วยาวพนรอบหวร่ม 3-4 รอบ ทานํ้ามันตะโกทับ ั ั ั ั ั แลวพนกระดาษสาทบอีกคร้ ัง แลวนาไปตากแดดใหแหง เสร็ จแล้วทานํ้ามันมะเดื่อตรงหัวร่ มเพื่อให้กระดาษสา ้ ั ั ้ ํ ้ ้ ้ ่ ที่หุมอยูมีความหนา เหนียวทนทาน
  • 12. ข้นที่ 6 ั การเขียนลาย ใช้พกนจุมลงไปในสี น้ ามันแล้วนํามาเขียนลวดลายต่าง ๆ ลงไป ซ่ ึงส่วนใหญ่ ู่ ั ่ ํ แล้วจะใช้ความสามารถเฉพาะตัวบวกกับความชํานาญ เขียนลายกันสด ๆ ไมต้องร่ างหรื อดูแบบเลย ร่ มกระดาษ สาในสมัยก่อนนิยมทาสี แดงและสี ดา ไม่มีการเขียนลายอย่างปั จจุบน ที่มีท้งลายดอกไม้ ทิวทัศน์ต่าง ๆ สัตว์ต่าง ํ ั ั ๆ อย่างนก มังกร ฯลฯ เมื่อสาเร็จทุกข้ นตอนดงที่ไดกล่าวมาแลวน้ ีก็เป็นอนเสร็จ วิธีการทําร่ มกระดาษสาบ่อสร้างที่ดูไปดูมากี่ตลบ ํ ั ั ้ ้ ั ก็ยงคงมองเห็นความยากเย็น แสนเขญซ่อนอยู่ ไดเ้ ห็นข้ นตอนวธีทาแลวรู้สึกเห็นใจคนทาจริง ๆ ยังว่าการทําร่ ม ั ็ ั ิ ํ ้ ํ กระดาษสาบ่อสร้างทุกวันนี้ไม่ได้เป็ นการทํางานเบ็ดเสร็ จเหมือน แต่ก่อน กล่าวคือ ชาวบ้านบ่อสร้างมีหน้าที่ ประกอบแต่ละส่วนเขาดวยกนใหเ้ ป็นร่มเท่าน้ น เพราะอุปกรณ์แทบทุกชิ้นสั่งทําสั้งซื้อจากที่อื่น ดังได้ทราบกัน ้ ้ ั ั
  • 13. ไปแลวในตอนอื่น ๆ จนมีคนรุ่ นเก่า ๆ ของบ่อสร้างปรารภว่า แต่ก่อนต้องทําเองหมดทุกอย่าง คนรุ่นใหม่ ๆ ทา ้ ํ โครงร่ มกันแทบไม่เป็ น คนดอยสะเก็ดก็จะทาเป็นแต่โครงร่มอยางอื่นก็ทาไม่ไดเ้ หมือนกน ํ ่ ํ ั อ้างอิง : http://www.edutoday.in.th/upload-files/0002560/html/97a424ed3d/1.html 3. วิธีการทําสบู่ วธีการทาสบ่ ู มีอยู่ 2 วธีคือ ิ ํ ิ วธีที่ 1 ใช้น้ าด่างสําเร็ จรู ปในท้องตลาด หากสามารถหาซื้ อนํ้าด่าง สําเร็ จรู ปได้ง่ายในท้องตลาด ิ ํ วธีที่ 2 ใช้น้ าด่างจากการชะล้างขี้เถ้า วิธีน้ ีได้แบบอย่างมาจากผูอพยพไปตั้งถิ่นฐานในทวีปอเมริ กา ิ ํ ้ เหนือรุ่นแรกๆ ส่ วนผสมของสบู่ 1. ไขมน และน้ ามน อาจเป็นไขมนสัตวหรือน้ ามนพืชก็ได้ แต่น้ ามนจากแร่ธาตุใชไมได้ ไขมนสัตว์ ั ํ ั ั ์ ํ ั ํ ั ้ ่ ั เช่น ไขวว กระบือ น้ ามนหมู ฯลฯ ไขมน พืช เช่น น้ ามนมะพร้าว น้ ามนมะกอก ขาวโพด เมล็ดฝ้าย ถวเหลือง ถว ั ํ ั ั ํ ั ํ ั ้ ั่ ั่ ลิสง และนํ้ามันละหุ่ง ฯลฯ 2. นํ้าด่าง นํ้าด่างสําเร็ จรู ปที่ขายในท้องตลาดเรี ยกว่า โซดาไฟ หรื อผลึกโซดา หรื อผลึกโซเดียมไฮดร อกไซด์ ราคาถูกมีขายทัวไป หรื อนํ้า ด่างที่ได้จากการชะล้างขี้เถ้าเรี ยกว่า โพแทช ่ 3. บอแร็ กซ์ สารบอแร็ กซ์น้ ีไม่จาเป็ นต้องใช้กได้ แต่สารนี้ช่วยให้ สบูมีสีสันสวยงามและทําให้เกิด ํ ็ ่ ฟองมาก มีจาหน่ายตามร้านขายยา หรื อร้านขายของชํา มีชื่อเรี ยกว่า ผงกรอบ หรื อผงนิ่ม ส่ วนใหญ่บรรจุในถุง ํ พลาสติก 4. นํ้าหอม นํ้าหอมก็ไม่จาเป็ นต้องใช้เช่นกัน แต่ถาใช้จะทําให้สบู่ มีกลิ่นดีข้ ึน ถ้าไขมันที่ใช้ทาสบู่น้ น ํ ้ ํ ั เหมนอบ ใชน้ ามะนาวหรือน้ ามะกรูดผสม จะช่วยใหกลิ่นหอมยงข้ ึนและไม่เน่า ็ ั ้ ํ ํ ้ ่ิ
  • 14. 5. นํ้า นํ้าที่ใช้ทาสบู่ได้ดีตองเป็ นนํ้าอ่อน ถ้าเป็ นนํ้ากระด้างจะทํา ให้สบู่ไม่เกิดฟอง จึงขจัดความ ํ ้ สกปรกไม่ได้ ควรทําให้น้ านั้นหายกระด้าง เสี ยก่อน โดยเติมด่างประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ (15 มิลลิลิตร) ต่อน้ า ํ ํ กระด้าง 1 แกลลอน (3.8 ลิตร) คนให้เข้ากัน ปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 3-4 วน จึงเท เอาส่วนบนออกมา ส่วนน้ า ั ํ และตะกอนที่กนภาชนะเททิ้งไปได้ นํ้าที่เหมาะ ในการทําสบู่มากที่สุดคือนํ้าฝน ้ การทําสบู่จากนําด่ างสํ าเร็จรูปในท้ องตลาด ้ อุปกรณ์ - ถวย ถงหรือหมอที่ทาดวยเหล็กหรือหมอดินก็ได้ แต่ อยาใชหมออะลูมิเนียม เพราะด่างจะกด ้ ั ้ ํ ้ ้ ่ ้ ้ ั - ถวยตวงที่ทาดวยแกวหรือกระเบ้ืองเคลือบ ้ ํ ้ ้ - ช้อนกระเบื้องเคลือบหรื อช้อนไม้ และใบพายหรื อกิ่งไม้ ขนาดเล็กสําหรับคน - แบบพิมพ์สบู่อาจจะทําด้วยแผ่นไม้หรื อกระดาษแข็งก็ ได้ ขนาดของแบบพิมพ์จะใช้กว้าง หรือยาวตามตอง การ แต่ส่วนลึกควรจะเป็น 2-3 นิ้ว ดีที่สุด ้ - ผ้าฝ้ ายหรื อกระดาษมันสําหรับรองรับสบู่ในแบบพิมพ์ โดยตัดผ้าหรื อกระดาษออกเป็ น 2 ชิ้น ชิ้นหนึ่งกว้าง กว่าเล็กน้อย อีกชิ้นหนึ่งยาวกว่าแบบเล็กน้อย ใช้ สําหรับช่วยยกสบู่ออกจากแบบพิมพ์ง่ายขึ้น อัตราส่ วนของส่ วนผสมทีใช้ ในการทําสบู่ได้ ประมาณ 4 กิโลกรัม ่ นํ้ามันหรื อไขแข็งสะอาด 3 ลิตร หรือ 2.75 กก. บอแร็ กซ์ 57 มิลลิลิตร (1/4 ถวย) ้ ผลึกโซดาหรื อนํ้าด่าง 370 กรัม น้ า ํ 1.2 ลิตร นํ้าหอม (เลือกกลิ่นตามต้องการ) 1-4 ช้อนชา ข้นตอนในการทาสบู่ ั ํ 1. เตรี ยม ไขมัน ถ้าไขมันไม่สะอาด ควรทําให้สะอาดเสี ยก่อน โดยเอาไปต้มกับนํ้าในปริ มาณที่เท่ากัน ในกาต้มนํ้า เมื่อเดือดแล้วเทส่ วน ผสมผ่านผ้าบาง ๆ หรื อตะแกรงสําหรับกรองลงในภาชนะที่เตรี ยมไว้ แล้วเติม นํ้าเย็นลงไป 1 ส่วนต่อส่วนผสม 4 ส่วน ปล่อยทิ้งไวใหเ้ ยนโดยไม่ ตองคน ถาจะใหสะอาดยงข้ ึนควรใส่มน ้ ็ ้ ้ ้ ิ่ ั เทศที่หนเป็นแวนลงไปก่อน ที่จะตมส่วนผสม ั่ ่ ้ 2. เตรี ยมนํ้าด่างผสม ทําได้โดย ตวงนํ้าตามปริ มาณที่ตองการ แล้วค่อย ๆ เติมด่าง (ผลึก โซดา) ที่จะใช้ ้ ลงไปในนํ้า ไม่ควรเติมนํ้าลงไปในด่าง เพราะจะเกิดความร้อน และกระเด็นทําให้เปรอะเปื้ อนได้ แล้วปล่อยให้ นํ้าด่างผสมนี้เย็นลงจนปกติ 3. ค่อย ๆ เติมนํ้าด่างผสมนี้ลงไปในไขมันที่ละลายแล้วในข้อ 1 ขณะที่เติมนี้ตองคนส่ วนผสมทั้งหมด ้ นี้อย่างช้า ๆ และสมํ่าเสมอในทิศทาง เดียวกัน จนกว่าส่ วนผสมจะข้นตามปกติ ใช้เวลาประมาณ 30 นาที ช่วงน้ ี
  • 15. เติมนํ้าหอมที่เตรี ยมไว้ลงไปได้ หลังจากนั้นปล่อยไว้ 15-20 นาที จึงค่อย คนหนึ่งครั้ง ทิ้งไว้ 2-3 ชัวโมง เมื่อ ่ ส่วนผสมเหนียวดีแลวจึงเทลงในแบบ พิมพ์ ซ่ ึงมีผาหรือกระดาษมนรองอยู่ ้ ้ ั 4. หาฝาครอบแบบพิมพ์ แล้วทิ้งไว้ประมาณ 2 วัน ไม่ควรมีการ เคลื่อนย้ายหรื อถูกกระทบกระเทือน สบู่จะยึดกันแน่นสามารถเอาออกจาก แบบพิมพ์ได้ 5. เมื่อ สบู่แขงตวดีแลว นาออกจากแบบพิมพ์ แลวใชเ้ ส้นลวดหรือ เส้นเชือกตดสบู่ออกเป็นชิ้น ๆ ตาม ็ ั ้ ํ ้ ั ขนาดที่ตองการ แล้วนําไปวางเรี ยงไว้ให้ อยูในลักษณะที่ลมพัดผ่านได้ทวถึงในบริ เวณที่อุ่นและแห้ง ปล่อยไว้ ้ ่ ่ั 2-4 สัปดาห์ ก็นาไปใช้ได้ ํ การทดสอบว่ าสบู่จะดีหรือไม่ - สบู่ที่ดีควรจะแข็ง สี ขาว สะอาด กลิ่นดีและไม่มีรส สามารถขูด เนื้อสบู่ออกเป็ นแผ่นโค้ง ๆ ได้ - ไม่มนหรือลื่นจนเกินไป เมื่อใชลิ้นแตะดูไม่หยาบหรือสาก ั ้ การปรับปรุงสบู่ให้ ดีขึน ้ ถาสบู่ที่ผานข้ นตอนตามเวลาที่ทาทุกช่วงแลว แต่ยงมีส่วนผสมบาง ส่วนไม่แขงตวหรือแยกกนอยู่ ้ ่ ั ํ ้ ั ็ ั ั หรื อไม่ดีเพราะสาเหตุใดก็ตาม อาจแก้ไขให้ดี ขึ้นดังนี้ - ตดสบู่ออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ลงในหมอที่มีน้ าบรรจุอยู่ 2.8 ลิตร พร้อมท้งเทส่วนที่เป็น ั ้ ํ ั ่ ของเหลวที่เหลืออยูในแบบพิมพ์ลงไปด้วย - นําไปต้มนานประมาณ10 นาที อาจเติมนํ้ามะนาวหรื อนํ้ามัน อื่น ๆ ที่มีกลิ่นหอมลงไปใน ส่ วนผสมประมาณ 2 ช้อนชา (ถายงไม่ไดเ้ ติม)ต่อจากนั้นจึงเทส่ วนผสมลงในแบบพิมพ์ใหม่อีกครั้งหนึ่ง ปล่อย ้ ั ไว ้ 2 อัน แล้วดําเนินการตามที่กล่าวมาแล้ว การทําสบู่จากนําด่ างทีได้ จากขีเ้ ถ้ า ้ ่ เริ่ มต้นด้วยการทํานํ้าด่างขึ้นเองจากขี้เถ้า อุปกรณ์ 1. เครื่ องมือสําหรับการชะล้างนํ้าด่าง ประกอบด้วยก้อนหิ น ขนาดย่อม ๆ หลายก้อน - แผนหินราบมีร่องน้ าใหไหลได้ ่ ํ ้ - ถังไม้ขนาดจุ 19 ลิตร มีรูเล็ก ๆ หลายรู ติดอยูกนถัง ่ ้ - ภาชนะรองนํ้าด่าง ไม่ควรใช้ภาชนะที่ทาด้วยอะลูมิเนียม เพราะนํ้าด่างจะกัด ํ - กิ่งไม้เล็ก ๆ และฟาง - ข้ ีเถา 19 ลิตร ซึ่ งได้จากการเผาไหม้ทุกชนิด ขี้เถ้าจาก ไม้เนื้อแข็งจะใช้ทานํ้าด่างได้ดีที่สุด ้ ํ สําหรับชนบทแถบ ชายทะเล ขี้เถ้าจากการเผาสาหร่ ายทะเลใช้ได้ดีมาก เพราะมีธาตุโซเดียมทําให้สบู่แข็งตัวได้ดี
  • 16. - นํ้าอ่อนปริ มาณ 7.6 ลิตร 2. วิธีการชะล้ างขีเ้ ถ้ าทํานําด่ าง ้ - ตั้งอุปกรณ์ดงแสดงในรู ป โดยที่กนของถังทําเป็ นที่กรอง ขี้เถ้า ใช้กิ่งไม้ไข้วกัน 2 ก่ิง เรียง ั ้ เป็นแถว แลวเอาฟางวางลงบนกิ่ง ้ - ใส่ ข้ ีเถาลงในถง แลวเทน้ าอุนลงในถงเพื่อใหข้ ีเถาเปียก และเหนียว เกลี่ยใหเ้ กิดหลุมตรง ้ ั ้ ํ ่ ั ้ ้ กลาง แล้วค่อย ๆ เทนํ้าส่ วนที่เหลือลงใน หลุมนั้น ปล่อยให้น้ าซึ มแล้วเติมนํ้าอีก นํ้าด่างสี น้ าตาลจะไหลลงสู่ ํ ํ ส่ วนล่าง ของถัง นานประมาณ 1 ชม. นํ้าด่างที่ได้จะมีปริ มาณ 1.8 ลิตร ถ้านํ้าด่างที่ มีความเข้มข้นดีแล้ว ทดสอบได้โดยเอาไข่ไก่หรื อมันฝรั่งใส่ ลงไป ไข่หรื อมัน จะลอยได้ หรื อถ้าจุ่มขนไก่ลงไป นํ้าด่างจะเกาะติดแต่ ั ไม่กดขนไก่ให้หลุด ถ้านํ้าด่างอ่อนไป ควรเทกลับคืนถังอีกครั้ง หรื อเคี่ยวให้ขนด้วยการต้ม ้ - ส่วนการทาสบ่ในข้ นต่อไปน้ นดาเนินการเช่นเดียวกนกบ วธีแรก ํ ู ั ั ํ ั ั ิ ข้ อควรระวังในการใช้ นําด่ าง ้ นํ้า ด่างนี้เป็ นพิษเพราะกัดผิวหนังและทําให้เกิดแผลร้ายแรงได้ ฉะนั้น ไม่ควรให้ถูกผิวหนัง ถ้าถูกต้องรี บล้าง ทันทีดวยนํ้าเปล่า แล้วล้างด้วย นํ้าส้มอีกครั้งหนึ่ง ้ ถ้ ากลืนนําด่ างลงไป ให้ รีบดื่มนําส้ ม นํามะนาวหรือมะกรูดตามลงไป ให้ มาก ๆ แล้วรีบไปพบแพทย์ ดังนั้นควร ้ ้ ้ เกบนําด่างให้พ้นมือเด็ก ็ ้ การทดสอบว่ าสบู่จะดีหรือไม่ - สบู่ที่ดีควรจะแข็ง สี ขาว สะอาด กลิ่นดีและไม่มีรส สามารถขูด เนื้อสบู่ออกเป็ นแผ่นโค้ง ๆ ได้ - ไม่มนหรือลื่นจนเกินไป เมื่อใชลิ้นแตะดูไม่หยาบหรือสาก ั ้ การปรับปรุ งสบู่ให้ ดีขึน ้ ถา สบู่ที่ผานข้ นตอนตามเวลาที่ทาทุกช่วงแลว แต่ยงมีส่วนผสมบาง ส่วนไม่แขงตวหรือแยกกนอยู่ ้ ่ ั ํ ้ ั ็ ั ั หรื อไม่ดีเพราะสาเหตุใดก็ตาม อาจแก้ไขให้ดี ขึ้นดังนี้ - ตดสบู่ออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ลงในหมอที่มีน้ าบรรจุอยู่ 2.8 ลิตร พร้อมท้ งเทส่วนที่เป็น ั ้ ํ ั ่ ของเหลวที่เหลืออยูในแบบพิมพ์ลงไปด้วย - นําไปต้มนานประมาณ10 นาที อาจเติมนํ้ามะนาวหรื อนํ้ามัน อื่น ๆ ที่มีกลิ่นหอมลงไปใน ส่ วนผสมประมาณ 2 ช้อนชา (ถายงไม่ไดเ้ ติม)ต่อจากนั้นจึงเทส่ วนผสมลงในแบบพิมพ์ใหม่อีกครั้งหนึ่ง ปล่อย ้ ั ไว ้ 2 อัน แล้วดําเนินการตามที่กล่าวมาแล้ว การทําสบู่จากนําด่ างทีได้ จากขีเ้ ถ้ า ้ ่ เริ่ มต้นด้วยการทํานํ้าด่างขึ้นเองจากขี้เถ้า
  • 17. อุปกรณ์ 1. เครื่ องมือสําหรับการชะล้างนํ้าด่าง ประกอบด้วยก้อนหิ น ขนาดย่อม ๆ หลายก้อน - แผนหินราบมีร่องน้ าใหไหลได้ ่ ํ ้ - ถังไม้ขนาดจุ 19 ลิตร มีรูเล็ก ๆ หลายรู ติดอยูกนถัง ่ ้ - ภาชนะรองนํ้าด่าง ไม่ควรใช้ภาชนะที่ทาด้วยอะลูมิเนียม เพราะนํ้าด่างจะกัด ํ - กิ่งไม้เล็ก ๆ และฟาง - ข้ ีเถา 19 ลิตร ซึ่ งได้จากการเผาไหม้ทุกชนิด ขี้เถ้าจาก ไม้เนื้อแข็งจะใช้ทานํ้าด่างได้ดีที่สุด ้ ํ สําหรับชนบทแถบ ชายทะเล ขี้เถ้าจากการเผาสาหร่ ายทะเลใช้ได้ดีมาก เพราะมีธาตุโซเดียมทําให้สบู่แข็งตัวได้ดี - นํ้าอ่อนปริ มาณ 7.6 ลิตร 2. วิธีการชะล้างขี้เถ้าทํานํ้าด่าง - ตั้งอุปกรณ์ดงแสดงในรู ป โดยที่กนของถังทําเป็ นที่กรอง ขี้เถ้า ใช้กิ่งไม้ไข้วกัน 2 กิ่ง เรียง ั ้ เป็นแถว แลวเอาฟางวางลงบนกิ่ง ้ - ใส่ ข้ ีเถาลงในถง แลวเทน้ าอุ่นลงในถงเพื่อใหข้ ีเถาเปียก และเหนียว เกลี่ยใหเ้ กิดหลุมตรง ้ ั ้ ํ ั ้ ้ กลาง แล้วค่อย ๆ เทนํ้าส่ วนที่เหลือลงใน หลุมนั้น ปล่อยให้น้ าซึ มแล้วเติมนํ้าอีก นํ้าด่างสี น้ าตาลจะไหลลงสู่ ํ ํ ส่ วนล่าง ของถัง นานประมาณ 1 ชม. นํ้าด่างที่ได้จะมีปริ มาณ 1.8 ลิตร ถ้านํ้าด่างที่ มีความเข้มข้นดีแล้ว ทดสอบได้โดยเอาไข่ไก่หรื อมันฝรั่งใส่ ลงไป ไข่หรื อมัน จะลอยได้ หรื อถ้าจุ่มขนไก่ลงไป นํ้าด่างจะเกาะติดแต่ ั ไม่กดขนไก่ให้หลุด ถ้านํ้าด่างอ่อนไป ควรเทกลับคืนถังอีกครั้ง หรื อเคี่ยวให้ขนด้วยการต้ม ้ - ส่วนการทาสบในข้นตอไปน้ นดาเนินการเช่นเดียวกนกบ วธีแรก ํ ู่ ั ่ ั ํ ั ั ิ ข้ อควรระวังในการใช้ นําด่ าง ้ นํ้า ด่างนี้เป็ นพิษเพราะกัดผิวหนังและทําให้เกิดแผลร้ายแรงได้ ฉะนั้น ไม่ควรให้ถูกผิวหนัง ถ้าถูกต้องรี บล้าง ทันทีดวยนํ้าเปล่า แล้วล้างด้วย นํ้าส้มอีกครั้งหนึ่ง ้ ถ้ ากลืนนําด่ างลงไป ให้ รีบดื่มนําส้ ม นํามะนาวหรือมะกรูดตามลงไป ให้ มาก ๆ แล้วรีบไปพบแพทย์ ดังนั้นควร ้ ้ ้ เกบนําด่างให้พ้นมือเด็ก ็ ้ อ้างอิง : http://www.dek-d.com/board/view.php?id=603522 น.ส.จุฬาทิพย์ แสงบุญ เลขที่ 30 น.ส.ณิ นทิรา ตันตยานุสรณ์ เลขที่ 19 น.ส.สุ ลกขณา แสงอรุ ณ เลขที่ 23 ั ม.6/14